fbpx
วิกิพีเดีย

ริตสึเรียว

ริตสึเรียว (ญี่ปุ่น: 律令) เป็นระบบกฎหมายโบราณของญี่ปุ่นซึ่งอิงปรัชญาลัทธิขงจื๊อและนิตินิยมแบบจีน ประกอบด้วย ประมวลกฎหมายอาญา เรียกว่า "ริตสึ" (律) และประมวลกฎหมายปกครอง เรียกว่า "เรียว" (令)

ปลายยุคอาซูกะ (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 6 ถึง ค.ศ. 710) และยุคนาระ (ค.ศ. 710–794) ราชสำนักเคียวโตะพยายามจะจำลองระบบการเมืองที่เข้มงวดแบบจีนจากราชวงศ์ถังมาโดยการตราและบังคับใช้ประมวลกฎหมายริตสึเรียวหลายชุด การปฏิรูปไทกะเมื่อ ค.ศ. 645 เป็นสัญญาณแรก ๆ ของการทำให้ระบบริตสึเรียวนี้เกิดผล รัฐแบบริตสึเรียวผลิตข้อมูลมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งมีการเก็บบันทึกไว้อย่างดีในช่วงหลายร้อยปี แต่ครั้นเวลาผ่านไป จนในยุคเฮอัง (ค.ศ. 794–1185) สถาบันแบบรึตสึเรียวได้กลายเป็นระบบการเมืองและวัฒนธรรมที่ไร้เสียงสะท้อน (feedback) อีกต่อไป ประมวลกฎหมายแบบริตสึเรียวฉบับสุดท้าย คือ โยโรริตสึเรียว ซึ่งเมื่อมีการปฏิรูปเมจิเมื่อ ค.ศ. 1868 ก็ยังใช้บังคับอยู่

กฎหมายริตสึเรียวชุดหลัก ๆ ได้แก่

  • โอมิเรียว (近江令) ฉบับ ค.ศ. 669 ประกอบด้วยประมวลกฎหมายปกครอง 22 เล่ม แต่ที่มาที่ไปนั้นยังถกเถียงกันอยู่
  • อาซูกะคิโยมิฮาระเรียว (飛鳥浄御原令) ฉบับ ค.ศ. 689 ประกอบด้วยประมวลกฎหมายปกครอง 22 เล่ม
  • ไทโฮริตสึเรียว (大宝律令) ฉบับ ค.ศ. 701 แต่บางแหล่งก็ว่า ค.ศ. 702 มีอิทธิพลมาก ประกอบด้วยประมวลกฎหมายปกครอง 11 เล่ม และประมวลกฎหมายอาญา 6 เล่ม
  • โยโรริตสึเรียว (養老律令) ตราขึ้นใน ค.ศ. 757 แต่บางแหล่งก็ว่า ค.ศ. 752 ประกอบด้วยประมวลกฎหมายปกครอง 10 เล่ม และประมวลกฎหมายอาญา 10 เล่ม เป็นการนำไทโฮริตสึเรียวมาตรวจชำระใหม่

ความสำเร็จหลัก ๆ

การปกครอง

ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 7 มีการริเริ่มระบบโคกูงุงริ (国郡里制) ซึ่งให้แบ่งประเทศออกเป็นเขตปกครองต่าง ๆ คือ

  • กูนิ (国) แบ่งออกเป็น กุง หรือโคริ
  • กุง หรือโคริ (郡) แบ่งออกเป็น ริ หรือซาโตะ ราว 2–20 แห่ง
  • ริ หรือซาโตะ (里) ประกอบด้วยบ้านเรือน 50 หลังคาเรือน

ครั้น ค.ศ. 715 มีการนำระบบโกริ (郷里制) มาใช้ ทำให้เกิดการแบ่งเขตดังนี้

  • กูนิ แบ่งออกเป็น กุง หรือโคริ
  • กุง หรือโคริ แบ่งออกเป็น โก ราว 2–20 แห่ง
  • โก (郷) ประกอบด้วยบ้านเรือน 50 หลังคาเรือน และแบ่งออกเป็น ริ หรือซาโตะ
  • ริ หรือซาโตะ มักประกอบด้วยบ้านเรือนราว 10–25 หลังคาเรือน

ระบบนี้ล้มเลิกไปใน ค.ศ. 740

การรวมศูนย์อำนาจ

ระบบริตสึเรียวกำหนดให้มีรัฐบาลกลาง มีจักรพรรดิเป็นประมุข และมีหน่วยงานสองส่วน คือ

  • จิงงิกัง (神祇官) รับผิดชอบด้านศาสนจักร
  • ไดโจกัง (太政官) รับผิดชอบด้านอาณาจักร แบ่งออกเป็นกระทรวง 8 กระทรวง

การจัดตั้งตำแหน่งราชการ

มีการใช้ระบบลำดับตำแหน่งราชการที่เรียกว่า "คัง" (官) หรือ "คันโชกุ" (官職) ซึ่งแบ่งตำแหน่งราชการออกเป็น 30 ขั้น เรียกว่า "อิ" (位) หรือ "อิไก" (位階) โดยวางระเบียบเคร่งครัดว่า ตำแหน่งใดควรมีขั้นใด การจัดขั้นนี้โดยมากแล้วอิงความดีความชอบ ไม่เกี่ยวกับการสืบตระกูล บุตรหลานของข้าราชการชั้นสูงบางทีก็มีขั้นต่ำ ซึ่งเป็นแบบเดียวกับที่อยู้ในกฎหมายของราชวงศ์ถัง แต่ระบบริตสึเรียวของญี่ปุ่นไม่อิงการสืบตระกูล

ขั้นสูงสุด คือ ขั้น 1 เรียกว่า "อิจิอิ" (一位) ไล่ลงมาจนถึงขั้น 8 เรียก "ฮะจิอิ" (八位) เป็นขั้นของข้าราชสำนัก มีเอกสิทธิ์หลายประการ ถัดลงจากนี้ไปเป็นขั้นที่เรียกว่า "โซอิ" (初位) มีสิทธิเพียงบางอย่าง

ขั้นสูงสุดหกขั้นแรก ถือกันว่า เป็นอภิสิทธิชนอย่างแท้จริง (true aristocracy) ซึ่งเรียกว่า "คิ" (貴) แบ่งออกเป็นชั้นผู้ใหญ่ เรียก "โช" (正) และชั้นผู้น้อย เรียก "จุ" (従) เช่น ขั้น 3 ชั้นผู้ใหญ่ เรียกว่า "โชซันมิ" (正三位) หรือขั้น 2 ชั้นผู้น้อย เรียก "จูนิอิ" (従二位) ขั้นที่ถัดลงมาจากขั้น 3 ยังแบ่งออกเป็นลำดับสูง เรียกว่า "โจ" และลำดับล่าง เรียกว่า "เกะ" (下) เช่น ขั้น 4 ชั้นผู้น้อย ลำดับล่าง เรียก "จูชิอิโนะเกะ" (従四位下) หรือขั้น 6 ชั้นผู้ใหญ่ ลำดับสูง เรียก "โชโระกูอิโนะโจ" (正六位上) การเลื่อนขั้นมักเป็นไปทีละเล็กทีละน้อยตามระบบราชการ และในช่วงแรกที่ใช้ระบบริตสึเรียวนี้ จะไม่มีการเลื่อนจนถึงขั้น 6 เว้นเป็นกรณีพิเศษ จึงทำให้เกิดเส้นแบ่งเป็นกลุ่มอภิสิทธิชน (ขั้น 5 ขึ้นไป) เรียกว่า "คิโซกุ" (貴族) กับกลุ่มชั้นล่าง (ขั้น 6 ลงมา) เรียกว่า "จิเงะ" (地下)

เมื่อได้เลื่อนขั้น รายได้ในรูปแบบข้าวที่เรียกเก็บจากกูนิต่าง ๆ มีหน่วยวัดเป็นโคกุ (石, 1 โคกุ = ประมาณ 150 กิโลกรัม) ก็จะเพิ่มขึ้นอย่างยิ่งไปด้วย ข้าราชการขั้น 6 จะได้ข้าวราว 22 โคกุต่อปี แต่ขั้น 5 อาจได้ถึง 225 โคกุต่อปี ส่วนขั้น 3 อาจได้มากถึง 6,957 โคกุต่อปี

นอกจากนี้ ยังมีระบบทำสำมะโนประชากร เรียกว่า "โคเซกิ" (戸籍) ปรับปรุงทุกหกปี และมีการทำรายงานภาษีรายปี เรียกว่า "เคโจ" (計帳) ทั้งมีการตั้งระบบภาษีโดยอิงรายงานเคโจนี้ เรียกว่า "โซโยโจ" (租庸調) เพื่อเรียกเก็บภาษีเป็นข้าว หรือธัญพืช รวมถึงผลิตผลอื่น ๆ จากท้องถิ่น (เช่น ฝ้าย, เกลือ, เยื่อกระดาษ ฯลฯ) ส่งเข้าสู่เมืองหลวง

ระบบริตสึเรียวยังให้มีการเกณฑ์แรงงานในระดับกูนิ โดยอาศัยคำสั่งของผู้ปกครองกูนิที่เรียกว่า "โคกูชิ" (国司) ส่วนในเมืองหลวง ก็มีการเกณฑ์แรงงาน และเกณฑ์ทหาร แต่สามารถส่งส่วยแทนแรงงานได้

กฎหมายอาญา

มีการใช้ระบบกฎหมายอาญาที่วางโทษไว้ห้าระดับ เรียกว่า "โกเก" (五刑) คือ

  • เฆี่ยน เรียกว่า "ชิ" (笞) เป็นการเฆี่ยนตีที่สะโพก 10, 20, 30, 40, หรือ 50 ที แล้วแต่ผิดหนักผิดเบา
  • เฆี่ยนต่อหน้าธารกำนัล เรียกว่า "โจ" (杖) เป็นการเฆี่ยนตีทีสะโพก 60, 70, 80, 90, หรือ 100 ที ในที่สาธารณะ แล้วแต่ผิดหนักผิดเบา โดยใช้อุปกรณ์เฆี่ยนที่หนักกว่ากรณีชิ
  • จำคุก เรียกว่า "ซุ" (徒) มีกำหนด 1, 1.5, 2, 2.5, หรือ 3 ปี แล้วแต่ผิดหนักผิดเบา
  • เนรเทศ เรียกว่า "รุ" (流) แบ่งเป็น เนรเทศใกล้ เรียกว่า "คนรุ" (近流), เนรเทศกึ่งทางไกล เรียกว่า "ชูรุ" (中流), และเนรเทศไกล เรียกว่า "อนรุ" (遠流) แล้วแต่ผิดหนักผิดเบา
  • ประหาร เรียกว่า "ชิ" (死) แบ่งเป็น แขวนคอ เรียกว่า "โค" (絞) และตัดหัว เรียกว่า "ซัง" (斬) แล้วแต่ผิดหนักผิดเบา

ด้านอาญา ยังมีการกำหนดความผิดอาญาหนักแปดประการ เรียกว่า "ฮาจิเงียกุ" (八虐) ซึ่งจะเว้นโทษมิได้ เรื่องนี้ได้ต้นแบบมาจากฉือเอ้อ (十惡; "สิบชั่ว") ในกฎหมายของราชวงศ์ถัง แต่เอาความผิดสองประการ คือ การสร้างความแตกแยกในครอบครัว และการสร้างความเสื่อมเสียให้แก่ครอบครัว (เช่น การคบชู้สู่ชาย, เพศสัมพันธ์ระหว่างญาติพี่น้อง ฯลฯ) ออก จึงเหลือแปดประการ

วรรณะ

ระบบริตสึเรียวให้แบ่งประชาชนออกเป็นสองวรรณะ คือ เรียวมิง" (良民) กับเซ็นมิง (賤民) แต่ละวรรณะต้องใช้เสื้อผ้าที่มีสีตามวรรณะ

เรียวมิงแบ่งออกเป็นสี่วรรณะย่อย และเซ็นมิงแบ่งออกเป็นห้าวรรณะย่อย กลุ่มเซ็นมิงนี้แทบเทียบเท่าทาส

พัฒนาการของการใช้ริตสึเรียว

มีการปรับปรุงริตสึเรียวอยู่เป็นระยะ ๆ เช่น เพื่อส่งเสริมการเพาะปลูก ก็มีการตรากฎหมายใน ค.ศ. 723 อนุญาตให้ถือครองที่ดินที่เพาะปลูกได้เป็นช่วงเวลาต่อเนื่องกันสามรุ่นคน เรียกว่า "กฎหมายซันเซอิสชิง" (三世一身の法) แต่ ค.ศ. 743 ก็ออกกฎหมายให้ถือครองได้ไม่จำกัดเวลา เรียกว่า "กฎหมายคนเด็งเอเน็งชิไซ" (墾田永年私財法) ซึ่งทำให้เกิดที่ดินมากมายอยู่ในเงื้อมมือเอกชน นำไปสู่การสร้างจวนที่เรียกว่า "โชเอ็ง" (荘園)

ส่วนการใช้ข้อบังคับเกี่ยวกับการถือครองที่ดินตามวรรณะแบบเคร่งครัดก็เริ่มผ่อนคลายลงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 8–9 แต่ก็มีความพยายามจะคงระบบนี้ไว้ในช่วงจักรพรรดิคัมมุ โดยขยายเวลาจัดสรรที่ดินแต่ละคราวออกไปเป็น 12 ปี ส่วนในต้นยุคเฮอัง แทบจะไม่ได้ใช้ระบบนี้เลย การจัดสรรที่ดินครั้งสุดท้ายมีขึ้นในช่วง ค.ศ. 902–903

ระบบวรรณะเองก็ไม่ค่อยใช้เคร่งครัด เรียวมิงบางคนก็สมรสกับเซ็นมิงเพื่อเลี่ยงภาษี ส่วนเซ็นมิงก็ยอมสมรสด้วยเพื่อที่บุตรคลอดออกมาจะได้วรรณะเรียวมิง พอสิ้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 หรือเริ่มคริสต์ศตวรรษที่ 10 ระบบวรรณะนี้นับว่าสิ้นเนื้อหาสาระในทางปฏิบัติอีก

อ้างอิง

  1. Asakawa, Kan'ichi. (1903). The Early Institutional Life of Japan: A Study in the Reform of 645, p. 324 n.3.
  2. Mesheryakov, Alexander. (2003). "On the Quantity of Written Data Produced by the Ritsuryō State", Japan Review, 15:187–199.
  3. Asakawa, p. 13.
  4. Borgen, Robert (1994). Sugawara no Michizane and the Early Heian Court. University of Hawaii Press. pp. 13–14. ISBN 0-8248-1590-4.
  5. The initial ranks were subdivided into "greater" (大 dai) and "lesser" (少 shō) ranks.
  6. D., Totman, Conrad (2000-01-01). A history of Japan. Blackwell Publishers. p. 100. ISBN 1557860769. OCLC 41967280.

บรรณานุกรม

  • Asakawa, Kan'ichi. (1903). The Early Institutional Life of Japan. Tokyo: Shueisha. OCLC 4427686; see online, multi-formatted, full-text book at openlibrary.org
  • Titsingh, Isaac. (1834). Nihon Odai Ichiran; ou, Annales des empereurs du Japon. Paris: Royal Asiatic Society, Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland. OCLC 5850691
  • Sansom, George (1958). A History of Japan to 1334. Stanford: Stanford University Press. ISBN 0-8047-0523-2
  • Haley, John Owen. Authority Without Power: Law and the Japanese Paradox (Oxford, 1994), ISBN 0-19-509257-0

ตส, เร, ยว, 律令, เป, นระบบกฎหมายโบราณของญ, นซ, งอ, งปร, ชญาล, ทธ, ขงจ, อและน, ยมแบบจ, ประกอบด, วย, ประมวลกฎหมายอาญา, เร, ยกว, ตส, และประมวลกฎหมายปกครอง, เร, ยกว, เร, ยว, ปลายย, คอาซ, กะ, ปลายคร, สต, ศตวรรษท, และย, คนาระ, ราชสำน, กเค, ยวโตะพยายามจะจำลองระบบการเม. ritsueriyw yipun 律令 epnrabbkdhmayobrankhxngyipunsungxingprchyalththikhngcuxaelanitiniymaebbcin prakxbdwy pramwlkdhmayxaya eriykwa ritsu 律 aelapramwlkdhmaypkkhrxng eriykwa eriyw 令 playyukhxasuka playkhriststwrrsthi 6 thung kh s 710 aelayukhnara kh s 710 794 rachsankekhiywotaphyayamcacalxngrabbkaremuxngthiekhmngwdaebbcincakrachwngsthngmaodykartraaelabngkhbichpramwlkdhmayritsueriywhlaychud karptirupithkaemux kh s 645 epnsyyanaerk khxngkarthaihrabbritsueriywniekidphl 1 rthaebbritsueriywphlitkhxmulmakkhuneruxy sungmikarekbbnthukiwxyangdiinchwnghlayrxypi aetkhrnewlaphanip cninyukhehxng kh s 794 1185 sthabnaebbrutsueriywidklayepnrabbkaremuxngaelawthnthrrmthiiresiyngsathxn feedback xiktxip 2 pramwlkdhmayaebbritsueriywchbbsudthay khux oyorritsueriyw sungemuxmikarptirupemciemux kh s 1868 kyngichbngkhbxyukdhmayritsueriywchudhlk idaek 3 oxmieriyw 近江令 chbb kh s 669 prakxbdwypramwlkdhmaypkkhrxng 22 elm aetthimathiipnnyngthkethiyngknxyu xasukakhioymiharaeriyw 飛鳥浄御原令 chbb kh s 689 prakxbdwypramwlkdhmaypkkhrxng 22 elm ithohritsueriyw 大宝律令 chbb kh s 701 aetbangaehlngkwa kh s 702 mixiththiphlmak prakxbdwypramwlkdhmaypkkhrxng 11 elm aelapramwlkdhmayxaya 6 elm oyorritsueriyw 養老律令 trakhunin kh s 757 aetbangaehlngkwa kh s 752 prakxbdwypramwlkdhmaypkkhrxng 10 elm aelapramwlkdhmayxaya 10 elm epnkarnaithohritsueriywmatrwccharaihmenuxha 1 khwamsaerchlk 1 1 karpkkhrxng 1 2 karrwmsunyxanac 1 3 karcdtngtaaehnngrachkar 1 4 kdhmayxaya 1 5 wrrna 2 phthnakarkhxngkarichritsueriyw 3 xangxing 4 brrnanukrmkhwamsaerchlk aekikhkarpkkhrxng aekikh khrunghlngkhxngkhriststwrrsthi 7 mikarrierimrabbokhkungungri 国郡里制 sungihaebngpraethsxxkepnekhtpkkhrxngtang khux kuni 国 aebngxxkepn kung hruxokhri kung hruxokhri 郡 aebngxxkepn ri hruxsaota raw 2 20 aehng ri hruxsaota 里 prakxbdwybaneruxn 50 hlngkhaeruxnkhrn kh s 715 mikarnarabbokri 郷里制 maich thaihekidkaraebngekhtdngni kuni aebngxxkepn kung hruxokhri kung hruxokhri aebngxxkepn ok raw 2 20 aehng ok 郷 prakxbdwybaneruxn 50 hlngkhaeruxn aelaaebngxxkepn ri hruxsaota ri hruxsaota mkprakxbdwybaneruxnraw 10 25 hlngkhaeruxnrabbnilmelikipin kh s 740 karrwmsunyxanac aekikh rabbritsueriywkahndihmirthbalklang mickrphrrdiepnpramukh aelamihnwyngansxngswn khux cingngikng 神祇官 rbphidchxbdansasnckr idockng 太政官 rbphidchxbdanxanackr aebngxxkepnkrathrwng 8 krathrwngkarcdtngtaaehnngrachkar aekikh mikarichrabbladbtaaehnngrachkarthieriykwa khng 官 hrux khnochku 官職 sungaebngtaaehnngrachkarxxkepn 30 khn eriykwa xi 位 hrux xiik 位階 odywangraebiybekhrngkhrdwa taaehnngidkhwrmikhnid karcdkhnniodymakaelwxingkhwamdikhwamchxb imekiywkbkarsubtrakul butrhlankhxngkharachkarchnsungbangthikmikhnta sungepnaebbediywkbthixyuinkdhmaykhxngrachwngsthng aetrabbritsueriywkhxngyipunimxingkarsubtrakulkhnsungsud khux khn 1 eriykwa xicixi 一位 illngmacnthungkhn 8 eriyk hacixi 八位 epnkhnkhxngkharachsank miexksiththihlayprakar thdlngcakniipepnkhnthieriykwa osxi 初位 misiththiephiyngbangxyang 4 khnsungsudhkkhnaerk thuxknwa epnxphisiththichnxyangaethcring true aristocracy sungeriykwa khi 貴 aebngxxkepnchnphuihy eriyk och 正 aelachnphunxy eriyk cu 従 5 echn khn 3 chnphuihy eriykwa ochsnmi 正三位 hruxkhn 2 chnphunxy eriyk cunixi 従二位 khnthithdlngmacakkhn 3 yngaebngxxkepnladbsung eriykwa oc aelaladblang eriykwa eka 下 echn khn 4 chnphunxy ladblang eriyk cuchixionaeka 従四位下 hruxkhn 6 chnphuihy ladbsung eriyk ochorakuxionaoc 正六位上 kareluxnkhnmkepnipthilaelkthilanxytamrabbrachkar aelainchwngaerkthiichrabbritsueriywni caimmikareluxncnthungkhn 6 ewnepnkrniphiess cungthaihekidesnaebngepnklumxphisiththichn khn 5 khunip eriykwa khiosku 貴族 kbklumchnlang khn 6 lngma eriykwa cienga 地下 4 emuxideluxnkhn rayidinrupaebbkhawthieriykekbcakkunitang mihnwywdepnokhku 石 1 okhku praman 150 kiolkrm kcaephimkhunxyangyingipdwy kharachkarkhn 6 caidkhawraw 22 okhkutxpi aetkhn 5 xacidthung 225 okhkutxpi swnkhn 3 xacidmakthung 6 957 okhkutxpi 4 nxkcakni yngmirabbthasamaonprachakr eriykwa okheski 戸籍 prbprungthukhkpi aelamikartharaynganphasiraypi eriykwa ekhoc 計帳 thngmikartngrabbphasiodyxingraynganekhocni eriykwa osoyoc 租庸調 ephuxeriykekbphasiepnkhaw hruxthyphuch rwmthungphlitphlxun cakthxngthin echn fay eklux eyuxkradas l sngekhasuemuxnghlwngrabbritsueriywyngihmikareknthaerngnganinradbkuni odyxasykhasngkhxngphupkkhrxngkunithieriykwa okhkuchi 国司 swninemuxnghlwng kmikareknthaerngngan aelaeknththhar aetsamarthsngswyaethnaerngnganid kdhmayxaya aekikh mikarichrabbkdhmayxayathiwangothsiwharadb eriykwa okek 五刑 khux ekhiyn eriykwa chi 笞 epnkarekhiyntithisaophk 10 20 30 40 hrux 50 thi aelwaetphidhnkphideba ekhiyntxhnatharkanl eriykwa oc 杖 epnkarekhiyntithisaophk 60 70 80 90 hrux 100 thi inthisatharna aelwaetphidhnkphideba odyichxupkrnekhiynthihnkkwakrnichi cakhuk eriykwa su 徒 mikahnd 1 1 5 2 2 5 hrux 3 pi aelwaetphidhnkphideba enreths eriykwa ru 流 aebngepn enrethsikl eriykwa khnru 近流 enrethskungthangikl eriykwa churu 中流 aelaenrethsikl eriykwa xnru 遠流 aelwaetphidhnkphideba prahar eriykwa chi 死 aebngepn aekhwnkhx eriykwa okh 絞 aelatdhw eriykwa sng 斬 aelwaetphidhnkphidebadanxaya yngmikarkahndkhwamphidxayahnkaepdprakar eriykwa haciengiyku 八虐 sungcaewnothsmiid eruxngniidtnaebbmacakchuxexx 十惡 sibchw inkdhmaykhxngrachwngsthng aetexakhwamphidsxngprakar khux karsrangkhwamaetkaeykinkhrxbkhrw aelakarsrangkhwamesuxmesiyihaekkhrxbkhrw echn karkhbchusuchay ephssmphnthrahwangyatiphinxng l xxk cungehluxaepdprakar wrrna aekikh rabbritsueriywihaebngprachachnxxkepnsxngwrrna khux eriywming 良民 kbesnming 賤民 aetlawrrnatxngichesuxphathimisitamwrrnaeriywmingaebngxxkepnsiwrrnayxy aelaesnmingaebngxxkepnhawrrnayxy klumesnmingniaethbethiybethathasphthnakarkhxngkarichritsueriyw aekikhmikarprbprungritsueriywxyuepnraya echn ephuxsngesrimkarephaapluk kmikartrakdhmayin kh s 723 xnuyatihthuxkhrxngthidinthiephaaplukidepnchwngewlatxenuxngknsamrunkhn eriykwa kdhmaysnesxisching 三世一身の法 aet kh s 743 kxxkkdhmayihthuxkhrxngidimcakdewla eriykwa kdhmaykhnedngexenngchiis 墾田永年私財法 sungthaihekidthidinmakmayxyuinenguxmmuxexkchn naipsukarsrangcwnthieriykwa ochexng 荘園 swnkarichkhxbngkhbekiywkbkarthuxkhrxngthidintamwrrnaaebbekhrngkhrdkerimphxnkhlaylnginchwngkhriststwrrsthi 8 9 6 aetkmikhwamphyayamcakhngrabbniiwinchwngckrphrrdikhmmu odykhyayewlacdsrrthidinaetlakhrawxxkipepn 12 pi swnintnyukhehxng aethbcaimidichrabbniely karcdsrrthidinkhrngsudthaymikhuninchwng kh s 902 903rabbwrrnaexngkimkhxyichekhrngkhrd eriywmingbangkhnksmrskbesnmingephuxeliyngphasi swnesnmingkyxmsmrsdwyephuxthibutrkhlxdxxkmacaidwrrnaeriywming phxsinkhriststwrrsthi 9 hruxerimkhriststwrrsthi 10 rabbwrrnaninbwasinenuxhasarainthangptibtixikxangxing aekikh Asakawa Kan ichi 1903 The Early Institutional Life of Japan A Study in the Reform of 645 p 324 n 3 Mesheryakov Alexander 2003 On the Quantity of Written Data Produced by the Ritsuryō State Japan Review 15 187 199 Asakawa p 13 4 0 4 1 4 2 Borgen Robert 1994 Sugawara no Michizane and the Early Heian Court University of Hawaii Press pp 13 14 ISBN 0 8248 1590 4 The initial ranks were subdivided into greater 大 dai and lesser 少 shō ranks D Totman Conrad 2000 01 01 A history of Japan Blackwell Publishers p 100 ISBN 1557860769 OCLC 41967280 brrnanukrm aekikhAsakawa Kan ichi 1903 The Early Institutional Life of Japan Tokyo Shueisha OCLC 4427686 see online multi formatted full text book at openlibrary org Titsingh Isaac 1834 Nihon Odai Ichiran ou Annales des empereurs du Japon Paris Royal Asiatic Society Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland OCLC 5850691 Sansom George 1958 A History of Japan to 1334 Stanford Stanford University Press ISBN 0 8047 0523 2 Haley John Owen Authority Without Power Law and the Japanese Paradox Oxford 1994 ISBN 0 19 509257 0ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ritsueriyw amp oldid 8442159, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม