fbpx
วิกิพีเดีย

สะพานพระราม 6

สะพานพระราม 6 (อังกฤษ: Rama VI Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเชื่อมระหว่างแขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กับแขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร

สะพานพระราม 6
สะพานพระราม 6 ในปี พ.ศ. 2551
(ก่อนการสร้างสะพานขนานทางรถไฟ)
เส้นทางทางรถไฟสายใต้
ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
ที่ตั้งเขตบางซื่อ, เขตบางพลัด
ชื่อทางการสะพานพระราม 6
เหนือน้ำสะพานพระราม 7
ท้ายน้ำสะพานทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
ข้อมูลจำเพาะ
ความยาว442.08 เมตร
ความกว้าง10 เมตร
ความสูง10 เมตร
จำนวนช่วง5
จำนวนตอม่อ6
Load limit15-20 ตัน
ประวัติศาสตร์
วันเริ่มสร้างธันวาคม พ.ศ. 2465
วันสร้างเสร็จธันวาคม พ.ศ. 2469
วันเปิด1 มกราคม พ.ศ. 2469
12 ธันวาคม พ.ศ. 2496 (หลังบูรณะ)
สะพานขนานสะพานพระราม 6

ข้อมูลตัวสะพาน

สะพานสร้างตามแบบ Cantilever ประกอบด้วยสะพานเหล็ก 5 ช่วง ส่วนหนึ่งเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กให้รถยนต์ทุกชนิดผ่าน อีกส่วนหนึ่งเป็นทางรถไฟ พร้อมทางเดินเท้า 2 ด้าน ตัวสะพานมีความยาว 442.08 เมตร กว้าง 10 เมตร สูงจากระดับน้ำทะเลถึง 10 เมตร ดังนั้นเรือขนาดธรรมดาสามารถลอดผ่านได้

ปัจจุบันสะพานพระราม 6 ปิดการจราจรส่วนที่เป็นถนน เมื่อมีการก่อสร้าง สะพานพระราม 7 ขึ้นเป็นสะพานคู่ขนาน แล้วนำส่วนที่เคยเป็นถนนแปรสภาพเป็นทางรถไฟ ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของทางคู่ช่วง ชุมทางบางซื่อ - นครปฐม สำเร็จเมื่อปี พ.ศ. 2546 แม้กระนั้นก็ตาม เวลาใช้งานจริงต้องให้รถไฟแล่นผ่านไปครั้งละขบวน เพื่อป้องกันไม่ให้สะพานทะลายลงมาเพราะรับน้ำหนักเกินพิกัด

สะพานพระราม 6 เป็นสะพานเหล็กโครงทรัสรองรับทางรถไฟข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ระหว่างสถานีชุมทางบางซื่อ กับ สถานีบางบำหรุ ในทางรถไฟสายใต้ (แยกพระราม 6) โครงสร้างของสะพานมีลักษณะสมมาตรตามแนวยาว ประกอบด้วย

  • ตะม่อ (Pier) รองรับตัวสะพาน จำนวน 6 ตะม่อ (Pier) คือ ตะม่อ (Pier) A , B , C , D , E และ F
  • ความยาวช่วงสะพานระหว่างตะม่อแต่ละช่วงโดยประมาณเป็น 77 , 84 , 120 , 84 และ 77 เมตร ตามลำดับ รวมความยาวทั้งสิ้นโดยประมาณ 442 เมตร
  • ตัวสะพานเป็นสะพานเหล็กโครงทรัส (Truss) มีจำนวน 5 Truss คือ Truss A , B , C , D และ E โดยที่ Truss A และ E เป็น Simple Truss , Truss B และ D เป็น Anchor Truss และ Truss C เป็น Suspended Truss

เนื่องจากสะพานพระราม 6 เป็นสะพานซึ่งถูกออกแบบให้มีทางรถยนต์ขนานคู่ไปกับทางรถไฟมีผลให้ขนาดหน้าตัดของชิ้นส่วนโครงทรัสทั้ง 2 ฝั่งไม่เท่ากัน โดยขนาดหน้าตัดของชิ้นส่วนโครงทรัสฝั่งทางรถไฟ (Railway Side) จะมีขนาดใหญ่กว่าโครงทรัสฝั่งทางรถยนต์ (Highway Side) ต่อมาการรถไฟแห่งประเทศไทยได้ดำเนินการทุบรื้อทางรถยนต์ขนานคู่ไปกับทางรถไฟบนสะพานออกไป และได้ดำเนินการเสริมกำลัง (Strengthening) โครงทรัสฝั่งทางรถยนต์ (Highway Side) เสริมกำลัง Stringer และ Floor Beam (Cross Girder) อีกทั้ง ติดตั้ง Stringer และวางทางรถไฟทางคู่เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งทางแทนทางรถยนต์ขนานคู่ไปกับทางรถไฟเดิม

เมื่อปี พ.ศ. 2544 จากการวิเคราะห์และประเมินความแข็งแรงของโครงสร้างสะพานพระราม 6 โดยกิจการร่วมค้า บริษัท เคทีเอ็ม เครน และบริษัท จีทีแอนด์อาร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ปรากฏตามรายงาน “รายงานการตรวจสอบและประเมินสภาพโครงสร้างสะพานพระราม 6 โครงการปรับปรุงตรวจสอบและประเมินสภาพสะพานพระราม 6 โดยกิจการร่วมค้า เคทีเอ็ม เครน-จีทีแอนด์อาร์ เสนอการรถไฟแห่งประเทศไทย เมื่อเดือนสิงหาคม 2544” ใช้วิธีการประเมินความแข็งแรงของโครงสร้างสะพานโดยวิธีการ Working Stress Method ตามมาตรฐานของ AREMA (American Railway Engineering and Maintenance-of-Way Association) Manual for Railway Engineering , 2003 Volume 2 CHAPTER 15 Steel Structures Part 7 Existing Bridges , Section 7.3 Rating for Existing Bridges. พบว่า

  1. น้ำหนักบรรทุกชนิด DL.15 หรือ น้ำหนักกดเพลา 15 ตัน วิ่งขบวนรถเพียงทางเดียวทั้ง 2 ทาง (ทางเดิมและทางใหม่) และวิ่งขบวนรถพร้อมกันทั้ง 2 ทาง โครงสร้างสะพานสามารถรับ น้ำหนักขบวนรถได้ อย่างปลอดภัย
  2. น้ำหนักบรรทุกชนิด DL.16 หรือ น้ำหนักกดเพลา 16 ตัน วิ่งขบวนรถเพียงทางเดียวบนทางเดิมหรือทางใหม่ โครงสร้างสะพานสามารถรับ น้ำหนักขบวนรถได้ อย่างปลอดภัย หากวิ่งขบวนรถพร้อมกันทั้ง 2 ทาง มีบางชิ้นส่วนของโครงสร้างไม่สามารถรับ น้ำหนักได้ จำเป็นต้องเสริมกำลัง
  3. น้ำหนักบรรทุกชนิด U.20 หรือ น้ำหนักกดเพลา 20 ตัน วิ่งขบวนรถเพียงทางเดียวบนทางเดิม โครงสร้างสะพานสามารถรับน้ำหนักขบวนรถได้ อย่างปลอดภัย หากวิ่งขบวนรถพร้อมกันทั้ง 2 ทาง มีบางชิ้นส่วนของโครงสร้างไม่สามารถรับ น้ำหนักได้ จำเป็นต้องเสริมกำลัง
ภาพมุมกว้างของสะพานพระราม 6

ประวัติ

สะพานพระราม 6 เป็นสะพานรถไฟข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาสะพานแรกของประเทศไทย ลงนามในสัญญาก่อสร้าง เมื่อ เมษายน พ.ศ. 2465 เริ่มการก่อสร้างเมื่อ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2465 วางหีบพระฤกษ์เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2466 โดย กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเชื่อมทางรถไฟฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาให้ติดต่อกัน โดยให้บริษัท เล เอตาบริดจ์มองต์ ไตเต ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้รับเหมา เนื่องจากชนะการประมูลโดยอาศัยค่าเงินฟรังก์ฝรั่งเศสที่อ่อนตัว (1 บาทแลกได้ 5 ฟรังก์) เมื่อเปรียบเทียบกับเงินปอนด์อังกฤษที่ผูกติดกับทองคำ (1 ปอนด์แลกได้ 11 บาท) ในเวลานั้นเงินบาทสยามผูกติดกับเงินปอนด์อังกฤษด้วย โดยค่าก่อสร้างเท่ากับ 2,714,113.30 บาท

สะพานสร้างเสร็จในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2469 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่าสะพานพระราม 6 ซึ่งหมายถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 และโปรดเกล้าฯ ประกอบพิธีเปิดสะพานให้ขบวนรถไฟเดินผ่านข้ามเป็นปฐมฤกษ์ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2469 (นับอย่างปัจจุบันต้องปี พ.ศ. 2470 แล้ว) ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยใช้รถจักรไอน้ำ " บอลด์วิน " ล้อแบบแปซิฟิก หมายเลข 226 ทำขบวนเสด็จ

ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 สะพานได้ถูกกองทัพสหรัฐและอังกฤษทิ้งระเบิดอย่างหนัก ในที่สุดช่วงกลางสะพานขาดเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 และได้ซ่อมแซมใหม่โดยบริษัทดอร์แมนลอง (ผู้รับเหมาจากประเทศอังกฤษที่เคยประมูลการก่อสร้างสะพานพระราม 6 แต่แพ้การประมูลเพราะค่าเงินปอนด์แข็งเกินไป) และบริษัทคริสเตียนนี แอนด์ นีลเส็น (ไทย) จำกัด (ผู้รับเหมาเดนมาร์กที่ภายหลังได้เป็นผู้รับเหมาไทยเต็มตัวเมื่อปี พ.ศ. 2535 เพราะย้ายฐานมาเมืองไทย มีสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นผู้ถือหุ้นสำคัญ) ในระหว่าง พ.ศ. 2493 - 2496 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดสะพานพระราม 6 หลังจากซ่อมแซมแล้ว เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2496 โดยใช้รถจักรดีเซลไฟฟ้า " ซูลเซอร์ " หมายเลข 562 ทำขบวนเสด็จ

อ้างอิง

Bangkok Tourist Division (2004). "RAMA VI BRIDGE @ bangkoktourist.com". คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-12-10. สืบค้นเมื่อ 2008-01-06.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ สะพานพระราม 6
    • ภาพถ่ายดาวเทียมจากวิกิแมเปีย หรือกูเกิลแมปส์
    • แผนที่จากมัลติแมป หรือโกลบอลไกด์
    • ภาพถ่ายทางอากาศจากเทอร์ราเซิร์ฟเวอร์

พิกัดภูมิศาสตร์: 13°48′47″N 100°30′57″E / 13.813108°N 100.515826°E / 13.813108; 100.515826

ดูเพิ่ม

สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน
เหนือน้ำ
สะพานพระราม 7
 
สะพานพระราม 6
 
ท้ายน้ำ
สะพานทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
 

สะพานพระราม, งกฤษ, rama, bridge, เป, นสะพานข, ามแม, ำเจ, าพระยาเช, อมระหว, างแขวงบางซ, เขตบางซ, บแขวงบางอ, เขตบางพล, กร, งเทพมหานคร, ในป, 2551, อนการสร, างสะพานขนานทางรถไฟ, เส, นทางทางรถไฟสายใต, ามแม, ำเจ, าพระยาท, งเขตบางซ, เขตบางพล, ดช, อทางการเหน, อน, ำสะพา. saphanphraram 6 xngkvs Rama VI Bridge epnsaphankhamaemnaecaphrayaechuxmrahwangaekhwngbangsux ekhtbangsux kbaekhwngbangxx ekhtbangphld krungethphmhankhrsaphanphraram 6saphanphraram 6 inpi ph s 2551 kxnkarsrangsaphankhnanthangrthif esnthangthangrthifsayitkhamaemnaecaphrayathitngekhtbangsux ekhtbangphldchuxthangkarsaphanphraram 6ehnuxnasaphanphraram 7thaynasaphanthangphiesssaysrirch wngaehwnrxbnxkkrungethphmhankhrkhxmulcaephaakhwamyaw442 08 emtrkhwamkwang10 emtrkhwamsung10 emtrcanwnchwng5canwntxmx6Load limit15 20 tnprawtisastrwnerimsrangthnwakhm ph s 2465wnsrangesrcthnwakhm ph s 2469wnepid1 mkrakhm ph s 246912 thnwakhm ph s 2496 hlngburna saphankhnansaphanphraram 6 enuxha 1 khxmultwsaphan 2 prawti 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxun 5 duephimkhxmultwsaphan aekikhsaphansrangtamaebb Cantilever prakxbdwysaphanehlk 5 chwng swnhnungepnthnnkhxnkritesrimehlkihrthyntthukchnidphan xikswnhnungepnthangrthif phrxmthangedinetha 2 dan twsaphanmikhwamyaw 442 08 emtr kwang 10 emtr sungcakradbnathaelthung 10 emtr dngnneruxkhnadthrrmdasamarthlxdphanidpccubnsaphanphraram 6 pidkarcracrswnthiepnthnn emuxmikarkxsrang saphanphraram 7 khunepnsaphankhukhnan aelwnaswnthiekhyepnthnnaeprsphaphepnthangrthif inthanathiepnswnhnungkhxngthangkhuchwng chumthangbangsux nkhrpthm saercemuxpi ph s 2546 aemkrannktam ewlaichngancringtxngihrthifaelnphanipkhrnglakhbwn ephuxpxngknimihsaphanthalaylngmaephraarbnahnkekinphikdsaphanphraram 6 epnsaphanehlkokhrngthrsrxngrbthangrthifkhamaemnaecaphraya rahwangsthanichumthangbangsux kb sthanibangbahru inthangrthifsayit aeykphraram 6 okhrngsrangkhxngsaphanmilksnasmmatrtamaenwyaw prakxbdwy tamx Pier rxngrbtwsaphan canwn 6 tamx Pier khux tamx Pier A B C D E aela F khwamyawchwngsaphanrahwangtamxaetlachwngodypramanepn 77 84 120 84 aela 77 emtr tamladb rwmkhwamyawthngsinodypraman 442 emtr twsaphanepnsaphanehlkokhrngthrs Truss micanwn 5 Truss khux Truss A B C D aela E odythi Truss A aela E epn Simple Truss Truss B aela D epn Anchor Truss aela Truss C epn Suspended Trussenuxngcaksaphanphraram 6 epnsaphansungthukxxkaebbihmithangrthyntkhnankhuipkbthangrthifmiphlihkhnadhnatdkhxngchinswnokhrngthrsthng 2 fngimethakn odykhnadhnatdkhxngchinswnokhrngthrsfngthangrthif Railway Side camikhnadihykwaokhrngthrsfngthangrthynt Highway Side txmakarrthifaehngpraethsithyiddaeninkarthubruxthangrthyntkhnankhuipkbthangrthifbnsaphanxxkip aelaiddaeninkaresrimkalng Strengthening okhrngthrsfngthangrthynt Highway Side esrimkalng Stringer aela Floor Beam Cross Girder xikthng tidtng Stringer aelawangthangrthifthangkhuephimkhunxikhnungthangaethnthangrthyntkhnankhuipkbthangrthifedimemuxpi ph s 2544 cakkarwiekhraahaelapraeminkhwamaekhngaerngkhxngokhrngsrangsaphanphraram 6 odykickarrwmkha bristh ekhthiexm ekhrn aelabristh cithiaexndxar xinetxrenchnaenl cakd prakttamrayngan rayngankartrwcsxbaelapraeminsphaphokhrngsrangsaphanphraram 6 okhrngkarprbprungtrwcsxbaelapraeminsphaphsaphanphraram 6 odykickarrwmkha ekhthiexm ekhrn cithiaexndxar esnxkarrthifaehngpraethsithy emuxeduxnsinghakhm 2544 ichwithikarpraeminkhwamaekhngaerngkhxngokhrngsrangsaphanodywithikar Working Stress Method tammatrthankhxng AREMA American Railway Engineering and Maintenance of Way Association Manual for Railway Engineering 2003 Volume 2 CHAPTER 15 Steel Structures Part 7 Existing Bridges Section 7 3 Rating for Existing Bridges phbwa nahnkbrrthukchnid DL 15 hrux nahnkkdephla 15 tn wingkhbwnrthephiyngthangediywthng 2 thang thangedimaelathangihm aelawingkhbwnrthphrxmknthng 2 thang okhrngsrangsaphansamarthrb nahnkkhbwnrthid xyangplxdphy nahnkbrrthukchnid DL 16 hrux nahnkkdephla 16 tn wingkhbwnrthephiyngthangediywbnthangedimhruxthangihm okhrngsrangsaphansamarthrb nahnkkhbwnrthid xyangplxdphy hakwingkhbwnrthphrxmknthng 2 thang mibangchinswnkhxngokhrngsrangimsamarthrb nahnkid caepntxngesrimkalng nahnkbrrthukchnid U 20 hrux nahnkkdephla 20 tn wingkhbwnrthephiyngthangediywbnthangedim okhrngsrangsaphansamarthrbnahnkkhbwnrthid xyangplxdphy hakwingkhbwnrthphrxmknthng 2 thang mibangchinswnkhxngokhrngsrangimsamarthrb nahnkid caepntxngesrimkalng phaphmumkwangkhxngsaphanphraram 6prawti aekikhsaphanphraram 6 epnsaphanrthifkhamaemnaecaphrayasaphanaerkkhxngpraethsithy lngnaminsyyakxsrang emux emsayn ph s 2465 erimkarkxsrangemux eduxnthnwakhm ph s 2465 wanghibphravksemuxwnthi 6 emsayn ph s 2466 ody krmphrakaaephngephchrxkhroythin inrchsmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw ephuxechuxmthangrthiffngtawnxxkaelafngtawntkkhxngaemnaecaphrayaihtidtxkn odyihbristh el extabridcmxngt itet praethsfrngessepnphurbehma enuxngcakchnakarpramulodyxasykhaenginfrngkfrngessthixxntw 1 bathaelkid 5 frngk emuxepriybethiybkbenginpxndxngkvsthiphuktidkbthxngkha 1 pxndaelkid 11 bath inewlannenginbathsyamphuktidkbenginpxndxngkvsdwy odykhakxsrangethakb 2 714 113 30 bathsaphansrangesrcineduxn thnwakhm ph s 2469 inrchsmyphrabathsmedcphrapkeklaecaxyuhw aelaidthrngphrakrunaoprdekla phrarachthannamwasaphanphraram 6 sunghmaythungphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhwrchkalthi 6 aelaoprdekla prakxbphithiepidsaphanihkhbwnrthifedinphankhamepnpthmvksinwnthi 1 mkrakhm ph s 2469 nbxyangpccubntxngpi ph s 2470 aelw sungepnwnkhlaywnphrarachsmphphinphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw odyichrthckrixna bxldwin lxaebbaepsifik hmayelkh 226 thakhbwnesdcinrahwangsngkhramolkkhrngthi 2 saphanidthukkxngthphshrthaelaxngkvsthingraebidxyanghnk inthisudchwngklangsaphankhademux 7 kumphaphnth ph s 2488 aelaidsxmaesmihmodybristhdxraemnlxng phurbehmacakpraethsxngkvsthiekhypramulkarkxsrangsaphanphraram 6 aetaephkarpramulephraakhaenginpxndaekhngekinip aelabristhkhrisetiynni aexnd nilesn ithy cakd phurbehmaednmarkthiphayhlngidepnphurbehmaithyetmtwemuxpi ph s 2535 ephraayaythanmaemuxngithy misanknganthrphysinswnphramhakstriyepnphuthuxhunsakhy inrahwang ph s 2493 2496 phrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedchesdcphrarachdaeninthrngepidsaphanphraram 6 hlngcaksxmaesmaelw emuxwnthi 12 thnwakhm ph s 2496 odyichrthckrdiesliffa sulesxr hmayelkh 562 thakhbwnesdcxangxing aekikhBangkok Tourist Division 2004 RAMA VI BRIDGE bangkoktourist com khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 12 10 subkhnemux 2008 01 06 aehlngkhxmulxun aekikhaephnthiaelaphaphthaythangxakaskhxng saphanphraram 6 phaphthaydawethiymcakwikiaemepiy hruxkuekilaemps aephnthicakmltiaemp hruxoklbxlikd phaphthaythangxakascakethxrraesirfewxrphikdphumisastr 13 48 47 N 100 30 57 E 13 813108 N 100 515826 E 13 813108 100 515826duephim aekikhsaphanphraram 7 sthanirthifbangsxnsaphankhamaemnaecaphrayainpccubnehnuxnasaphanphraram 7 saphanphraram 6 thaynasaphanthangphiesssaysrirch wngaehwnrxbnxkkrungethphmhankhr ekhathungcak https th wikipedia org w index php title saphanphraram 6 amp oldid 8961557, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม