fbpx
วิกิพีเดีย

สถานีทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่น

สถานีทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่น (อังกฤษ: Amateur radio repeater) คือสถานีวิทยุสมัครเล่นที่ติดตั้งเครื่องวิทยุสำหรับรับสัญญาณจากคลื่นความถี่หนึ่ง แล้วส่งออกไปยังอีกคลื่นความถี่เดียวกัน หรือต่างคลื่นความถี่ ภายใต้กฎระเบียบและกติกาของประเทศหรือภูมิภาคนั้น ๆ ได้กำหนด เพื่อเพิ่มระยะการส่งสัญญาณวิทยุจากอุปกรณ์ที่มีกำลังส่งต่ำให้สามารถติดต่อสื่อสารได้ไกลมากขึ้น แนวคิดดังกล่าวมีความคล้ายคลึงกับสถานีทวนสัญญาณที่ใช้โดยหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ซึ่งมีหลักการทำงานเช่นเดียวกัน

การทำงานของสถานีทวนสัญญาณ

สำหรับสถานีทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่นนั้น มักจะอยู่ภายใต้การดูแลของกลุ่มนักวิทยุสมัครเล่นในท้องที่นั้น ๆ โดยเปิดให้ใช้งานได้สำหรับนักวิทยุสมัครเล่นทุกคน ในบางครั้งอาจมีการเชื่อมโยงสถานีทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่นหลายแห่งเข้าด้วยกัน รวมถึงเชื่อมต่อกับโครงข่ายอื่นภายนอก เพื่อให้การสื่อสารมีความครอบคลุมพื้นที่ได้กว้างยิ่งขึ้น ซึ่งในประเทศไทยได้มีการทดลองเชื่อมโยงระบบสถานีทวนสัญญาณในเขต 7 ของ กสทช. และระบบเอ็กโค่ลิงก์ในวันวิทยุสมัครเล่นโลก พ.ศ. 2565 ทำให้มีพื้นที่ครอบคลุมในการสื่อสารถึง 5 จังหวัด

ความถี่

ความถี่ที่ใช้งานในการทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่นนั้นส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงของวีเอชเอฟ ย่านความถี่ 6 เมตร (50-54 MHz) ย่านความถี่ 2 เมตร (144-148 MHz) ย่านความถี่ 1.25 เมตร (222-225 MHz) และช่วงยูเอชเอฟ ย่านความถี่ 70 เซนติเมตร (430-440 MHz) และสามารถใช้งานได้กับทุกคู่ความถี่ที่สูงกว่า 28 MHz และในบางพื้นที่ใช้ย่านความถี่ 33 เซนติเมตร (902-928 MHz) และย่านความถี่ 23 เซนติเมตร (1.24-1.3 GHz) ในการทวนสัญญาณ โดยในแต่ละประเทศนั้น มีกฎหมายและระเบียบในการใช้งานคลื่นความถี่ที่แตกต่างกันไป เช่น ในสหรัฐอเมริกา ย่านความถี่ 2 เมตรคือ 144-148 MHz ในประเทศอังกฤษและส่วนใหญ่ของสหภาพยุโรปใช้งานความถี่ 144-146 MHz ในขณะที่ประเทศไทยใช้ความถี่ 144-147 MHz

สำหรับความถี่ที่ใช้ในการทวนสัญญาณนั้นจะเรียกว่า ความถี่รับ และความถี่ส่ง โดยในทางปฏิบัตินั้นจะมีระยะห่างกันคงที่ ในสหรัฐอเมริกานั้นย่านความถี่ 2 เมตร ค่าระยะห่างมาตรฐานคือ 600 kHz (0.6 MHz) ส่วนในประเทศไทยจะใช้ในรูปแบบของดูเพล็กซ์ -600 kHz คือเมื่อเราออกอากาศ เครื่องส่งวิทยุของเราจะส่งไปที่ความถี่ที่ต่ำกว่าช่องที่ตั้งไว้รับฟัง 600 kHz เมื่อไปถึงสถานีทวนสัญญาณ ระบบจะนำไปออกอากาศอีกครั้งในความถี่ที่สูงกว่าภาคส่งจากเราคือ 600 kHz ซึ่งเป็นช่องของสถานีทวนสัญญาณซึ่งมีบุคคลอื่นหรือบุคคลที่เราต้องการจะติดต่อสื่อสารด้วยรับฟังอยู่

ในอดีตสมัยที่วิทยุสื่อสารถูกควบคุมด้วยแร่บังคับความถี่ คู่ความถี่สถานีทวนสัญญาณถูกตั้งค่าไว้ที่ช่วงท้ายของความถี่ส่ง ตามด้วยความถี่รับ โดย (34/94) หมายความว่า สัญญาณจะถูกส่งผ่านความถี่ 146.34 MHz และรับฟังได้ที่ความถี่ 146.94 MHz ในขณะที่สถานีทวนสัญญาณจะถูกตั้งค่าในทิศทางที่ตรงกันข้ามกัน คือความถี่รับ 146.34 MHz และความถี่ส่ง 146.94 MHz

ตั้งแต่ปลายทศวรรษ 1970 เป็นต้นมา (พ.ศ. 2513) ได้มีการใช้งานวิทยุสื่อสารแบบสังเคราะห์ความถี่ที่ถูกควบคุมการทำงานโดยไมโครโปรเซสเซอร์ ทำให้สามารถใช้งานและแยกความถี่โดยกำหนดให้เป็นค่ามาตรฐาน อาทิ การบอกทิศทางของการเปลี่ยนแปลงความถี่ในรูปแบบของ "+" เป็นการเพิ่มความถี่ในการส่ง และ "-" ในการลดความถี่ในการส่ง โดยกำหนดตามค่ามาตรฐานในการใช้งานความถี่นั้น ๆ เช่น 145.625 ค่าความถี่ลบ หมายความว่า ความถี่ส่งคือ 145.6250 MHz ความถี่รับคือ 145.0250 MHz ซึ่งมีความถี่ต่ำกว่า 600 kHz ส่วนในไทยนิยมแจ้งด้วยความถี่ และลงท้ายด้วย ดูเพล็กซ์ -600 ซึ่งเป็นค่ามาตรฐานของประเทศไทย

การใช้งาน

ในต่างประเทศนั้น สถานีทวนสัญญาณสามารถเชื่อต่ออัตโนมัติกับสายโทรศัพท์พื้นฐานและเครือข่ายโทรศัพท์พื้นฐานเพื่อโทรศัพท์ออกจากวิทยุสื่อสารที่มีปุ่มกด โดยให้บริการกับสมาชิกของกลุ่มหรือชมรมเฉพาะกลุ่ม นอกจากนี้สถานีทวนสัญญาณวิทยุส่วนใหญ่มีการป้องกันการเข้าถึงด้วยรหัสควบคุม CTCSS (หรือที่คนไทยเรียกว่า โทน) เพื่อป้องกันไม่ให้ถูกรบกวนโดยสัญญาณวิทยุอื่น ๆ และสถานีข้างเคียงที่มีความถี่ใกล้หรือตรงกัน นักวิทยุบางคนใช้ระบบการเข้ารหัสดิจิทัลอื่น ๆ ที่เรียกว่า DCS, DCG หรือ DPL (เครื่องหมายการค้าของโมโตโรลา)

ในชุมชนนักวิทยุสมัครเล่นหลายแห่ง สถานีทวนสัญญาณนั้นกลายเป็นเหมือนสถานที่นัดหมายหลักในการออกอากาศในแต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะในช่วงเวลาของการขับรถ (ในช่วงเช้าและช่วงบ่าย) ในช่วงเย็นอาจจะีการรายงานสภาพอากาศ หรือข่าวสารสาธารณะต่าง ๆ ในกรณีฉุกเฉินหรือภัยพิบัติต่าง ๆ สถานีทวนสัญญาณนั้นช่วยเชื่อมต่อการสื่อสารที่จำเป็นในพื้นที่ที่ห่างไกลและระบบสื่อสารหลักไม่สามารถใช้การได้

อุปกรณ์ในการทวนสัญญาณ

 
ระบบทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่นที่ประกอบด้วย ระบบทวนสัญญาณย่านความถี่ 70 เซนติเมตร ระบบทวนสัญญาณดิจิทัลย่านความถี่ 2 เมตรและอินเตอร์เน็ตเกตเวย์ (iGate)

อุปกรณ์พื้นฐานในการทวนสัญญาณประกอบไปด้วยเครื่องรับวิทยุย่านเอฟเอ็มที่ใช้งานในความถี่หนึ่ง และเครื่องส่งวิทยุย่านเอฟเอ็มในช่วงความถี่เดียวกัน และเชื่อมต่อเครื่องวิทยุทังสองตัวเข้าด้วยกัน เมื่อเครื่องรับวิทยุได้รับข้อความเข้ามา ก็จะถ่ายทอดเสียงนั้นก็จะถูกกดคีย์และถ่ายทอดสัญญาณเสียงนั้นอีกครั้งออกอากาศออกไปให้ได้ยิน

ในการทวนสัญญาณนั้น จำเป็นจะต้องมีอุปกรณ์ในการควบคุมการทวนสัญญาณ สามารถเป็นได้ทั้งอุปกรณ์แบบฮาร์ดแวร์ หรือใช้งานผ่านซอฟต์แวร์ก็ได้

อุปกรณ์ควบคุมในการทวนสัญญาณนั้นมักจะมีอุปกรณ์ในการจับเวลาในการออกอากาศ เพื่อตัดการเชื่อมต่อของสัญญาณที่ส่งมาออกอากาศนานเกินไป โดยเฉพาะในกลุ่มที่ใช้ในการสื่อสารในสถานการณ์ฉุกเฉิน มักจะตั้งค่าให้สามารถออกอากาศได้ครั้งละไม่เกิน 30 วินาทีในการถ่ายทอดข้อมูล โดยในกลุ่มอื่น ๆ อาจใช้เวลา 3 นาทีหรือนานกว่านั้น อุปกรณ์ในการจับเวลาจะมีการเริ่มต้นใหม่หลักจากการหยุดพักช่วงสั้น ๆ หลังการส่งสัญญาณออกอากาศแต่ละครั้ง และในหลาย ๆ ระบบจะมีการส่งเสียงบี๊บเตือนเพื่อแจ้งว่าระบบได้เริ่มต้นใหม่และให้บริการอีกครั้ง

ประเภทสถานีทวนสัญญาณ

สถานีทวนสัญญาณแบบทั่วไป

สถานีทวนสัญญาณแบบทั่วไป เป็นการทวนสัญญาณภายในย่านความถี่เดียวกัน หรือย่านความถี่ใกล้เคียงกัน โดยทวนสัญญาณทุกอย่างที่ถูกส่งมาทั้งสัญญาณเสียงแบบเอฟเอ็มผสมมากับคลื่นความถี่ โดยใช้สายอากาศ 2 อัน อันแรกสำหรับภาครับ อันที่สองสำหรับภาคส่ง หรือการแยกภาคส่งและภาครับในสายอากาศต้นเดียวแบบดูเพล็กซ์

การใช้งานแบบดูเพล็กซ์เป็นการใช้งานอุปกรณ์ที่ป้องกันไม่ให้กำลังส่งที่สูงของภาคส่งกลบสัญญาณจากภาครับของสถานีทวนสัญญาณ ช่วยให้ใช้เครื่องรับส่ง 2 เครื่องสามารถใช้สายอากาศในต้นเดียวกันได้ นิยมติดตั้งในการทวนสัญญาณย่านความถี่ 2 เมตรกับความถี่ที่สองบนย่าน 440 MHz ในการแบ่งปันการใช้งานบนเสาอากาศที่ติดตั้งสายอากาศเพียงต้นเดียว

สถานีทวนสัญญาณส่วนใหญ่จะใช้การควบคุมระยะไกลผ่านการใช้โทนเสียงบนช่องความถี่สำหรับควบคุมระบบ

สถานีทวนสัญญาณแบบข้ามย่านความถี่

สถานีทวนสัญญาณแบบข้ามย่านความถี่ (Cross-band repeaters) เป็นการทวนสัญญาณโหมดเฉพาะบนย่านความถี่หนึ่งไปยังโหมดเฉพาะบนอีกย่านความถี่หนึ่งที่แตกต่างจากภาคส่ง วิธีดังกล่าวทำให้ระบบมีความซับซ้อนที่น้อยลง การทวนสัญญาณแบบนี้ทำให้สามารถรับและส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันด้วยสายอากาศต้นเดียว เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาและความซับซ้อนในการทวนสัญญาณย่านความถี่เดียวกัน

ในเครื่องรับส่งวิทยุแบบหลายย่านความถี่บางเครื่องสามารถใช้งานเพื่อทวนสัญญาณแบบข้ามย่านความถี่ได้

สถานีทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่นโทรทัศน์

สถานีทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่นโทรทัศน์ (Amateur television: ATV) ใช้ในการส่งสัญญาณวีดีโอแบบเคลื่อนไหวเต็มรูปแบบซึ่งช่วงความถี่ที่ใช้งานนั้นจะแตกต่างกันไปตามแต่ละประเทศกำหนด

ในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นกำหนดในรูปแบบของการทวนสัญญาณข้ามความถี่ โดยมีภาครับในย่านความถี่ 33 หรือ 23 เซนติเมตร และความถี่ส่งในความถี่ 421.25 MHz หรือในบางครั้งที่ 426.25 MHz (ในย่านความถี่ 70 เซนติเมตร) ความถี่ในภาคส่งเหล่านี้ตรงกันกับความถี่เคเบิลทีวีมาตรฐาน ช่องที่ 57 และ 58 ทำให้ใครที่มีโทรทัศน์อนาล็อกแบบเอ็นทีเอสซี สามารถรับชมได้โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์เฉพาะในการรับ

นอกจากนี้ยังมียังมีการทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่นโทรทัศน์แบบดิจิทัล (digital amateur TV) ที่ส่งสัญญาณวีดีโอในรูปแบบดิจิทัลตามมาตรฐานการแพร่สัญญาณภาพดิจิทัลผ่านดาวเทียมด้วยการกล้ำสัญญาณ เนื่องจากใช้ช่วงความถี่ที่แคบและการสูญเสียสัญญาณที่สูง โดยวิทยุสมัครเล่นโทรทัศน์แบบดิจิทัลเป็นที่นิยมในยุโรป อันเนื่องมาจากความพร้อมของอุปกรณ์ในการแพร่สัญญาณภาพดิจิทัลผ่านดาวเทียม

ดาวเทียมทวนสัญญาณ

ดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น มีจุดประสงค์เพื่อเป็นสถานีทวนสัญญาณบนอวกาศ โดย AMSAT ได้ออกแบบและสร้างดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น โดยมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า OSCARs ซึ่งย่อมาจาก Orbiting Satellite Carrying Amateur Radio ดาวเทียมวิทยุสมัครเล่นหลายดวงที่อยู่บนอวกาศได้รับการออกแบบและสร้างโดยมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีดาวเทียมวิทยุสมัครเล่นหลายดวงสร้างขึ้นเพื่อการทดลอง ซึ่งดาวเทียมวิทยุสมัครเล่นของประเทศไทยดวงแรกชื่อว่า JAISAT-1

ดาวเทียมทวนสัญญาณนั้น มีความแตกต่างจากสถานีทวนสัญญาณอื่น ๆ คือการที่มันโคจรอยู่รอบโลกซึ่งโดยปกติสถานีทวนสัญญาณจะตั้งอยู่บนภาคพื้นดินบนผิวโลก โดยประเภทที่เยอะที่สุดประกอบด้วย ลิเนียร์ทรานสปอนเดอร์ สถานีทวนสัญญาณแบบข้ามย่านความถี่ และรูปแบบดิจิพิเตอร์ (Digipeater)

ลิเนียร์ทรานสปอนเดอร์

ลิเนียร์ทรานสปอนเดอร์ (Linear transponders) เป็นการทวนสัญญาณที่มักจะถูกใช้งานกับดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น โดยปกติจะใช้ช่วงกว้างระหว่าง 20 ถึง 800 kHz ซ้ำจากย่านความถี่หนึ่ง ไปสู่อีกย่านความถี่หนึ่งแบบเชิงเส้น ซึ่งในเชิงเทคนิคการทวนสัญญาณรูปแบบนี้เหมาะกับการสื่อสารแบบ SSB และแบบ คลื่นต่อเนื่อง (CW)

ระบบการจัดเก็บและส่งต่อ

ระบบการจัดเก็บและส่งต่อ (Store-and-forward systems) เป็นระบบทวนสัญญาณอีกประเภทหนึ่ง ที่ไม่ได้รับและทวนสัญญาณข้อมูลส่งต่อในทันที แต่เป็นการรับสัญญาณและส่งสัญญาณซ้ำออกไปในความถี่เดียวกัน ข้อความเดียวกันหลังจากการหน่วงเวลาสั้น ๆ อาจไม่ถูกนิยามว่าเป็นสถานีทวนสัญญาณตามกฎหมายบางประเทศ ซึ่งมีกฎหมายเฉพาะในการกำกับดูแลสถานีประเภทนี้

  • การทวนสัญญาณแบบซิมเพล็กซ์ (Simplex repeater) รู้จักกันในชื่อ รีพีทเตอร์นกแก้ว เป็นรูปแบบการใช้รับส่งสัญญาณตัวเดียว และเครื่องบันทึกเสียง โดยจะบันทึกทุกอย่างที่ส่งมาตามระยะเวลาที่กำหนด (ประมาณ 30 ปีหรือน้อยกว่า) หลังจากนั้นจึงเล่นเครื่องบันทึกเสียงข้อมูลที่ได้รับมาดังกล่าวออกไปในความถี่เดียวกัน
  • ดิจิพิเตอร์ (Digipeater) เป็นการทวนสัญญาณแบบวิทยุแพ็คเก็ตซึ่งเป็นข้อมูลการสื่อสารระหว่าคอมพิวเตอร์ด้วยกันเอง (สำหรับ DIGItal rePEATER) มักจะใช้ในกิจกรรมและโหมดต่าง ๆ เช่น วิทยุแพ็คเก็ต ระบบรายงานแพ็คเก็จอัตโนมัติ (APRS), โหมดข้อมูลดีจิทัลของ D-STAR โหมดดิจิทัลเชิงพาณิชย์ อาทิ มาตรฐานวิทยุเคลื่อนที่ดิจิทัล (DMR) มาตรฐาน P25 และ NXDN ซึ่งบางโหมดเป็นการสื่อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์ และมีการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต
  • สถานีทวนสัญญาณ SSTV เป็นสถานีที่ใช้ในการทวนสัญญาณของ SSTV (slow-scan television) ซึ่งจะมาพร้อมกับตัวรับสัญญาณเฮชเอฟหรือวีเอชเอฟ และคอมพิวเตอร์ที่มีการ์ดเสียง ใช้ในการทำหน้าที่เป็นตัวถอดรหัสของ SSTV โดยนักวิทยุสมัครเล่นสามารถใช้การทวนสัญญาณ SSTV ในการและเปลี่ยนรูปภาพกัน หากทั้งสองสถานีไม่สามารถแลกเปลี่ยนรูปภาพกัน สถานีทวนสัญญาณ SSTV จะช่วยในการทวนสัญญาณอีกครั้ง

เครือข่ายการทวนสัญญาณ

สถานีทวนสัญญาณอาจจะเชื่อมโยงเข้าด้วยกันเพื่อสร้างระบบเครือข่ายของสถานีทวนสัญญาณ เมื่อสถานีทวนสัญญาณสถานีหนึ่งถูกเข้ารหัสโดยได้รับสัญญาณที่กำหนด สถานีทวนสัญญาณอื่น ๆ ก็จะทำงานและถ่ายทอดสัญญาณเดียวกัน โดยเชื่อมต่อผ่านวิทยุ ซึ่งมักจะแตกต่างจากความถี่ในการส่งสัญญาณ บางระบบสามารถเปิดการใช้งานได้โดยตัวผู้ใช้เอง ผ่านการเข้ารหัส DTMF (Dual-tone multi-frequency signaling) เพื่อใช้งานคุณสมบัติต่าง ๆ ของระบบเครือข่าย โดยระบบดังกล่าวช่วยให้ระบบการทวนสัญญาณมีขนาดที่กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ทำให้สามารถสื่อสารถึงกันได้แม้จะอยู่ห่างกันหลายร้อยกิโลเมตร มักใช้ในการสื่อสารระดับภูมิภาค อาทิ เครือข่าย Skywarn ที่ใช้ในการรายงานสภาพอากาศที่เลวร้ายผ่านเครือข่ายการทวนสัญญาณ ซึ่งผู้ใช้งานจะทราบดีกว่าช่องความถี่ใด ใช้ในการรับฟังและรายงานพื้นที่ใด

การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต

สถานีทวนสัญญาณสามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้โดยใช้วอยซ์โอเวอร์ไอพี (VoIP) เป็นวิธีในการเชื่อมต่อกับสถานีทวนสัญญาณที่อยู่ห่างไกล ที่ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านสัญญาณวิทยุวีเอชเอฟและยูเอชเอฟ สำหรับโปรโตคอลที่เป็นที่นิยมในการใช้งานในปัจจุบันประกอบไปด้วย D-STAR, เอ็กโคลิงก์, IRLP, WIRES และ eQSO. โดยโปรตอคอลเหล่านี้ยังสามารถส่งและรับหมายเลขผู้ใช้ และข้อมูลการติดต่อ ทำให้สามารถเลือกที่จะพูดคุยกับนักวิทยุเฉพาะคน หรือเฉพาะกลุ่มได้

สถานีทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย

 
เสาโทรคมนาคมที่ติดตั้งสายอากาศของสถานีทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่นกรุงเทพมหานคร บริเวณที่ทำการ กสทช. (ศูนย์สายลม HS0AB)

สถานีทวนสัญญาณวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย อยู่ภายใต้การกำหนดหลักเกฑณ์และมาตรฐานโดย กสทช. ซึ่งเป็นหน่วยงานในการกำกับดูแลการใช้ความถี่

ความถี่สถานีทวนสัญญาณทั้งหมดของวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย ประกอบไปด้วย 26 ช่องสัญญาณ โดยแบ่งใช้งานตามพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดละ 1 ความถี่ ยกเว้นบางจังหวัดที่มีภูมิประเทศที่เป็นอุปสรรค์ต่อการติดต่อสื่อสาร อาจจะพิจารณาตั้งสถานีเพิ่ม โดยจังหวัดที่อยู่ติดกันจะใช้ช่องสัญญาณที่ต่างกันเพื่อป้องกันการรบกวนระหว่างสถานีทวนสัญญาณ รวมถึงมีการเข้ารหัส CTCSS (เข้ารหัสโทน) เพื่อป้องกันการรบกวนกันระหว่างคู่ช่องสัญญาณเดียวกัน

นอกจากนี้ยังมีใช้งานทั้งระบบอนาล็อก และระบบดิจิทัล อาทิ ระบบ D-Star ระบบ DMR

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตและกำกับดูแลกิจการวิทยุสมัครเล่น. เล่มที่ 131 ตอนพิเศษ 137 ง, วันที่ 23 กรกฎาคม 2557, หน้า 20 (www.ratchakitcha.soc.go.th)
  2. การจัดการความรู้ Knowledge Management: KM หมวดที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (www.communications.police.go.th)
  3. "W8IRA/R" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  4. "นี่คืออีกหนึ่งตัวอย่างของ "ความพร้อม ในการติดต่อสื่อสาร" - Amateur Radio Emergency Communications/AREC". Facebook.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  5. "VHF & up Bandplanning | International Amateur Radio Union (IARU)" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  6. "Region 3 Band Plan | International Amateur Radio Union (IARU)" (PDF) (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  7. "Band Plan". www.arrl.org (ภาษาอังกฤษ).
  8. "RSGB 2022 Band Plans". rsgb.services.
  9. "แบนด์แพลนวิทยุสมัคเล่น 2560 (ใหม่ล่าสุด)". www.suratwifi.com.
  10. E20ae (2016-11-20). "ชมรมวิทยุสมัครเล่น E20AE Clubstation: ความถี่สถานีทวนสัญญาณและโทนในแต่ละพื้นที่". ชมรมวิทยุสมัครเล่น E20AE Clubstation.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  11. "ถามเรื่องแร่บังคับความถี่ครับ". www.hamsiam.com.
  12. "How to Use Autopatch on Your Ham Radio Repeater". dummies (ภาษาอังกฤษ).
  13. "RAST - CTCSS Tone". www.rast.or.th.
  14. Hs2jfw (2015-12-27). "HS2JFW HAM Radio Blog: เข้าใจ CTCSS หรือ โทนสเควแบบง่าย ๆ". HS2JFW HAM Radio Blog.
  15. "Repeater ระบบ vox วิธีการทำงาน และ วิธีการดัดแปลงเพื่อไปใช้งานภายในบ้าน(UPDATE)". www.hamsiam.com.
  16. "SvxLink". SourceForge (ภาษาอังกฤษ).
  17. "ติดตั้งสายอากาศรีพีทเตอร์ยังไงครับ". www.hamsiam.com.
  18. "รีพิตเตอร์สายอากาศต้นเดียว". www.ubmthai.com.
  19. "ครอสแบนด์รีพีทเตอร์คืออะไร". www.hamsiam.com.
  20. "SCARCS". scarcs.ca.
  21. "Top 10 Best Cross Band Repeater Radio in 2022 Buying Guide" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  22. "10 Best Cross Band Repeater Radios Reviewed & Rated 2022". Hamtronics (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2022-04-01.
  23. "Ham TV - Amateur Television". www.hamtv.com.
  24. "Brookdale Amateur Television Repeater System Home Page". www.qsl.net.
  25. "VK3RTV ATV Repeater Pictures". www.vk3rtv.com.
  26. "Amateur television - Radio Society of Great Britain - Main Site : Radio Society of Great Britain – Main Site". rsgb.org.
  27. E20ae (วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2562). "ชมรมวิทยุสมัครเล่น E20AE Clubstation: ดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น JAISAT-1 ขึ้นสู่อวกาศ". ชมรมวิทยุสมัครเล่น E20AE Clubstation. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  28. E20ae (2017-08-29). "ชมรมวิทยุสมัครเล่น E20AE Clubstation: ลิเนียร์ทรานสปอนเดอร์คืออะไร". ชมรมวิทยุสมัครเล่น E20AE Clubstation.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  29. "วงจรรีพีทเตอร์นกแก้ว Simplex Repeate". www.electcircuitz.com.
  30. "E20EHQ/AB3NB :: The Radio Amateur Radio". pioneer.netserv.chula.ac.th.
  31. "SSTV & FSTV info". www.martellotowergroup.com.
  32. US Department of Commerce, NOAA. "SKYWARN". www.weather.gov (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  33. "RAST - Repeater". www.rast.or.th.
  34. ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตและกำกับดูแลกิจการวิทยุสมัครเล่น (ฉบับที่ 2). เล่มที่ 134 ตอนพิเศษ 185 ง, วันที่ 19 กรกฎาคม 2560, หน้า 35. (www.nbtc.go.th)
  35. "ความถี่รีพีทเตอร์แต่ละจังหวัดทั้ง 9 เขต – ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นและอาสาบรรเทาภัย".
  36. "RAST - Digital voice". www.rast.or.th.

สถาน, ทวนส, ญญาณว, ทย, สม, ครเล, งกฤษ, amateur, radio, repeater, อสถาน, ทย, สม, ครเล, นท, ดต, งเคร, องว, ทย, สำหร, บร, บส, ญญาณจากคล, นความถ, หน, แล, วส, งออกไปย, งอ, กคล, นความถ, เด, ยวก, หร, อต, างคล, นความถ, ภายใต, กฎระเบ, ยบและกต, กาของประเทศหร, อภ, ภาคน, . sthanithwnsyyanwithyusmkhreln xngkvs Amateur radio repeater khuxsthaniwithyusmkhrelnthitidtngekhruxngwithyusahrbrbsyyancakkhlunkhwamthihnung aelwsngxxkipyngxikkhlunkhwamthiediywkn hruxtangkhlunkhwamthi 1 phayitkdraebiybaelaktikakhxngpraethshruxphumiphakhnn idkahnd ephuxephimrayakarsngsyyanwithyucakxupkrnthimikalngsngtaihsamarthtidtxsuxsaridiklmakkhun aenwkhiddngklawmikhwamkhlaykhlungkbsthanithwnsyyanthiichodyhnwynganphakhrth 2 aelaexkchn sungmihlkkarthanganechnediywknkarthangankhxngsthanithwnsyyan sahrbsthanithwnsyyanwithyusmkhrelnnn mkcaxyuphayitkarduaelkhxngklumnkwithyusmkhrelninthxngthinn odyepidihichnganidsahrbnkwithyusmkhrelnthukkhn inbangkhrngxacmikarechuxmoyngsthanithwnsyyanwithyusmkhrelnhlayaehngekhadwykn rwmthungechuxmtxkbokhrngkhayxunphaynxk ephuxihkarsuxsarmikhwamkhrxbkhlumphunthiidkwangyingkhun 3 sunginpraethsithyidmikarthdlxngechuxmoyngrabbsthanithwnsyyaninekht 7 khxng ksthch aelarabbexkokhlingkinwnwithyusmkhrelnolk ph s 2565 thaihmiphunthikhrxbkhluminkarsuxsarthung 5 cnghwd 4 enuxha 1 khwamthi 2 karichngan 3 xupkrninkarthwnsyyan 4 praephthsthanithwnsyyan 4 1 sthanithwnsyyanaebbthwip 4 2 sthanithwnsyyanaebbkhamyankhwamthi 4 3 sthanithwnsyyanwithyusmkhrelnothrthsn 4 4 dawethiymthwnsyyan 4 5 lieniyrthranspxnedxr 4 6 rabbkarcdekbaelasngtx 5 ekhruxkhaykarthwnsyyan 5 1 karechuxmtxxinetxrent 6 sthanithwnsyyanwithyusmkhrelninpraethsithy 7 xangxingkhwamthi aekikhkhwamthithiichnganinkarthwnsyyanwithyusmkhrelnnnswnihycaxyuinchwngkhxngwiexchexf yankhwamthi 6 emtr 50 54 MHz 5 yankhwamthi 2 emtr 144 148 MHz 6 yankhwamthi 1 25 emtr 222 225 MHz 7 aelachwngyuexchexf yankhwamthi 70 esntiemtr 430 440 MHz 6 aelasamarthichnganidkbthukkhukhwamthithisungkwa 28 MHz aelainbangphunthiichyankhwamthi 33 esntiemtr 902 928 MHz 7 aelayankhwamthi 23 esntiemtr 1 24 1 3 GHz 6 inkarthwnsyyan odyinaetlapraethsnn mikdhmayaelaraebiybinkarichngankhlunkhwamthithiaetktangknip echn inshrthxemrika yankhwamthi 2 emtrkhux 144 148 MHz 7 inpraethsxngkvsaelaswnihykhxngshphaphyuorpichngankhwamthi 144 146 MHz 8 inkhnathipraethsithyichkhwamthi 144 147 MHz 9 sahrbkhwamthithiichinkarthwnsyyannncaeriykwa khwamthirb aelakhwamthisng odyinthangptibtinncamirayahangknkhngthi inshrthxemrikannyankhwamthi 2 emtr kharayahangmatrthankhux 600 kHz 0 6 MHz swninpraethsithycaichinrupaebbkhxngduephlks 600 kHz khuxemuxeraxxkxakas ekhruxngsngwithyukhxngeracasngipthikhwamthithitakwachxngthitngiwrbfng 600 kHz emuxipthungsthanithwnsyyan rabbcanaipxxkxakasxikkhrnginkhwamthithisungkwaphakhsngcakerakhux 600 kHz sungepnchxngkhxngsthanithwnsyyansungmibukhkhlxunhruxbukhkhlthieratxngkarcatidtxsuxsardwyrbfngxyu 10 inxditsmythiwithyusuxsarthukkhwbkhumdwyaerbngkhbkhwamthi 11 khukhwamthisthanithwnsyyanthuktngkhaiwthichwngthaykhxngkhwamthisng tamdwykhwamthirb ody 34 94 hmaykhwamwa syyancathuksngphankhwamthi 146 34 MHz aelarbfngidthikhwamthi 146 94 MHz inkhnathisthanithwnsyyancathuktngkhainthisthangthitrngknkhamkn khuxkhwamthirb 146 34 MHz aelakhwamthisng 146 94 MHztngaetplaythswrrs 1970 epntnma ph s 2513 idmikarichnganwithyusuxsaraebbsngekhraahkhwamthithithukkhwbkhumkarthanganodyimokhropressesxr thaihsamarthichnganaelaaeykkhwamthiodykahndihepnkhamatrthan xathi karbxkthisthangkhxngkarepliynaeplngkhwamthiinrupaebbkhxng epnkarephimkhwamthiinkarsng aela inkarldkhwamthiinkarsng odykahndtamkhamatrthaninkarichngankhwamthinn echn 145 625 khakhwamthilb hmaykhwamwa khwamthisngkhux 145 6250 MHz khwamthirbkhux 145 0250 MHz sungmikhwamthitakwa 600 kHz swninithyniymaecngdwykhwamthi aelalngthaydwy duephlks 600 sungepnkhamatrthankhxngpraethsithy 10 karichngan aekikhintangpraethsnn sthanithwnsyyansamarthechuxtxxtonmtikbsayothrsphthphunthanaelaekhruxkhayothrsphthphunthanephuxothrsphthxxkcakwithyusuxsarthimipumkd odyihbrikarkbsmachikkhxngklumhruxchmrmechphaaklum 12 nxkcaknisthanithwnsyyanwithyuswnihymikarpxngknkarekhathungdwyrhskhwbkhum CTCSS 13 hruxthikhnithyeriykwa othn 14 ephuxpxngknimihthukrbkwnodysyyanwithyuxun aelasthanikhangekhiyngthimikhwamthiiklhruxtrngkn nkwithyubangkhnichrabbkarekharhsdicithlxun thieriykwa DCS DCG hrux DPL ekhruxnghmaykarkhakhxngomotorla inchumchnnkwithyusmkhrelnhlayaehng sthanithwnsyyannnklayepnehmuxnsthanthindhmayhlkinkarxxkxakasinaetlaphunthi odyechphaainchwngewlakhxngkarkhbrth inchwngechaaelachwngbay inchwngeynxaccaikarrayngansphaphxakas hruxkhawsarsatharnatang inkrnichukechinhruxphyphibtitang sthanithwnsyyannnchwyechuxmtxkarsuxsarthicaepninphunthithihangiklaelarabbsuxsarhlkimsamarthichkaridxupkrninkarthwnsyyan aekikh rabbthwnsyyanwithyusmkhrelnthiprakxbdwy rabbthwnsyyanyankhwamthi 70 esntiemtr rabbthwnsyyandicithlyankhwamthi 2 emtraelaxinetxrentektewy iGate xupkrnphunthaninkarthwnsyyanprakxbipdwyekhruxngrbwithyuyanexfexmthiichnganinkhwamthihnung aelaekhruxngsngwithyuyanexfexminchwngkhwamthiediywkn aelaechuxmtxekhruxngwithyuthngsxngtwekhadwykn emuxekhruxngrbwithyuidrbkhxkhwamekhama kcathaythxdesiyngnnkcathukkdkhiyaelathaythxdsyyanesiyngnnxikkhrngxxkxakasxxkipihidyin 15 inkarthwnsyyannn caepncatxngmixupkrninkarkhwbkhumkarthwnsyyan samarthepnidthngxupkrnaebbhardaewr hruxichnganphansxftaewrkid 16 xupkrnkhwbkhuminkarthwnsyyannnmkcamixupkrninkarcbewlainkarxxkxakas ephuxtdkarechuxmtxkhxngsyyanthisngmaxxkxakasnanekinip odyechphaainklumthiichinkarsuxsarinsthankarnchukechin mkcatngkhaihsamarthxxkxakasidkhrnglaimekin 30 winathiinkarthaythxdkhxmul odyinklumxun xacichewla 3 nathihruxnankwann xupkrninkarcbewlacamikarerimtnihmhlkcakkarhyudphkchwngsn hlngkarsngsyyanxxkxakasaetlakhrng aelainhlay rabbcamikarsngesiyngbibetuxnephuxaecngwarabbiderimtnihmaelaihbrikarxikkhrngpraephthsthanithwnsyyan aekikhsthanithwnsyyanaebbthwip aekikh sthanithwnsyyanaebbthwip epnkarthwnsyyanphayinyankhwamthiediywkn hruxyankhwamthiiklekhiyngkn odythwnsyyanthukxyangthithuksngmathngsyyanesiyngaebbexfexmphsmmakbkhlunkhwamthi odyichsayxakas 2 xn 17 xnaerksahrbphakhrb xnthisxngsahrbphakhsng hruxkaraeykphakhsngaelaphakhrbinsayxakastnediywaebbduephlks 18 karichnganaebbduephlksepnkarichnganxupkrnthipxngknimihkalngsngthisungkhxngphakhsngklbsyyancakphakhrbkhxngsthanithwnsyyan chwyihichekhruxngrbsng 2 ekhruxngsamarthichsayxakasintnediywknid niymtidtnginkarthwnsyyanyankhwamthi 2 emtrkbkhwamthithisxngbnyan 440 MHz inkaraebngpnkarichnganbnesaxakasthitidtngsayxakasephiyngtnediywsthanithwnsyyanswnihycaichkarkhwbkhumrayaiklphankarichothnesiyngbnchxngkhwamthisahrbkhwbkhumrabb sthanithwnsyyanaebbkhamyankhwamthi aekikh sthanithwnsyyanaebbkhamyankhwamthi Cross band repeaters epnkarthwnsyyanohmdechphaabnyankhwamthihnungipyngohmdechphaabnxikyankhwamthihnungthiaetktangcakphakhsng 19 withidngklawthaihrabbmikhwamsbsxnthinxylng karthwnsyyanaebbnithaihsamarthrbaelasngkhxmulinewlaediywkndwysayxakastnediyw ephuxhlikeliyngpyhaaelakhwamsbsxninkarthwnsyyanyankhwamthiediywkn 20 inekhruxngrbsngwithyuaebbhlayyankhwamthibangekhruxngsamarthichnganephuxthwnsyyanaebbkhamyankhwamthiid 21 22 sthanithwnsyyanwithyusmkhrelnothrthsn aekikh sthanithwnsyyanwithyusmkhrelnothrthsn Amateur television ATV ichinkarsngsyyanwidioxaebbekhluxnihwetmrupaebbsungchwngkhwamthithiichngannncaaetktangkniptamaetlapraethskahndinpraethsshrthxemrikannkahndinrupaebbkhxngkarthwnsyyankhamkhwamthi odymiphakhrbinyankhwamthi 33 hrux 23 esntiemtr aelakhwamthisnginkhwamthi 421 25 MHz hruxinbangkhrngthi 426 25 MHz inyankhwamthi 70 esntiemtr 23 khwamthiinphakhsngehlanitrngknkbkhwamthiekhebilthiwimatrthan 24 chxngthi 57 aela 58 thaihikhrthimiothrthsnxnalxkaebbexnthiexssi samarthrbchmidodyimtxngichxupkrnechphaainkarrbnxkcakniyngmiyngmikarthwnsyyanwithyusmkhrelnothrthsnaebbdicithl 25 digital amateur TV thisngsyyanwidioxinrupaebbdicithltammatrthankaraephrsyyanphaphdicithlphandawethiymdwykarklasyyan enuxngcakichchwngkhwamthithiaekhbaelakarsuyesiysyyanthisung odywithyusmkhrelnothrthsnaebbdicithlepnthiniyminyuorp 26 xnenuxngmacakkhwamphrxmkhxngxupkrninkaraephrsyyanphaphdicithlphandawethiym dawethiymthwnsyyan aekikh dawethiymwithyusmkhreln micudprasngkhephuxepnsthanithwnsyyanbnxwkas ody AMSAT idxxkaebbaelasrangdawethiymwithyusmkhreln odymichuxeriykxikxyanghnungwa OSCARs sungyxmacak Orbiting Satellite Carrying Amateur Radio dawethiymwithyusmkhrelnhlaydwngthixyubnxwkasidrbkarxxkaebbaelasrangodymhawithyalytang thwolk nxkcakniyngmidawethiymwithyusmkhrelnhlaydwngsrangkhunephuxkarthdlxng sungdawethiymwithyusmkhrelnkhxngpraethsithydwngaerkchuxwa JAISAT 1 27 dawethiymthwnsyyannn mikhwamaetktangcaksthanithwnsyyanxun khuxkarthimnokhcrxyurxbolksungodypktisthanithwnsyyancatngxyubnphakhphundinbnphiwolk odypraephththieyxathisudprakxbdwy lieniyrthranspxnedxr 28 sthanithwnsyyanaebbkhamyankhwamthi aelarupaebbdiciphietxr Digipeater lieniyrthranspxnedxr aekikh lieniyrthranspxnedxr Linear transponders epnkarthwnsyyanthimkcathukichngankbdawethiymwithyusmkhreln odypkticaichchwngkwangrahwang 20 thung 800 kHz sacakyankhwamthihnung ipsuxikyankhwamthihnungaebbechingesn 28 sunginechingethkhnikhkarthwnsyyanrupaebbniehmaakbkarsuxsaraebb SSB aelaaebb khluntxenuxng CW rabbkarcdekbaelasngtx aekikh rabbkarcdekbaelasngtx Store and forward systems epnrabbthwnsyyanxikpraephthhnung thiimidrbaelathwnsyyankhxmulsngtxinthnthi aetepnkarrbsyyanaelasngsyyansaxxkipinkhwamthiediywkn khxkhwamediywknhlngcakkarhnwngewlasn xacimthukniyamwaepnsthanithwnsyyantamkdhmaybangpraeths sungmikdhmayechphaainkarkakbduaelsthanipraephthni karthwnsyyanaebbsimephlks Simplex repeater ruckkninchux riphithetxrnkaekw 29 epnrupaebbkarichrbsngsyyantwediyw aelaekhruxngbnthukesiyng odycabnthukthukxyangthisngmatamrayaewlathikahnd praman 30 pihruxnxykwa hlngcaknncungelnekhruxngbnthukesiyngkhxmulthiidrbmadngklawxxkipinkhwamthiediywkn diciphietxr Digipeater epnkarthwnsyyanaebbwithyuaephkhektsungepnkhxmulkarsuxsarrahwakhxmphiwetxrdwyknexng sahrb DIGItal rePEATER mkcaichinkickrrmaelaohmdtang echn withyuaephkhekt rabbraynganaephkhekcxtonmti 30 APRS ohmdkhxmuldicithlkhxng D STAR ohmddicithlechingphanichy xathi matrthanwithyuekhluxnthidicithl DMR matrthan P25 aela NXDN sungbangohmdepnkarsuxsaraebbfulduephlks aelamikarechuxmtxkbxinetxrent sthanithwnsyyan SSTV epnsthanithiichinkarthwnsyyankhxng SSTV slow scan television sungcamaphrxmkbtwrbsyyanehchexfhruxwiexchexf 31 aelakhxmphiwetxrthimikardesiyng ichinkarthahnathiepntwthxdrhskhxng SSTV odynkwithyusmkhrelnsamarthichkarthwnsyyan SSTV inkaraelaepliynrupphaphkn hakthngsxngsthaniimsamarthaelkepliynrupphaphkn sthanithwnsyyan SSTV cachwyinkarthwnsyyanxikkhrngekhruxkhaykarthwnsyyan aekikhsthanithwnsyyanxaccaechuxmoyngekhadwyknephuxsrangrabbekhruxkhaykhxngsthanithwnsyyan emuxsthanithwnsyyansthanihnungthukekharhsodyidrbsyyanthikahnd sthanithwnsyyanxun kcathanganaelathaythxdsyyanediywkn odyechuxmtxphanwithyu sungmkcaaetktangcakkhwamthiinkarsngsyyan bangrabbsamarthepidkarichnganidodytwphuichexng phankarekharhs DTMF Dual tone multi frequency signaling ephuxichngankhunsmbtitang khxngrabbekhruxkhay odyrabbdngklawchwyihrabbkarthwnsyyanmikhnadthikwangkhwangmakyingkhun thaihsamarthsuxsarthungknidaemcaxyuhangknhlayrxykiolemtr mkichinkarsuxsarradbphumiphakh xathi ekhruxkhay Skywarn 32 thiichinkarrayngansphaphxakasthielwrayphanekhruxkhaykarthwnsyyan sungphuichngancathrabdikwachxngkhwamthiid ichinkarrbfngaelaraynganphunthiid karechuxmtxxinetxrent aekikh sthanithwnsyyansamarthechuxmtxxinetxrentidodyichwxysoxewxrixphi VoIP epnwithiinkarechuxmtxkbsthanithwnsyyanthixyuhangikl thiimsamarthtidtxidphansyyanwithyuwiexchexfaelayuexchexf sahrboprotkhxlthiepnthiniyminkarichnganinpccubnprakxbipdwy D STAR exkokhlingk IRLP WIRES aela eQSO odyoprtxkhxlehlaniyngsamarthsngaelarbhmayelkhphuich aelakhxmulkartidtx thaihsamartheluxkthicaphudkhuykbnkwithyuechphaakhn hruxechphaaklumidsthanithwnsyyanwithyusmkhrelninpraethsithy aekikh esaothrkhmnakhmthitidtngsayxakaskhxngsthanithwnsyyanwithyusmkhrelnkrungethphmhankhr briewnthithakar ksthch sunysaylm HS0AB sthanithwnsyyanwithyusmkhrelninpraethsithy xyuphayitkarkahndhlkekthnaelamatrthanody ksthch sungepnhnwynganinkarkakbduaelkarichkhwamthi 1 khwamthisthanithwnsyyanthnghmdkhxngwithyusmkhrelninpraethsithy prakxbipdwy 26 chxngsyyan 33 34 odyaebngichngantamphunthitang thwpraeths cnghwdla 1 khwamthi ykewnbangcnghwdthimiphumipraethsthiepnxupsrrkhtxkartidtxsuxsar xaccaphicarnatngsthaniephim 35 odycnghwdthixyutidkncaichchxngsyyanthitangknephuxpxngknkarrbkwnrahwangsthanithwnsyyan 33 rwmthungmikarekharhs CTCSS ekharhsothn ephuxpxngknkarrbkwnknrahwangkhuchxngsyyanediywkn 13 nxkcakniyngmiichnganthngrabbxnalxk 33 aelarabbdicithl 36 xathi rabb D Star rabb DMRxangxing aekikh 1 0 1 1 rachkiccanuebksa prakaskhnakrrmkarkickarkracayesiyng kickarothrthsn aelakickarothrkhmnakhmaehngchati eruxng hlkeknthkarxnuyataelakakbduaelkickarwithyusmkhreln elmthi 131 txnphiess 137 ng wnthi 23 krkdakhm 2557 hna 20 www ratchakitcha soc go th karcdkarkhwamru Knowledge Management KM hmwdthi 4 twchiwdthi 11 radbkhwamsaerckhxngkarphthnakhunphaphkarbriharcdkarphakhrth PMQA pingbpraman ph s 2553 sanknganethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsar www communications police go th W8IRA R phasaxngkvsaebbxemrikn nikhuxxikhnungtwxyangkhxng khwamphrxm inkartidtxsuxsar Amateur Radio Emergency Communications AREC Facebook a href E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web html title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk VHF amp up Bandplanning International Amateur Radio Union IARU phasaxngkvsaebbxemrikn 6 0 6 1 6 2 Region 3 Band Plan International Amateur Radio Union IARU PDF phasaxngkvsaebbxemrikn a href E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web html title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk 7 0 7 1 7 2 Band Plan www arrl org phasaxngkvs RSGB 2022 Band Plans rsgb services aebndaephlnwithyusmkheln 2560 ihmlasud www suratwifi com 10 0 10 1 E20ae 2016 11 20 chmrmwithyusmkhreln E20AE Clubstation khwamthisthanithwnsyyanaelaothninaetlaphunthi chmrmwithyusmkhreln E20AE Clubstation a href E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web html title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk thameruxngaerbngkhbkhwamthikhrb www hamsiam com How to Use Autopatch on Your Ham Radio Repeater dummies phasaxngkvs 13 0 13 1 RAST CTCSS Tone www rast or th Hs2jfw 2015 12 27 HS2JFW HAM Radio Blog ekhaic CTCSS hrux othnsekhwaebbngay HS2JFW HAM Radio Blog Repeater rabb vox withikarthangan aela withikarddaeplngephuxipichnganphayinban UPDATE www hamsiam com SvxLink SourceForge phasaxngkvs tidtngsayxakasriphithetxryngingkhrb www hamsiam com riphitetxrsayxakastnediyw www ubmthai com khrxsaebndriphithetxrkhuxxair www hamsiam com SCARCS scarcs ca Top 10 Best Cross Band Repeater Radio in 2022 Buying Guide phasaxngkvsaebbxemrikn 10 Best Cross Band Repeater Radios Reviewed amp Rated 2022 Hamtronics phasaxngkvsaebbxemrikn 2022 04 01 Ham TV Amateur Television www hamtv com Brookdale Amateur Television Repeater System Home Page www qsl net VK3RTV ATV Repeater Pictures www vk3rtv com Amateur television Radio Society of Great Britain Main Site Radio Society of Great Britain Main Site rsgb org E20ae wnxngkharthi 9 krkdakhm ph s 2562 chmrmwithyusmkhreln E20AE Clubstation dawethiymwithyusmkhreln JAISAT 1 khunsuxwkas chmrmwithyusmkhreln E20AE Clubstation a href E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web html title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin date help 28 0 28 1 E20ae 2017 08 29 chmrmwithyusmkhreln E20AE Clubstation lieniyrthranspxnedxrkhuxxair chmrmwithyusmkhreln E20AE Clubstation a href E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web html title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk wngcrriphithetxrnkaekw Simplex Repeate www electcircuitz com E20EHQ AB3NB The Radio Amateur Radio pioneer netserv chula ac th SSTV amp FSTV info www martellotowergroup com US Department of Commerce NOAA SKYWARN www weather gov phasaxngkvsaebbxemrikn 33 0 33 1 33 2 RAST Repeater www rast or th rachkiccanuebksa prakaskhnakrrmkarkickarkracayesiyng kickarothrthsn aelakickarothrkhmnakhm eruxng hlkeknthkarxnuyataelakakbduaelkickarwithyusmkhreln chbbthi 2 elmthi 134 txnphiess 185 ng wnthi 19 krkdakhm 2560 hna 35 www nbtc go th khwamthiriphithetxraetlacnghwdthng 9 ekht chmrmnkwithyusmkhrelnaelaxasabrrethaphy RAST Digital voice www rast or th ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sthanithwnsyyanwithyusmkhreln amp oldid 10100184, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม