fbpx
วิกิพีเดีย

วิเวก

วิเวก ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง ความสงัด ความปลีกออก เป็นความสงัดกาย สงัดใจ และสงบ อุปธิ (กิเลสอย่างหยาบที่ทำให้สร้างกรรมทางกาย วาจา) ทั้งปวง

วิเวก 3

  • กายวิเวก ความสงัดกาย ได้แก่การอยู่ในที่สงัดก็ดี ดำรงอิริยาบถและเที่ยวไปผู้เดียวก็ดี
  • จิตตวิเวก ความสงัดใจ ได้แก่การทำจิตให้สงบผ่องใส สงัดจากนิวรณ์ หมายเอาจิตแห่งผู้มีสมาธิและสติ
  • อุปธิวิเวก ความสงัดจากกิเลสอันเป็นเหตุสร้างกรรม ได้แก่ธรรมอันเป็นที่สงบระงับอุปธิทั้งปวง (หมายเอาผู้ฝึกฝนทางปัญญา จนเอาชนะกิเลส อนุสัยและสังโยชน์อันเป็นเหตุสร้างกรรมทางกาย วาจา(อุปธิ)

นอกจากนี้ยังมี วิเวก 5 มีความหมายอย่างเดียวกับ นิโรธ 5

อ้างอิง

  • พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
  • พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส

เวก, ในทางพระพ, ทธศาสนา, หมายถ, ความสง, ความปล, กออก, เป, นความสง, ดกาย, สง, ดใจ, และสงบ, ปธ, เลสอย, างหยาบท, ทำให, สร, างกรรมทางกาย, วาจา, งปวง, แก, ไขกาย, ความสง, ดกาย, ได, แก, การอย, ในท, สง, ดก, ดำรงอ, ยาบถและเท, ยวไปผ, เด, ยวก, ตต, ความสง, ดใจ, ได, แก, กา. wiewk inthangphraphuththsasna hmaythung khwamsngd khwamplikxxk epnkhwamsngdkay sngdic aelasngb xupthi kielsxyanghyabthithaihsrangkrrmthangkay waca thngpwngwiewk 3 aekikhkaywiewk khwamsngdkay idaekkarxyuinthisngdkdi darngxiriyabthaelaethiywipphuediywkdi cittwiewk khwamsngdic idaekkarthacitihsngbphxngis sngdcakniwrn hmayexacitaehngphumismathiaelasti xupthiwiewk khwamsngdcakkielsxnepnehtusrangkrrm idaekthrrmxnepnthisngbrangbxupthithngpwng hmayexaphufukfnthangpyya cnexachnakiels xnusyaelasngoychnxnepnehtusrangkrrmthangkay waca xupthi nxkcakniyngmi wiewk 5 mikhwamhmayxyangediywkb niorth 5xangxing aekikhphrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth phraitrpidk elmthi 29 phrasuttntpidk elmthi 21 khuththknikay mhanithethsekhathungcak https th wikipedia org w index php title wiewk amp oldid 9350260, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม