fbpx
วิกิพีเดีย

มีฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีฮาอิล เซียร์เกเยวิช กอร์บาชอฟ (รัสเซีย: Михаи́л Серге́евич Горбачёв, อักษรโรมัน: Mikhail Sergeyevich Gorbachyov) เป็นนักการเมืองชาวโซเวียตรัสเซีย เป็นผู้นำคนที่แปดและคนสุดท้ายแห่งสหภาพโซเวียต ดำรงแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียตระหว่างค.ศ. 1985 ถึง 1991 ดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐระหว่างค.ศ. 1988 ถึง 1991 ดำรงตำแหน่งประธานเปรซิเดียมสูงสุดระหว่างค.ศ. 1988 ถึง 1989 และดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีโซเวียตระหว่างค.ศ. 1990 ถึง 1991 กอร์บาชอฟเคยมีอุดมการณ์แบบลัทธิมาคส์-เลนิน แต่เปลี่ยนมาเป็นประชาธิปไตยแบบสังคมนิยมในทศวรรษที่ 1990

มีฮาอิล กอร์บาชอฟ
Михаи́л Горбачёв
กอร์บาชอฟ ในค.ศ. 1987
ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต
ดำรงตำแหน่ง
15 มีนาคม 1989 – 25 ธันวาคม 1990
ก่อนหน้า ไม่มี (เป็นคนแรก)
ถัดไป บอริส เยลต์ซิน (โซเวียตสิ้นสภาพ)
เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต
ดำรงตำแหน่ง
11 มีนาคม 1985 – 24 สิงหาคม 1991
ก่อนหน้า คอนสตันติน เชียร์เนนโค
ถัดไป วลาดีมีร์ อีวัชโก
ประธานสูงสุดสหภาพโซเวียต
ดำรงตำแหน่ง
25 พฤษภาคม 1989 – 15 มีนาคม 1990
ก่อนหน้า ตัวเอง (ในตำแหน่งประธานเปรซิเดียมฯ)
ถัดไป อะนาโตลี ลูคยานอฟ
ประธานเปรซิเดียมสูงสุดสหภาพโซเวียต
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม 1988 – 25 พฤษภาคม 1989
ก่อนหน้า อันเดรย์ โกรมืยโค
ถัดไป ตัวเอง (ในตำแหน่งประธานสูงสุดฯ)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 2 มีนาคม ค.ศ. 1931 (90 ปี)
ปรีวอลโนเย, ดินแดนสตัฟโรปอล, สาธารณรัฐรัสเซีย สหภาพโซเวียต
พรรคการเมือง พรรคคอมมิวนิสต์
(2494 - 2534)
พรรคสังคมประชาธิปไตย
(พ.ศ. 2544 – 2547)
คู่สมรส ไรซา กอร์บาโชวา (สมรส พ.ศ. 2496–พ.ศ. 2542)
ศาสนา ไม่มี
ลายมือชื่อ

กอร์บาชอฟมีเชื้อสายยูเครนและรัสเซีย เขาเกิดที่เมืองรีวอลโนเยทางตะตกวันตกของสหภาพโซเวียต ครอบครัวเป็นชาวไร่ยากจน กอร์บาชอฟเติบโตขึ้นมาภายใต้การปกครองของโจเซฟ สตาลิน ในตอนเด็กเขาเคยเป็นคนควบคุมรถเกี่ยวผลผลิตในนารวม และต่อมาได้เข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์ซึ่งเวลานั้นเป็นพรรคการเมืองเดียวที่ปกครองสหภาพโซเวียตตามแนวคิดของมาคส์-เลนิน ระหว่างที่กอร์บาชอฟศึกษาวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยมอสโก เขาแต่งงานกับเพื่อนร่วมชั้นเรียนในปี 1953 และจบการศึกษาในปี 1955 หลังจากนั้นจึงย้ายไปยังเมืองสตัฟโรโปล ไม่ไกลจากบ้านเกิด และทำงานเป็นพนักงานเดินเครื่องจักรกลของสันนิบาตยุวชนคอมมิวนิสต์ ภายหลังการอสัญกรรมของสตาลิน เขาเป็นแกนนำสนับสนุนนโยบายล้างระบอบสตาลินของนีกีตา ครุชชอฟ ผู้นำโซเวียตคนใหม่ กอร์บาชอฟได้รับแต่งตั้งเป็นเลขานุการคณะกรรมการพรรคคอมมิวนิสต์ประจำสตัฟโรโปลในปี 1970

ในปี 1978 กอร์บาชอฟเดินทางไปกรุงมอสโกเพื่อรับตำแหน่งเลขานุการคณะกรรมการกลางของพรรค และในปี 1979 ก็ได้เป็นสมาชิกกรมการเมืองของพรรค และในสามปีให้หลังการอสัญกรรมของเลโอนิด เบรจเนฟ กรมการเมืองก็เลือกเขาเป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ และเป็นประมุขแห่งรัฐโดยพฤตินัยในปี 1985

นโยบายการปฏิรูป

ในระหว่างการดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรค กอร์บาชอฟได้ริเริ่มโครงการปฏิรูปและปรับโครงสร้างระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากหน้ามือเป็นหลังมือ ด้วยนโยบายที่รู้จักกันในชื่อ "เปเรสตรอยคา" (Perestroika) เป็นการให้เสรีภาพแก่ประชาชนมากขึ้น ยอมให้มีการวิพากษ์วิจารณ์แสดงความคิดเห็นในที่สาธารณะ เพิ่มเสรีภาพแก่สื่อและสิ่งพิมพ์ ยอมให้มีเสรีภาพทางวัฒนธรรม และนโยบาย "กลัสนอสต์" (Glasnost) ที่ยอมให้มีการตรวจแก้ประวัติศาสตร์ของประเทศ

จากที่เขาปรับปรุงระบบเศรษฐกิจและการเมืองให้เสรีภาพแก่ประชาชนมากขึ้นทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 1990

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต

ด้านนโยบายการต่างประเทศและกลาโหม กอร์บาชอฟได้ตัดทอนลดงบประมาณด้านการทหาร นำนโยบาย "เดต็องต์" (Détente) กลับมาใช้ใหม่ ลดอาวุธนิวเคลียร์กับฝ่ายตะวันตก พร้อมทั้งถอนทหารออกจากประเทศอัฟกานิสถานในปี 1989 ในที่สุดฝ่ายอนุรักษนิยมในกองทัพยอมไม่ได้จึงรัฐประหารเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1991 ซึ่งกอร์บาชอฟรอดมาได้ในช่วงเวลาสั้น ๆ จากการประท้วงของประชาชนนำโดยบอริส เยลต์ซิน แต่ในที่สุดก็ถูกบังคับให้ลาออก หลังพรรคคอมมิวนิสต์ถูกยุบและสหภาพล่มสลายในเดือนธันวาคมของปีเดียวกัน

นับตั้งแต่ปี 1993 เป็นมา กอร์บาชอฟได้ดำรงตำแหน่งประธานมูลนิธินานาชาติเพื่อการศึกษาด้านเศรษฐกิจ-สังคมและการเมืองชื่อว่ามูลนิธิกอร์บาชอฟ

อ้างอิง

  1. สัญชัย สุวังบุตร (2547). ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม และคณะ (บ.ก.). สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: ยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (pdf). 1 (อักษร A-B) (3 ed.). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. p. 85. ISBN 974-9588-25-8. Check date values in: |year= (help) สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2555.
ก่อนหน้า มีฮาอิล กอร์บาชอฟ ถัดไป
สถาปนาตำแหน่ง   ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต
(พ.ศ. 2528 - 2534)
  ยุบตำแหน่ง
คอนสตันติน เชียร์เนนโค   เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต
(พ.ศ. 2528 - 2534)
  วลาดิมีร์ อิวัชโก
คอราซอน อากีโน   บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์
(พ.ศ. 2530)
  โลก
โลก   บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์
บุคคลแห่งทศวรรษ

(2532)
  จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช

ฮาอ, กอร, บาชอฟ, ฮาอ, เซ, ยร, เกเยว, กอร, บาชอฟ, สเซ, Михаи, Серге, евич, Горбачёв, กษรโรม, mikhail, sergeyevich, gorbachyov, เป, นน, กการเม, องชาวโซเว, ยตร, สเซ, เป, นผ, นำคนท, แปดและคนส, ดท, ายแห, งสหภาพโซเว, ยต, ดำรงแหน, งเลขาธ, การพรรคคอมม, วน, สต, สหภาพโซ. mihaxil esiyrekeywich kxrbachxf 1 rsesiy Mihai l Serge evich Gorbachyov xksrormn Mikhail Sergeyevich Gorbachyov epnnkkaremuxngchawosewiytrsesiy epnphunakhnthiaepdaelakhnsudthayaehngshphaphosewiyt darngaehnngelkhathikarphrrkhkhxmmiwnistshphaphosewiytrahwangkh s 1985 thung 1991 darngtaaehnngpramukhaehngrthrahwangkh s 1988 thung 1991 darngtaaehnngprathaneprsiediymsungsudrahwangkh s 1988 thung 1989 aeladarngtaaehnngprathanathibdiosewiytrahwangkh s 1990 thung 1991 kxrbachxfekhymixudmkarnaebblththimakhs elnin aetepliynmaepnprachathipityaebbsngkhmniyminthswrrsthi 1990mihaxil kxrbachxfMihai l Gorbachyovkxrbachxf inkh s 1987prathanathibdishphaphosewiytdarngtaaehnng 15 minakhm 1989 25 thnwakhm 1990kxnhna immi epnkhnaerk thdip bxris eyltsin osewiytsinsphaph elkhathikarphrrkhkhxmmiwnistaehngshphaphosewiytdarngtaaehnng 11 minakhm 1985 24 singhakhm 1991kxnhna khxnstntin echiyrennokhthdip wladimir xiwchokprathansungsudshphaphosewiytdarngtaaehnng 25 phvsphakhm 1989 15 minakhm 1990kxnhna twexng intaaehnngprathaneprsiediym thdip xanaotli lukhyanxfprathaneprsiediymsungsudshphaphosewiytdarngtaaehnng 1 tulakhm 1988 25 phvsphakhm 1989kxnhna xnedry okrmuyokhthdip twexng intaaehnngprathansungsud khxmulswnbukhkhlekid 2 minakhm kh s 1931 90 pi priwxloney dinaednstforpxl satharnrthrsesiy shphaphosewiytphrrkhkaremuxng phrrkhkhxmmiwnist 2494 2534 phrrkhsngkhmprachathipity ph s 2544 2547 khusmrs irsa kxrbaochwa smrs ph s 2496 ph s 2542 sasna immilaymuxchuxkxrbachxfmiechuxsayyuekhrnaelarsesiy ekhaekidthiemuxngriwxloneythangtatkwntkkhxngshphaphosewiyt khrxbkhrwepnchawiryakcn kxrbachxfetibotkhunmaphayitkarpkkhrxngkhxngocesf stalin intxnedkekhaekhyepnkhnkhwbkhumrthekiywphlphlitinnarwm aelatxmaidekharwmkbphrrkhkhxmmiwnistsungewlannepnphrrkhkaremuxngediywthipkkhrxngshphaphosewiyttamaenwkhidkhxngmakhs elnin rahwangthikxrbachxfsuksawichakdhmaythimhawithyalymxsok ekhaaetngngankbephuxnrwmchneriyninpi 1953 aelacbkarsuksainpi 1955 hlngcaknncungyayipyngemuxngstforopl imiklcakbanekid aelathanganepnphnknganedinekhruxngckrklkhxngsnnibatyuwchnkhxmmiwnist phayhlngkarxsykrrmkhxngstalin ekhaepnaeknnasnbsnunnoybaylangrabxbstalinkhxngnikita khruchchxf phunaosewiytkhnihm kxrbachxfidrbaetngtngepnelkhanukarkhnakrrmkarphrrkhkhxmmiwnistpracastforoplinpi 1970inpi 1978 kxrbachxfedinthangipkrungmxsokephuxrbtaaehnngelkhanukarkhnakrrmkarklangkhxngphrrkh aelainpi 1979 kidepnsmachikkrmkaremuxngkhxngphrrkh aelainsampiihhlngkarxsykrrmkhxngeloxnid ebrcenf krmkaremuxngkeluxkekhaepnelkhathikarphrrkhkhxmmiwnist aelaepnpramukhaehngrthodyphvtinyinpi 1985noybaykarptirup aekikhinrahwangkardarngtaaehnngelkhathikarphrrkh kxrbachxfidrierimokhrngkarptirupaelaprbokhrngsrangrabbesrsthkicaelakaremuxngcakhnamuxepnhlngmux dwynoybaythiruckkninchux eperstrxykha Perestroika epnkarihesriphaphaekprachachnmakkhun yxmihmikarwiphakswicarnaesdngkhwamkhidehninthisatharna ephimesriphaphaeksuxaelasingphimph yxmihmiesriphaphthangwthnthrrm aelanoybay klsnxst Glasnost thiyxmihmikartrwcaekprawtisastrkhxngpraethscakthiekhaprbprungrabbesrsthkicaelakaremuxngihesriphaphaekprachachnmakkhunthaihekhaidrbrangwloneblsakhasntiphaphinpi 1990karlmslaykhxngshphaphosewiyt aekikhdubthkhwamhlkthi karlmslaykhxngshphaphosewiyt dannoybaykartangpraethsaelaklaohm kxrbachxfidtdthxnldngbpramandankarthhar nanoybay edtxngt Detente klbmaichihm ldxawuthniwekhliyrkbfaytawntk phrxmthngthxnthharxxkcakpraethsxfkanisthaninpi 1989 inthisudfayxnurksniyminkxngthphyxmimidcungrthprahareduxnsinghakhm kh s 1991 sungkxrbachxfrxdmaidinchwngewlasn cakkarprathwngkhxngprachachnnaodybxris eyltsin aetinthisudkthukbngkhbihlaxxk hlngphrrkhkhxmmiwnistthukyubaelashphaphlmslayineduxnthnwakhmkhxngpiediywknnbtngaetpi 1993 epnma kxrbachxfiddarngtaaehnngprathanmulnithinanachatiephuxkarsuksadanesrsthkic sngkhmaelakaremuxngchuxwamulnithikxrbachxfxangxing aekikh sychy suwngbutr 2547 nthwuthi suththisngkhram aelakhna b k saranukrmprawtisastrsaklsmyihm yuorp chbbrachbnthitysthan pdf 1 xksr A B 3 ed krungethph rachbnthitysthan p 85 ISBN 974 9588 25 8 Check date values in year help subkhnemux 2 krkdakhm 2555 kxnhna mihaxil kxrbachxf thdipsthapnataaehnng prathanathibdishphaphosewiyt ph s 2528 2534 yubtaaehnngkhxnstntin echiyrennokh elkhathikarphrrkhkhxmmiwnistaehngshphaphosewiyt ph s 2528 2534 wladimir xiwchokkhxrasxn xakion bukhkhlaehngpikhxngnitysarithm ph s 2530 olkolk bukhkhlaehngpikhxngnitysarithmbukhkhlaehngthswrrs 2532 cxrc exch dbebilyu buchekhathungcak https th wikipedia org w index php title mihaxil kxrbachxf amp oldid 9373618, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม