fbpx
วิกิพีเดีย

การรับรู้

การรับรู้ หรือ สัญชาน (อังกฤษ: Perception จากคำภาษาละตินว่า perceptio) เป็นการจัดระเบียบ ระบุ และแปลผลข้อมูลจากประสาทสัมผัสเพื่อใช้เป็นแบบจำลองและเข้าใจข้อมูลหรือโลกรอบ ๆ ตัว

ลูกบาศก์เนกเกอร์และแจกันรูบินสามารถมองเห็น/รับรู้ได้มากกว่า 1 แบบ

การรับรู้ทุกอย่างจะต้องเกี่ยวกับสัญญาณประสาทที่ส่งไปยังระบบประสาท โดยสัญญาณก็จะเป็นผลของการเร้าระบบรับความรู้สึกทางกายภาพหรือทางเคมี ยกตัวอย่างเช่น การเห็นจะเกี่ยวกับแสงที่มากระทบจอตา การได้กลิ่นจะอำนวยโดยโมเลกุลที่มีกลิ่น และการได้ยินจะเกี่ยวกับคลื่นเสียง การรับรู้ไม่ใช่เป็นเพียงแค่การรับสัญญาณทางประสาทสัมผัสเฉย ๆ แต่จะได้รับอิทธิพลจากการเรียนรู้ ความทรงจำ ความคาดหวัง และการใส่ใจของบุคคลนั้น ๆ การรับรู้สามารถแบ่งเป็นสองส่วน คือ

  1. การแปลผลข้อมูลทางประสาทสัมผัส ซึ่งแปลข้อมูลดิบเป็นข้อมูลระดับสูงขึ้น (เช่น การดึงรูปร่างจากสิ่งที่เห็นเพื่อรู้จำวัตถุ)
  2. การแปลผลที่เชื่อมกับทัศนคติ ความคาดหวัง และความรู้ของบุคคล โดยได้อิทธิพลจากกลไกการเลือกเฟ้น (คือการใส่ใจ) สิ่งที่รับรู้

การรับรู้จะอาศัยการทำงานที่ซับซ้อนในระบบประสาท แต่โดยอัตวิสัยจะรู้สึกว่าไม่ได้ทำอะไร เพราะการแปลผลเช่นนี้เกิดขึ้นใต้จิตสำนึก ตั้งแต่การเริ่มสาขาจิตวิทยาเชิงทดลองในคริสต์ทศวรรษที่ 19 ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับรู้ได้ก้าวหน้าโดยใช้วิธีการศึกษารวมกันหลายอย่าง Psychophysics ได้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติทางกายภาพของข้อมูลประสาทสัมผัสต่าง ๆ กับการรับรู้ในเชิงปริมาณ ประสาทวิทยาศาสตร์เชิงรับความรู้สึก (Sensory neuroscience) ได้ศึกษากลไกทางสมองที่เป็นมูลฐานของการรับรู้ ระบบการรับรู้ยังสามารถศึกษาในเชิงคอมพิวเตอร์ คือโดยอาศัยข้อมูลที่ระบบแปลผล ส่วนปรัชญาในเรื่องการรับรู้ จะศึกษาขอบเขตที่ลักษณะทางประสาทสัมผัสต่าง ๆ เช่น เสียง กลิ่น และสี มีจริง ๆ โดยปรวิสัย ไม่ใช่มีแค่ในใจคือเป็นอัตวิสัยของคนที่รับรู้

แม้นักวิชาการจะได้มองประสาทสัมผัสว่าเป็นระบบรับข้อมูลเฉย ๆ แต่งานศึกษาเกี่ยวกับการแปลสิ่งเร้าผิดและภาพที่มองเห็นได้หลายแบบ ได้แสดงว่า ระบบการรับรู้ของสมองทำการอย่างแอคทีฟและภายใต้จิตสำนึกเพื่อเข้าใจสิ่งที่รับรู้ ยังเป็นเรื่องไม่ยุติว่า การรับรู้เป็นกระบวนการตรวจสอบสมมติฐานแบบต่าง ๆ มากแค่ไหน หรือว่าข้อมูลทางประสาทสัมผัสตามธรรมชาติสมบูรณ์พอที่จะไม่ต้องใช้กระบวนการนี้ในการรับรู้

ระบบการรับรู้ในสมองทำให้บุคคลสามารถเห็นโลกรอบ ๆ ตัวว่าเสถียร แม้ข้อมูลความรู้สึกปกติจะไม่สมบูรณ์และจะเปลี่ยนไปอยู่ตลอด สมองมนุษย์และสัตว์มีโครงสร้างโดยเฉพาะ ๆ และแต่ละส่วนจะประมวลข้อมูลความรู้สึกที่ต่างกัน โครงสร้างบางอย่างจัดเหมือนกับแผนที่รับความรู้สึก คือมีการใช้ผิวสมองเป็นผังแสดงลักษณะบางอย่างของโลก (เช่นใน Somatotopy) โครงสร้างโดยเฉพาะต่าง ๆ เหล่านี้จะเชื่อมต่อกันและมีอิทธิพลต่อกันและกัน ยกตัวอย่างเช่น กลิ่นจะมีอิทธิพลอย่างสูงต่อรสชาติ

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. "psychopathology", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (ปรัชญา, แพทยศาสตร์, ภาษาศาสตร์) สัญชาน, ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้
  2. Schacter, Daniel (2011). Psychology. Worth Publishers.
  3. Goldstein 2009, pp. 5-7
  4. Gregory 1987
  5. Bernstein, Douglas A. (2010-03-05). Essentials of Psychology. Cengage Learning. pp. 123–124. ISBN 978-0-495-90693-3. สืบค้นเมื่อ 2011-03-25.
  6. Fechner, Gustav Theodor (1860). Elemente der Psychophysik. Leipzig.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  7. DeVere, Ronald; Calvert, Marjorie (2010-08-31). Navigating Smell and Taste Disorders. Demos Medical Publishing. pp. 33–37. ISBN 978-1-932603-96-5. สืบค้นเมื่อ 2011-03-26.

แหล่งอ้างอิงอื่น ๆ

  • Goldstein, E. Bruce (2009). Sensation and Perception. Cengage Learning. ISBN 978-0-495-60149-4.CS1 maint: ref=harv (link)
  • Gregory, Richard L.; Zangwill, O. L. (1987). The Oxford Companion to the Mind. Oxford University Press. สืบค้นเมื่อ 2011-03-24.CS1 maint: ref=harv (link)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Arnheim, R. (1969). Visual Thinking. Berkeley: University of California Press.
  • Flanagan, J. R., & Lederman, S. J. (2001). "'Neurobiology: Feeling bumps and holes. News and Views", Nature, 412(6845) :389-91. (PDF)
  • Gibson, J. J. (1966). The Senses Considered as Perceptual Systems, Houghton Mifflin.
  • Gibson, J. J. (1987). The Ecological Approach to Visual Perception. Lawrence Erlbaum Associates.
  • Robles-De-La-Torre, G. (2006). "The Importance of the Sense of Touch in Virtual and Real Environments". IEEE Multimedia,13(3), Special issue on Haptic User Interfaces for Multimedia Systems, pp. 24-30. (PDF 2014-01-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน)
  • Theories of Perception 2006-12-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Several different aspects on perception
  • Richard L Gregory Theories of Richard. L. Gregory.
  • Comprehensive set of optical illusions, presented by Michael Bach.
  • Optical Illusions Examples of well-known optical illusions.

การร, บร, หร, ญชาน, งกฤษ, perception, จากคำภาษาละต, นว, perceptio, เป, นการจ, ดระเบ, ยบ, ระบ, และแปลผลข, อม, ลจากประสาทส, มผ, สเพ, อใช, เป, นแบบจำลองและเข, าใจข, อม, ลหร, อโลกรอบ, กบาศก, เนกเกอร, และแจก, นร, นสามารถมองเห, บร, ได, มากกว, แบบ, กอย, างจะต, องเก, . karrbru hrux sychan 1 xngkvs Perception cakkhaphasalatinwa perceptio epnkarcdraebiyb rabu aelaaeplphlkhxmulcakprasathsmphsephuxichepnaebbcalxngaelaekhaickhxmulhruxolkrxb tw 2 lukbaskenkekxraelaaecknrubinsamarthmxngehn rbruidmakkwa 1 aebb karrbruthukxyangcatxngekiywkbsyyanprasaththisngipyngrabbprasath odysyyankcaepnphlkhxngkarerarabbrbkhwamrusukthangkayphaphhruxthangekhmi 3 yktwxyangechn karehncaekiywkbaesngthimakrathbcxta karidklincaxanwyodyomelkulthimiklin aelakaridyincaekiywkbkhlunesiyng karrbruimichepnephiyngaekhkarrbsyyanthangprasathsmphsechy aetcaidrbxiththiphlcakkareriynru khwamthrngca khwamkhadhwng aelakarisickhxngbukhkhlnn 4 5 karrbrusamarthaebngepnsxngswn khux 5 karaeplphlkhxmulthangprasathsmphs sungaeplkhxmuldibepnkhxmulradbsungkhun echn kardungruprangcaksingthiehnephuxrucawtthu karaeplphlthiechuxmkbthsnkhti khwamkhadhwng aelakhwamrukhxngbukhkhl odyidxiththiphlcakklikkareluxkefn khuxkarisic singthirbrukarrbrucaxasykarthanganthisbsxninrabbprasath aetodyxtwisycarusukwaimidthaxair ephraakaraeplphlechnniekidkhunitcitsanuk 3 tngaetkarerimsakhacitwithyaechingthdlxnginkhristthswrrsthi 19 khwamekhaicekiywkbkarrbruidkawhnaodyichwithikarsuksarwmknhlayxyang 4 Psychophysics idaesdngkhwamsmphnthrahwangkhunsmbtithangkayphaphkhxngkhxmulprasathsmphstang kbkarrbruinechingpriman 6 prasathwithyasastrechingrbkhwamrusuk Sensory neuroscience idsuksaklikthangsmxngthiepnmulthankhxngkarrbru rabbkarrbruyngsamarthsuksainechingkhxmphiwetxr khuxodyxasykhxmulthirabbaeplphl swnprchyaineruxngkarrbru casuksakhxbekhtthilksnathangprasathsmphstang echn esiyng klin aelasi micring odyprwisy imichmiaekhinickhuxepnxtwisykhxngkhnthirbru 4 aemnkwichakarcaidmxngprasathsmphswaepnrabbrbkhxmulechy aetngansuksaekiywkbkaraeplsingeraphidaelaphaphthimxngehnidhlayaebb idaesdngwa rabbkarrbrukhxngsmxngthakarxyangaexkhthifaelaphayitcitsanukephuxekhaicsingthirbru 4 yngepneruxngimyutiwa karrbruepnkrabwnkartrwcsxbsmmtithanaebbtang makaekhihn hruxwakhxmulthangprasathsmphstamthrrmchatismburnphxthicaimtxngichkrabwnkarniinkarrbru 4 rabbkarrbruinsmxngthaihbukhkhlsamarthehnolkrxb twwaesthiyr aemkhxmulkhwamrusukpkticaimsmburnaelacaepliynipxyutlxd smxngmnusyaelastwmiokhrngsrangodyechphaa aelaaetlaswncapramwlkhxmulkhwamrusukthitangkn okhrngsrangbangxyangcdehmuxnkbaephnthirbkhwamrusuk khuxmikarichphiwsmxngepnphngaesdnglksnabangxyangkhxngolk echnin Somatotopy okhrngsrangodyechphaatang ehlanicaechuxmtxknaelamixiththiphltxknaelakn yktwxyangechn klincamixiththiphlxyangsungtxrschati 7 duephim aekikhprasathsmphnthaehngkarrbruxarmn aephriodeliy khwxeliy karcalxng Transsaccadic memoryechingxrrthaelaxangxing aekikh psychopathology sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 prchya aephthysastr phasasastr sychan khwamrusuk karrbru karkahndru Schacter Daniel 2011 Psychology Worth Publishers 3 0 3 1 Goldstein 2009 pp 5 7 4 0 4 1 4 2 4 3 4 4 Gregory 1987 5 0 5 1 Bernstein Douglas A 2010 03 05 Essentials of Psychology Cengage Learning pp 123 124 ISBN 978 0 495 90693 3 subkhnemux 2011 03 25 Fechner Gustav Theodor 1860 Elemente der Psychophysik Leipzig CS1 maint uses authors parameter link DeVere Ronald Calvert Marjorie 2010 08 31 Navigating Smell and Taste Disorders Demos Medical Publishing pp 33 37 ISBN 978 1 932603 96 5 subkhnemux 2011 03 26 aehlngxangxingxun aekikhGoldstein E Bruce 2009 Sensation and Perception Cengage Learning ISBN 978 0 495 60149 4 CS1 maint ref harv link Gregory Richard L Zangwill O L 1987 The Oxford Companion to the Mind Oxford University Press subkhnemux 2011 03 24 CS1 maint ref harv link aehlngkhxmulxun aekikhkhnhaekiywkb Perception ephimthiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy bthniyam cakwikiphcnanukrm sux cakkhxmmxns thrphyakrkareriyn cakwikiwithyaly xyphcn cakwikikhakhm khxkhwamtnchbb cakwikisxrs tara cakwikitaraArnheim R 1969 Visual Thinking Berkeley University of California Press Flanagan J R amp Lederman S J 2001 Neurobiology Feeling bumps and holes News and Views Nature 412 6845 389 91 PDF Gibson J J 1966 The Senses Considered as Perceptual Systems Houghton Mifflin Gibson J J 1987 The Ecological Approach to Visual Perception Lawrence Erlbaum Associates Robles De La Torre G 2006 The Importance of the Sense of Touch in Virtual and Real Environments IEEE Multimedia 13 3 Special issue on Haptic User Interfaces for Multimedia Systems pp 24 30 PDF Archived 2014 01 24 thi ewyaebkaemchchin Theories of Perception Archived 2006 12 23 thi ewyaebkaemchchin Several different aspects on perception Richard L Gregory Theories of Richard L Gregory Comprehensive set of optical illusions presented by Michael Bach Optical Illusions Examples of well known optical illusions bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title karrbru amp oldid 9559441, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม