fbpx
วิกิพีเดีย

สถานะโคะดะมะ

สถานะโคะดะมะ (อังกฤษ: Kodama state) นั้น ฮิเดะโอะ โคะดะมะ เสนอขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2531 โดยใช้ ชุดตัวแปรของอัชเทคาร์ ซึ่งเสนอโดยนักฟิสิกส์ชาวอินเดียชื่อ อเบย์ อัชเทคาร์ (Abay Ashtekar) (ต่อมาตัวแปรนี้ถูกนำมาใช้กับทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัม และพัฒนามาเป็นทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัมแบบลูป (Loop Quantum Gravity) หรือ ลูปกราวิตี) แต่ถูกเพิกเฉยเป็นอันมาก เพราะผู้คนเชื่อว่า การที่สมการดังกล่าวว่าด้วยเรื่องอวกาศเวลาเชิงบวก (positive spacetime) กล่าวคือ ระบุว่ามีค่าคงที่จักรวาลเป็นจำนวนบวกนั้น ไม่ตรงกับสิ่งได้สังเกตเห็นกันมา[ต้องการอ้างอิง]

ใน ปี พ.ศ. 2544 ลี สโมลิน ได้เสนอว่า สถานะโคะดะมะ เป็น สถานะพื้น ที่มีคุณสมบัติ ลิมิตกึ่งคลาสสิก ที่ดี ซึ่งอาจทำให้เราศึกษาพลวัต (dynamics) ของ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ที่มี ค่าคงที่จักรวาลเป็นบวก หรือเรียกว่า "จักรวาล เดอ ซิตเตอร์" (de Sitter universe) 4มิติ และ กราวิตอน (อนุภาคทางทฤษฎีที่ใช้เป็นสื่อแรงโน้มถ่วงระหว่างมวล) จากทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัมได้อีกครั้ง (เนื่องจากในปัจจุบันเราไม่สามารถ ศึกษาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป โดยเริ่มจากทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัมแบบหนึ่งได้ ซึ่งเราเรียกว่าแบบคาโนนิคัล ทั้งๆที่เราศึกษาไดนามิกส์ของมันในเชิงคลาสสิก ก่อนจะส่งผ่าสู่แบบควอนตัม ทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัมแบบลูป ก็จัดอยู่ในประเภทนี้ และทฤษฎีความโน้มถ่วงเชิงควอนตัมเหล่านี้เริ่มมาจาก ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป จึงถือว่าเป็นทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัมแบบไม่ขึ้นอยู่กับพื้นหลัง) เนื่องจากสถานะนี้เป็น คำตอบแบแม่นตรง (exact solution) ของ เงื่อนไขคอนสเตรนท์ (เงื่อนไขที่บังคับตัวแปรอิสระของทฤษฎีบางตัวให้ไม่เป็นอิสระต่อกัน และสมการนี้ถือเป็นสมการการเคลื่อนที่ของทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัมแบบลูป และแบบคาโนนิคัล) บน"ทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัม แบบไม่ขึ้นอยู่กับพื้นหลัง"กล่าวคือ ทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัมที่ไม่ได้ใช้อวกาศเวลาเป็นตัวแปรอิสระเพราะอวกาศเวลาก็มีการเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์กับตัวแปรอื่นๆ ทำให้สรุปได้ว่า ทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัมแบบลูป เป็นทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัม ที่มีลักษณะกึ่งคลาสสิก (ทฤษฎีที่สมมติให้แรงโน้มถ่วงอธิบายด้วยทฤษฎีคลาสสิก (ไม่มีผลทางควอนตัม) ส่วนอนุภาคและสนามอื่นๆอธิบายด้วยทฤษฎีควอนตัม ตัวอย่างเช่น ทฤษฎีสนามควอนตัมบนอวกาศเวลาโค้ง ผลของทฤษฎีนี้ที่เป็นที่รู้จัก คือ สตีเฟน ฮอว์คิง ใช้คำนวณ เอนโทรปี (ความยุ่งเหยิง) ของหลุมดำ) ที่ถูกต้อง

แต่อย่างไรก็ดี ในปี พ.ศ. 2546 เอดเวิร์ด วิทเทน ตีพิมพ์ เอกสารทางวิชาการชิ้นหนึ่ง เพื่อโต้ตอบ คำเสนอแนะของ ลี สโมลิน โดยกล่าวว่า สถานะโคะดะมะ นั้นไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงในเชิงฟิสิกส์ เนื่องด้วยความที่คล้ายคลึงกับ สถานะหนึ่งในฟังก์ชันคลื่นของ ทฤษฎี เฉิน-ไซมอนส์ (Cherns-Simons theory) ซึ่งได้ผลลัพธ์มีพลังงานเป็นลบ

ต่อมาในปี ในปี พ.ศ. 2549 แอนดรูว์ แรนโดโน (Andrew Randono) ตีพิมพ์ เอกสารทางวิชาการ 2ฉบับ ซึ่งพูดถึงการปฏิเสธนี้ โดยการทำ สถานะโคะดะมะ ให้อยู่ในรูปทั่วไป แรนโดโน ได้สรุปว่า เมื่อทำพารามิเตอร์ของอิมเมียร์ซี (Immirzi paramrter) (ค่าคงที่หลักของทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัมแบบลูป เปรียบได้กับ ค่าคงที่ของพลังค์ในกลศาสตร์ควอนตัม หรือ ค่าคงที่ฮับเบิล ในจักรวาลวิทยา) ให้อยู่ในรูปทั่วไปซึ่งสามารถเป็นจำนวนจริงได้ ซึ่งถูกกำหนดโดย การเทียบกับค่าเอนโทรปีของหลุมดำและเมื่อนำมาใช้กับสถานะโคะดะมะ ก็จะสามารถอธิบาย การละเมิดพาริตี ในทฤษฎีความโน้มถ่วงควอนตัมได้ และมีสมบัติ ซีพีทีอินวาเรียนท์ (ความไม่แปรเปลี่ยนเมื่อกลับประจุไฟฟ้า กลับทิศทางของอวกาศ กลับทิศของเวลา ที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน),สามารถนอร์มัลไลซ์ (normalize) ได้ และมีสมบัติ ไครอล (chiral) อีกด้วย ซึ่งที่สอดคล้องกับการสังเกตที่ได้จากทฤษฎีความโน้มถ่วง และ ทฤษฎีสนามควอนตัม ทุกประการ เขากล่าว่าการสรุปของวิทเทน อยู่บนพื้นฐานที่ว่า พารามิเตอร์ของอิมเมียร์ซี มีค่าเป็นจำนวนจินตภาพ ซึ่งทำให้สมการง่ายขึ้นเท่านั้น

นอกเหนือจากนั้น ผลคูณภายในของสถานะโคะดะมะแบบทั่วไป มีความคล้ายคลึงกับ แอคชันของ แมคโดเวลล์-แมนซูรี ซึ่งเป็นโครงสร้างเชิงคณิตศาสตร์แบบหนึ่ง หรือ ฟอร์มูเลชัน (formulation) หนึ่ง ของทฤษฎีแรงโน้มถ่วง จึงถือว่ามีความน่าสนใจในเชิงทฤษฎี

อ้างอิง

  1. Hideo Kodama (1988). "Specialization of Ashtekar's Formalism to Bianchi Cosmology". Progress of Theoretical Physics. 80 (6): 1024. Bibcode:1988PThPh..80.1024K. doi:10.1143/PTP.80.1024.
  2. Lee Smolin (2002). "Quantum gravity with a positive cosmological constant". arΧiv:hep-th/0209079 [hep-th]. 
  3. Edward Witten (2003). "A Note on the Chern-Simons and Kodama Wavefunctions". arΧiv:gr-qc/0306083 [gr-qc]. 
  4. Andrew Randono (2006). "Generalizing the Kodama State I: Construction". arΧiv:gr-qc/0611073 [gr-qc]. 
  5. Andrew Randono (2006). "Generalizing the Kodama State II: Properties and Physical Interpretation". arΧiv:gr-qc/0611074 [gr-qc]. 

สถานะโคะดะมะ, บทความน, เคล, อบคล, มหร, ออ, านแล, วไม, อาจเข, าใจได, โปรดปร, บปร, งบทความ, และอาจม, เสนอแนะเอาไว, หน, าพ, ดค, ยแล, นยายน, 2554, งกฤษ, kodama, state, เดะโอะ, โคะดะมะ, เสนอข, นเม, 2531, โดยใช, ดต, วแปรของอ, ชเทคาร, งเสนอโดยน, กฟ, กส, ชาวอ, นเด, ยช. bthkhwamniekhluxbkhlumhruxxanaelwimxacekhaicid oprdprbprungbthkhwam aelaxacmiphuesnxaenaexaiwthihnaphudkhuyaelw 29 knyayn 2554 sthanaokhadama xngkvs Kodama state nn hiedaoxa okhadama esnxkhunemux ph s 2531 1 odyich chudtwaeprkhxngxchethkhar sungesnxodynkfisikschawxinediychux xeby xchethkhar Abay Ashtekar txmatwaeprnithuknamaichkbthvsdikhwamonmthwngkhwxntm aelaphthnamaepnthvsdikhwamonmthwngkhwxntmaebblup Loop Quantum Gravity hrux lupkrawiti aetthukephikechyepnxnmak ephraaphukhnechuxwa karthismkardngklawwadwyeruxngxwkasewlaechingbwk positive spacetime klawkhux rabuwamikhakhngthickrwalepncanwnbwknn imtrngkbsingidsngektehnknma txngkarxangxing in pi ph s 2544 li somlin idesnxwa sthanaokhadama epn sthanaphun thimikhunsmbti limitkungkhlassik thidi sungxacthaiherasuksaphlwt dynamics khxng thvsdismphththphaphthwip thimi khakhngthickrwalepnbwk hruxeriykwa ckrwal edx sitetxr de Sitter universe 4miti aela krawitxn xnuphakhthangthvsdithiichepnsuxaerngonmthwngrahwangmwl 2 cakthvsdikhwamonmthwngkhwxntmidxikkhrng enuxngcakinpccubneraimsamarth suksathvsdismphththphaphthwip odyerimcakthvsdikhwamonmthwngkhwxntmaebbhnungid sungeraeriykwaaebbkhaonnikhl thngthierasuksaidnamikskhxngmninechingkhlassik kxncasngphasuaebbkhwxntm thvsdikhwamonmthwngkhwxntmaebblup kcdxyuinpraephthni aelathvsdikhwamonmthwngechingkhwxntmehlanierimmacak thvsdismphththphaphthwip cungthuxwaepnthvsdikhwamonmthwngkhwxntmaebbimkhunxyukbphunhlng enuxngcaksthananiepn khatxbaebaemntrng exact solution khxng enguxnikhkhxnsetrnth enguxnikhthibngkhbtwaeprxisrakhxngthvsdibangtwihimepnxisratxkn aelasmkarnithuxepnsmkarkarekhluxnthikhxngthvsdikhwamonmthwngkhwxntmaebblup aelaaebbkhaonnikhl bn thvsdikhwamonmthwngkhwxntm aebbimkhunxyukbphunhlng klawkhux thvsdikhwamonmthwngkhwxntmthiimidichxwkasewlaepntwaeprxisraephraaxwkasewlakmikarepliynaeplngsmphnthkbtwaeprxun thaihsrupidwa thvsdikhwamonmthwngkhwxntmaebblup epnthvsdikhwamonmthwngkhwxntm thimilksnakungkhlassik thvsdithismmtiihaerngonmthwngxthibaydwythvsdikhlassik immiphlthangkhwxntm swnxnuphakhaelasnamxunxthibaydwythvsdikhwxntm twxyangechn thvsdisnamkhwxntmbnxwkasewlaokhng phlkhxngthvsdinithiepnthiruck khux stiefn hxwkhing ichkhanwn exnothrpi khwamyungehying khxnghlumda thithuktxng 2 aetxyangirkdi inpi ph s 2546 exdewird withethn tiphimph exksarthangwichakarchinhnung ephuxottxb khaesnxaenakhxng li somlin odyklawwa sthanaokhadama nnimsxdkhlxngkbkhwamepncringinechingfisiks enuxngdwykhwamthikhlaykhlungkb sthanahnunginfngkchnkhlunkhxng thvsdi echin ismxns Cherns Simons theory sungidphllphthmiphlngnganepnlb 3 txmainpi inpi ph s 2549 aexndruw aernodon Andrew Randono tiphimph exksarthangwichakar 2chbb sungphudthungkarptiesthni odykartha sthanaokhadama ihxyuinrupthwip 4 5 aernodon idsrupwa emuxthapharamietxrkhxngximemiyrsi Immirzi paramrter khakhngthihlkkhxngthvsdikhwamonmthwngkhwxntmaebblup epriybidkb khakhngthikhxngphlngkhinklsastrkhwxntm hrux khakhngthihbebil inckrwalwithya ihxyuinrupthwipsungsamarthepncanwncringid sungthukkahndody karethiybkbkhaexnothrpikhxnghlumdaaelaemuxnamaichkbsthanaokhadama kcasamarthxthibay karlaemidphariti inthvsdikhwamonmthwngkhwxntmid aelamismbti siphithixinwaeriynth khwamimaeprepliynemuxklbpracuiffa klbthisthangkhxngxwkas klbthiskhxngewla thiekidkhuninewlaediywkn samarthnxrmlils normalize id aelamismbti ikhrxl chiral xikdwy sungthisxdkhlxngkbkarsngektthiidcakthvsdikhwamonmthwng aela thvsdisnamkhwxntm thukprakar 4 5 ekhaklawakarsrupkhxngwithethn xyubnphunthanthiwa pharamietxrkhxngximemiyrsi mikhaepncanwncintphaph sungthaihsmkarngaykhun 4 5 ethannnxkehnuxcaknn phlkhunphayinkhxngsthanaokhadamaaebbthwip mikhwamkhlaykhlungkb aexkhchnkhxng aemkhodewll aemnsuri sungepnokhrngsrangechingkhnitsastraebbhnung hrux fxrmuelchn formulation hnung khxngthvsdiaerngonmthwng cungthuxwamikhwamnasnicinechingthvsdixangxing aekikh Hideo Kodama 1988 Specialization of Ashtekar s Formalism to Bianchi Cosmology Progress of Theoretical Physics 80 6 1024 Bibcode 1988PThPh 80 1024K doi 10 1143 PTP 80 1024 2 0 2 1 Lee Smolin 2002 Quantum gravity with a positive cosmological constant arXiv hep th 0209079 hep th Edward Witten 2003 A Note on the Chern Simons and Kodama Wavefunctions arXiv gr qc 0306083 gr qc 4 0 4 1 4 2 Andrew Randono 2006 Generalizing the Kodama State I Construction arXiv gr qc 0611073 gr qc 5 0 5 1 5 2 Andrew Randono 2006 Generalizing the Kodama State II Properties and Physical Interpretation arXiv gr qc 0611074 gr qc ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sthanaokhadama amp oldid 5602449, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม