fbpx
วิกิพีเดีย

ระบบควบคุมพีไอดี

ระบบควบคุมแบบสัดส่วน-ปริพันธ์-อนุพันธ์ (อังกฤษ: PID controller) เป็นระบบควบคุมแบบป้อนกลับที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ซึ่งค่าที่นำไปใช้ในการคำนวณเป็นค่าความผิดพลาดที่หามาจากความแตกต่างของตัวแปรในกระบวนการและค่าที่ต้องการ ตัวควบคุมจะพยายามลดค่าผิดพลาดให้เหลือน้อยที่สุดด้วยการปรับค่าสัญญาณขาเข้าของกระบวนการ ค่าตัวแปรของ PID ที่ใช้จะปรับเปลี่ยนตามธรรมชาติของระบบ

แผนภาพบล็อกของการควบคุมแบบพีไอดี

วิธีคำนวณของ PID ขึ้นอยู่กับสามตัวแปรคือค่าสัดส่วน, ปริพันธ์ และ อนุพันธ์ ค่าสัดส่วนกำหนดจากผลของความผิดพลาดในปัจจุบัน, ค่าปริพันธ์กำหนดจากผลบนพื้นฐานของผลรวมความผิดพลาดที่ซึ่งพึ่งผ่านพ้นไป, และค่าอนุพันธ์กำหนดจากผลบนพื้นฐานของอัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าความผิดพลาด น้ำหนักที่เกิดจากการรวมกันของทั้งสามนี้จะใช้ในการปรับกระบวนการ

โดยการปรับค่าคงที่ใน PID ตัวควบคุมสามารถปรับรูปแบบการควบคุมให้เหมาะกับที่กระบวนการต้องการได้ การตอบสนองของตัวควบคุมจะอยู่ในรูปของการไหวตัวของตัวควบคุมจนถึงค่าความผิดพลาด ค่าโอเวอร์ชูต (overshoots) และ ค่าแกว่งของระบบ (oscillation) วิธี PID ไม่รับประกันได้ว่าจะเป็นระบบควบคุมที่เหมาะสมที่สุดหรือสามารถทำให้กระบวนการมีความเสถียรแน่นอน

การประยุกต์ใช้งานบางครั้งอาจใช้เพียงหนึ่งถึงสองรูปแบบ ขึ้นอยู่กับกระบวนการเป็นสำคัญ พีไอดีบางครั้งจะถูกเรียกว่าการควบคุมแบบ PI, PD, P หรือ I ขึ้นอยู่กับว่าใช้รูปแบบใดบ้าง

ทฤษฎี

การควบคุมแบบ PID ได้ชื่อตามการรวมกันของเทอมของตัวแปรทั้งสามตามสมการ:

 

เมื่อ

 ,  , และ   เป็นผลของสัญญาณขาออกจากระบบควบคุม PID จากแต่ละเทอมซึ่งนิยามตามรายละเอียดด้านล่าง

สัดส่วน

 
กราฟ PV ต่อเวลา, Kp กำหนดเป็น 3 ค่า(Ki และ Kd คงที่)

เทอมของสัดส่วน (บางครั้งเรียก อัตราขยาย) จะเปลี่ยนแปลงเป็นสัดส่วนของค่าความผิดพลาด การตอบสนองของสัดส่วนสามารถทำได้โดยการคูณค่าความผิดพลาดด้วยค่าคงที่ Kp, หรือที่เรียกว่าอัตราขยายสัดส่วน

เทอมของสัดส่วนจะเป็นไปตามสมการ:

 

เมื่อ

 : สัญญาณขาออกของเทอมสัดส่วน
 : อัตราขยายสัดส่วน, ตัวแปรปรับค่าได้
 : ค่าความผิดพลาด  
 : เวลา

ผลอัตราขยายสัดส่วนที่สูงค่าความผิดพลาดก็จะเปลี่ยนแปลงมากเช่นกัน แต่ถ้าสูงเกินไประบบจะไม่เสถียรได้ ในทางตรงกันข้าม ผลอัตราขยายสัดส่วนที่ต่ำ ระบบควบคุมจะมีผลตอบสนองต่อกระบวนการน้อยตามไปด้วย


ปริพันธ์

 
กราฟ PV ต่อเวลา, Ki กำหนดเป็นสามค่า (Kp และ Kd คงที่)

ผลจากเทอมปริพันธ์ (บางครั้งเรียก reset) เป็นสัดส่วนของขนาดความผิดพลาดและระยะเวลาของความผิดพลาด ผลรวมของความผิดพลาดในทุกช่วงเวลา (ปริพันธ์ของความผิดพลาด) จะให้ออฟเซตสะสมที่ควรจะเป็นในก่อนหน้า ความผิดพลาดสะสมจะถูกคูณโดยอัตราขยายปริพันธ์ ขนาดของผลของเทอมปริพันธ์จะกำหนดโดยอัตราขยายปริพันธ์,  .

เทอมปริพันธ์จะเป็นไปตามสมการ:

 

เมื่อ

 : สัญญาณขาออกของเทอมปริพันธ์
 : อัตราขยายปริพันธ์, ตัวแปรปรับค่าได้
 : ความผิดพลาด  
 : เวลา
 : ตัวแปรปริพันธ์หุ่น

เทอมปริพันธ์ (เมื่อรวมกับเทอมสัดส่วน) จะเร่งกระบวนการให้เข้าสู่จุดที่ต้องการและขจัดความผิดพลาดที่เหลืออยู่ที่เกิดจากการใช้เพียงเทอมสัดส่วน แต่อย่างไรก็ตาม เทอมปริพันธ์เป็นการตอบสนองต่อความผิดพลาดสะสมในอดีต จึงสามารถทำให้เกิดโอเวอร์ชูตได้ (ข้ามจุดที่ต้องการและเกิดการหันเหไปทางทิศทางอื่น)

อนุพันธ์

 
กราฟ PV ต่อเวลา, สำหรับ Kd 3 ค่า (Kp และ Ki คงที่)

อัตราการเปลี่ยนแปลงของความผิดพลาดจากกระบวนการนั้นคำนวณหาจากความชันของความผิดพลาดทุกๆเวลา (นั่นคือ เป็นอนุพันธ์อันดับหนึ่งสัมพันธ์กับเวลา) และคูณด้วยอัตราขยายอนุพันธ์   ขนาดของผลของเทอมอนุพันธ์ (บางครั้งเรียก อัตรา) ขึ้นกับ อัตราขยายอนุพันธ์  

เทอมอนุพันธ์เป็นไปตามสมการ:

 

เมื่อ

 : สัญญาณขาออกของเทอมอนุพันธ์
 : อัตราขยายอนุพันธ์, ตัวแปรปรับค่าได้
 : ความผิดพลาด  
 : เวลา

เทอมอนุพันธ์จะชะลออัตราการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณขาออกของระบบควบคุมและด้วยผลนี้จะช่วยให้ระบบควบคุมเข้าสู่จุดที่ต้องการ ดังนั้นเทอมอนุพันธ์จะใช้ในการลดขนาดของโอเวอร์ชูตที่เกิดจาเทอมปริพันธ์และทำให้เสถียรภาพของการรวมกันของระบบควบคุมดีขึ้น แต่อย่างไรก็ตามอนุพันธ์ของสัญญาณรบกวนที่ถูกขยายในระบบควบคุมจะไวมากต่อการรบกวนในเทอมของความผิดพลาดและสามารถทำให้กระบวนการไม่เสถียรได้ถ้าสัญญาณรบกวนและอัตราขยายอนุพันธ์มีขนาดใหญ่เพียงพอ

ผลรวม

เทอมสัดส่วน, ปริพันธ์, และอนุพันธ์ จะนำมารวมกันเป็นสัญญาณขาออกของการควบคุมแบบ PID กำหนดให้   เป็นสัญญาณขาออก สมการสุดท้ายของวิธี PID คือ:

 

รหัสเทียม

รหัสเทียม (อังกฤษ: pseudocode) ของ ขั้นตอนวิธีระบบควบคุมพีไอดี โดยอยู่บนสมมุติฐานว่าตัวประมวลผลประมวลผลแบบขนานอย่างสมบูรณ์แบบ เป็นดังต่อไปนี้

previous_error = setpoint - actual_position integral = 0 start: error = setpoint - actual_position integral = integral + (error*dt) derivative = (error - previous_error)/dt output = (Kp*error) + (Ki*integral) + (Kd*derivative) previous_error = error wait(dt) goto start 

การปรับจูน

การปรับจูนด้วยมือ

ถ้าระบบยังคงทำงาน ขั้นแรกให้ตั้งค่า   และ   เป็นศูนย์ เพิ่มค่า   จนกระทั่งสัญญาณขาออกเกิดการแกว่ง (oscillate) แล้วตั้งค่า   ให้เหลือครึ่งหนึ่งของค่าที่ทำให้เกิดการแกว่งสำหรับการตอบสนองชนิด "quarter amplitude decay" แล้วเพิ่ม   จนกระทั่งออฟเซตถูกต้องในเวลาที่พอเพียงของกระบวนการ แต่ถ้า   มากไปจะทำให้ไม่เสถียร สุดท้ายถ้าต้องการ ให้เพิ่มค่า   จนกระทั่งลูปอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ แต่ถ้า   มากเกินไปจะเป็นเหตุให้การตอบสนองและโอเวอร์ชูตเกินยอมรับได้ ปกติการปรับจูน PID ถ้าเกิดโอเวอร์ชูตเล็กน้อยจะช่วยให้เข้าสู่จุดที่ต้องการเร็วขึ้น แต่ในบางระบบไม่สามารถยอมให้เกิดโอเวอร์ชูตได้ และถ้าค่า   น้อยเกินไปก็จะทำให้เกิดการแกว่ง

ผลของการเพิ่มค่าตัวแปรอย่างอิสระ
ตัวแปร ช่วงเวลาขึ้น
(Rise time)
โอเวอร์ชูต
(Overshoot)
เวลาสู่สมดุล
(Settling time)
ความผิดพลาดสถานะคงตัว
(Steady-state error)
เสถียรภาพ
  ลด เพิ่ม เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ลด ลด
  ลด เพิ่ม เพิ่ม ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ลด
  ลดลงเล็กน้อย ลดลงเล็กน้อย ลดลงเล็กน้อย ตามทฤษฏีไม่มีผล ดีขึ้นถ้า   มีค่าน้อย

วิธีการ

วิธีการนี้นำเสนอโดย John G. Ziegler และ Nathaniel B. Nichols ในคริสต์ทศวรรษที่ 1940 ขั้นแรกให้ตั้งค่า   และ   เป็นศูนย์ เพิ่มอัตราขยาย P สูงที่สุด,  , จนกระทั่งเริ่มเกิดการแกว่ง นำค่า   และค่าช่วงการแกว่ง   มาหาค่าตัวแปรที่เหลือดังตาราง:

Ziegler–Nichols method
Control Type      
P   - -
PI     -
PID      

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Ang, K.H., Chong, G.C.Y., and Li, Y. (2005). PID control system analysis, design, and technology, IEEE Trans Control Systems Tech, 13(4), pp.559-576. http://eprints.gla.ac.uk/3817/
  2. http://saba.kntu.ac.ir/eecd/pcl/download/PIDtutorial.pdf
  • Liptak, Bela (1995). Instrument Engineers' Handbook: Process Control. Radnor, Pennsylvania: Chilton Book Company. pp. 20–29. ISBN 0-8019-8242-1.
  • Tan, Kok Kiong (1999). Advances in PID Control. London, UK: Springer-Verlag. ISBN 1-85233-138-0. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  • Van, Doren, Vance J. (July 1, 2003). "Loop Tuning Fundamentals". Control Engineering. Red Business Information.
  • Sellers, David. "An Overview of Proportional plus Integral plus Derivative Control and Suggestions for Its Successful Application and Implementation" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2007-05-05.
  • Graham, Ron (10/03/2005). "FAQ on PID controller tuning". สืบค้นเมื่อ 2009-01-05. Unknown parameter |oldurl= ignored (help); Check date values in: |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

PID tutorials

  • PID Tutorial
  • P.I.D. Without a PhD: a beginner's guide to PID loop theory with sample programming code
  • What's All This P-I-D Stuff, Anyhow? Article in Electronic Design
  • Shows how to build a PID controller with basic electronic components (pg. 22)
  • Virtual PID Controller Laboratory
    • PID Design & Tuning
  • ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานตัวควบคุมพีไอดีกับปัญหา Inverted Pendulum โดยมหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน

หัวข้อพิเศษและการประยุกต์ใช้การควบคุมแบบพีไอดี

  • Proven Methods and Best Practices for PID Control
  • PID Control Primer Article in Embedded Systems Programming

ระบบควบค, มพ, ไอด, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดระบบควบค, มแบบส, ดส, วน, ปร, นธ, อน, นธ, งกฤษ, controller, เป, นระบบคว. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudrabbkhwbkhumaebbsdswn priphnth xnuphnth xngkvs PID controller epnrabbkhwbkhumaebbpxnklbthiichknxyangkwangkhwang sungkhathinaipichinkarkhanwnepnkhakhwamphidphladthihamacakkhwamaetktangkhxngtwaeprinkrabwnkaraelakhathitxngkar twkhwbkhumcaphyayamldkhaphidphladihehluxnxythisuddwykarprbkhasyyankhaekhakhxngkrabwnkar khatwaeprkhxng PID thiichcaprbepliyntamthrrmchatikhxngrabb aephnphaphblxkkhxngkarkhwbkhumaebbphiixdi withikhanwnkhxng PID khunxyukbsamtwaeprkhuxkhasdswn priphnth aela xnuphnth khasdswnkahndcakphlkhxngkhwamphidphladinpccubn khapriphnthkahndcakphlbnphunthankhxngphlrwmkhwamphidphladthisungphungphanphnip aelakhaxnuphnthkahndcakphlbnphunthankhxngxtrakarepliynaeplngkhxngkhakhwamphidphlad nahnkthiekidcakkarrwmknkhxngthngsamnicaichinkarprbkrabwnkarodykarprbkhakhngthiin PID twkhwbkhumsamarthprbrupaebbkarkhwbkhumihehmaakbthikrabwnkartxngkarid kartxbsnxngkhxngtwkhwbkhumcaxyuinrupkhxngkarihwtwkhxngtwkhwbkhumcnthungkhakhwamphidphlad khaoxewxrchut overshoots aela khaaekwngkhxngrabb oscillation withi PID imrbpraknidwacaepnrabbkhwbkhumthiehmaasmthisudhruxsamarththaihkrabwnkarmikhwamesthiyraennxnkarprayuktichnganbangkhrngxacichephiynghnungthungsxngrupaebb khunxyukbkrabwnkarepnsakhy phiixdibangkhrngcathukeriykwakarkhwbkhumaebb PI PD P hrux I khunxyukbwaichrupaebbidbang enuxha 1 thvsdi 1 1 sdswn 1 2 priphnth 1 3 xnuphnth 1 4 phlrwm 1 5 rhsethiym 2 karprbcun 2 1 karprbcundwymux 2 2 withikar 3 duephim 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxun 5 1 PID tutorials 5 2 hwkhxphiessaelakarprayuktichkarkhwbkhumaebbphiixdithvsdi aekikhkarkhwbkhumaebb PID idchuxtamkarrwmknkhxngethxmkhxngtwaeprthngsamtamsmkar M V t P o u t I o u t D o u t displaystyle mathrm MV t P mathrm out I mathrm out D mathrm out emux P o u t displaystyle P mathrm out I o u t displaystyle I mathrm out aela D o u t displaystyle D mathrm out epnphlkhxngsyyankhaxxkcakrabbkhwbkhum PID cakaetlaethxmsungniyamtamraylaexiyddanlangsdswn aekikh kraf PV txewla Kp kahndepn 3 kha Ki aela Kd khngthi ethxmkhxngsdswn bangkhrngeriyk xtrakhyay caepliynaeplngepnsdswnkhxngkhakhwamphidphlad kartxbsnxngkhxngsdswnsamarththaidodykarkhunkhakhwamphidphladdwykhakhngthi Kp hruxthieriykwaxtrakhyaysdswnethxmkhxngsdswncaepniptamsmkar P o u t K p e t displaystyle P mathrm out K p e t emux P o u t displaystyle P mathrm out syyankhaxxkkhxngethxmsdswn K p displaystyle K p xtrakhyaysdswn twaeprprbkhaid e displaystyle e khakhwamphidphlad S P P V displaystyle SP PV t displaystyle t ewlaphlxtrakhyaysdswnthisungkhakhwamphidphladkcaepliynaeplngmakechnkn aetthasungekiniprabbcaimesthiyrid inthangtrngknkham phlxtrakhyaysdswnthita rabbkhwbkhumcamiphltxbsnxngtxkrabwnkarnxytamipdwy priphnth aekikh kraf PV txewla Ki kahndepnsamkha Kp aela Kd khngthi phlcakethxmpriphnth bangkhrngeriyk reset epnsdswnkhxngkhnadkhwamphidphladaelarayaewlakhxngkhwamphidphlad phlrwmkhxngkhwamphidphladinthukchwngewla priphnthkhxngkhwamphidphlad caihxxfestsasmthikhwrcaepninkxnhna khwamphidphladsasmcathukkhunodyxtrakhyaypriphnth khnadkhxngphlkhxngethxmpriphnthcakahndodyxtrakhyaypriphnth K i displaystyle K i ethxmpriphnthcaepniptamsmkar I o u t K i 0 t e t d t displaystyle I mathrm out K i int 0 t e tau d tau emux I o u t displaystyle I mathrm out syyankhaxxkkhxngethxmpriphnth K i displaystyle K i xtrakhyaypriphnth twaeprprbkhaid e displaystyle e khwamphidphlad S P P V displaystyle SP PV t displaystyle t ewla t displaystyle tau twaeprpriphnthhunethxmpriphnth emuxrwmkbethxmsdswn caerngkrabwnkarihekhasucudthitxngkaraelakhcdkhwamphidphladthiehluxxyuthiekidcakkarichephiyngethxmsdswn aetxyangirktam ethxmpriphnthepnkartxbsnxngtxkhwamphidphladsasminxdit cungsamarththaihekidoxewxrchutid khamcudthitxngkaraelaekidkarhnehipthangthisthangxun xnuphnth aekikh kraf PV txewla sahrb Kd 3 kha Kp aela Ki khngthi xtrakarepliynaeplngkhxngkhwamphidphladcakkrabwnkarnnkhanwnhacakkhwamchnkhxngkhwamphidphladthukewla nnkhux epnxnuphnthxndbhnungsmphnthkbewla aelakhundwyxtrakhyayxnuphnth K d displaystyle K d khnadkhxngphlkhxngethxmxnuphnth bangkhrngeriyk xtra khunkb xtrakhyayxnuphnth K d displaystyle K d ethxmxnuphnthepniptamsmkar D o u t K d d d t e t displaystyle D mathrm out K d frac d dt e t emux D o u t displaystyle D mathrm out syyankhaxxkkhxngethxmxnuphnth K d displaystyle K d xtrakhyayxnuphnth twaeprprbkhaid e displaystyle e khwamphidphlad S P P V displaystyle SP PV t displaystyle t ewlaethxmxnuphnthcachalxxtrakarepliynaeplngkhxngsyyankhaxxkkhxngrabbkhwbkhumaeladwyphlnicachwyihrabbkhwbkhumekhasucudthitxngkar dngnnethxmxnuphnthcaichinkarldkhnadkhxngoxewxrchutthiekidcaethxmpriphnthaelathaihesthiyrphaphkhxngkarrwmknkhxngrabbkhwbkhumdikhun aetxyangirktamxnuphnthkhxngsyyanrbkwnthithukkhyayinrabbkhwbkhumcaiwmaktxkarrbkwninethxmkhxngkhwamphidphladaelasamarththaihkrabwnkarimesthiyridthasyyanrbkwnaelaxtrakhyayxnuphnthmikhnadihyephiyngphx phlrwm aekikh ethxmsdswn priphnth aelaxnuphnth canamarwmknepnsyyankhaxxkkhxngkarkhwbkhumaebb PID kahndih u t displaystyle u t epnsyyankhaxxk smkarsudthaykhxngwithi PID khux u t M V t K p e t K i 0 t e t d t K d d d t e t displaystyle mathrm u t mathrm MV t K p e t K i int 0 t e tau d tau K d frac d dt e t rhsethiym aekikh rhsethiym xngkvs pseudocode khxng khntxnwithirabbkhwbkhumphiixdi odyxyubnsmmutithanwatwpramwlphlpramwlphlaebbkhnanxyangsmburnaebb epndngtxipni previous error setpoint actual position integral 0 start error setpoint actual position integral integral error dt derivative error previous error dt output Kp error Ki integral Kd derivative previous error error wait dt goto startkarprbcun aekikhkarprbcundwymux aekikh tharabbyngkhngthangan khnaerkihtngkha K i displaystyle K i aela K d displaystyle K d epnsuny ephimkha K p displaystyle K p cnkrathngsyyankhaxxkekidkaraekwng oscillate aelwtngkha K p displaystyle K p ihehluxkhrunghnungkhxngkhathithaihekidkaraekwngsahrbkartxbsnxngchnid quarter amplitude decay aelwephim K i displaystyle K i cnkrathngxxfestthuktxnginewlathiphxephiyngkhxngkrabwnkar aettha K i displaystyle K i makipcathaihimesthiyr sudthaythatxngkar ihephimkha K d displaystyle K d cnkrathnglupxyuinradbthiyxmrbid aettha K d displaystyle K d makekinipcaepnehtuihkartxbsnxngaelaoxewxrchutekinyxmrbid pktikarprbcun PID thaekidoxewxrchutelknxycachwyihekhasucudthitxngkarerwkhun aetinbangrabbimsamarthyxmihekidoxewxrchutid aelathakha K p displaystyle K p nxyekinipkcathaihekidkaraekwng phlkhxngkarephimkhatwaeprxyangxisra twaepr chwngewlakhun Rise time oxewxrchut Overshoot ewlasusmdul Settling time khwamphidphladsthanakhngtw Steady state error esthiyrphaph 1 K p displaystyle K p ld ephim epliynaeplngelknxy ld ldK i displaystyle K i ld 2 ephim ephim ldlngxyangminysakhy ldK d displaystyle K d ldlngelknxy ldlngelknxy ldlngelknxy tamthvstiimmiphl dikhuntha K d displaystyle K d mikhanxywithikar aekikh withikarninaesnxody John G Ziegler aela Nathaniel B Nichols inkhristthswrrsthi 1940 khnaerkihtngkha K i displaystyle K i aela K d displaystyle K d epnsuny ephimxtrakhyay P sungthisud K u displaystyle K u cnkrathngerimekidkaraekwng nakha K u displaystyle K u aelakhachwngkaraekwng P u displaystyle P u mahakhatwaeprthiehluxdngtarang Ziegler Nichols method Control Type K p displaystyle K p K i displaystyle K i K d displaystyle K d P 0 50 K u displaystyle 0 50 K u PI 0 45 K u displaystyle 0 45 K u 1 2 K p P u displaystyle 1 2 K p P u PID 0 60 K u displaystyle 0 60 K u 2 K p P u displaystyle 2 K p P u K p P u 8 displaystyle K p P u 8 duephim aekikhthvsdirabbkhwbkhum Feedback Instability Oscillation PI controllerxangxing aekikh Ang K H Chong G C Y and Li Y 2005 PID control system analysis design and technology IEEE Trans Control Systems Tech 13 4 pp 559 576 http eprints gla ac uk 3817 http saba kntu ac ir eecd pcl download PIDtutorial pdf Liptak Bela 1995 Instrument Engineers Handbook Process Control Radnor Pennsylvania Chilton Book Company pp 20 29 ISBN 0 8019 8242 1 Tan Kok Kiong 1999 Advances in PID Control London UK Springer Verlag ISBN 1 85233 138 0 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Van Doren Vance J July 1 2003 Loop Tuning Fundamentals Control Engineering Red Business Information Sellers David An Overview of Proportional plus Integral plus Derivative Control and Suggestions for Its Successful Application and Implementation PDF subkhnemux 2007 05 05 Graham Ron 10 03 2005 FAQ on PID controller tuning subkhnemux 2009 01 05 Unknown parameter oldurl ignored help Check date values in date help aehlngkhxmulxun aekikhPID tutorials aekikh PID Tutorial P I D Without a PhD a beginner s guide to PID loop theory with sample programming code What s All This P I D Stuff Anyhow Article in Electronic Design Shows how to build a PID controller with basic electronic components pg 22 Virtual PID Controller Laboratory PID Design amp Tuning twxyangkarprayuktichngantwkhwbkhumphiixdikbpyha Inverted Pendulum odymhawithyalykharenkiemllxnhwkhxphiessaelakarprayuktichkarkhwbkhumaebbphiixdi aekikh Proven Methods and Best Practices for PID Control PID Control Primer Article in Embedded Systems Programmingekhathungcak https th wikipedia org w index php title rabbkhwbkhumphiixdi amp oldid 8480484, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม