fbpx
วิกิพีเดีย

อักษรของภาษาทาจิก

ภาษาทาจิกได้มีการเขียนสามแบบในประวัติศาสตร์ของภาษานี้ได้แก่ การเขียนด้วยอักษรอาหรับ (โดยเฉพาะอักษรเปอร์เซีย) การเขียนด้วยอักษรละติน และการเขียนด้วยอักษรซีริลลิก อักษรอะไรก็ได้ที่ใช้สำหรับเขียนภาษาทาจิกจะถูกเรียกว่าอักษรของภาษาทาจิก ซึ่งเขียนว่า алифбои тоҷикӣ ในอักษรซีริลลิก تاجیکی‎ ในอักษรอาหรับ และ alifboji toçikī ในอักษรละติน

การใช้อักษรที่ต่างกันนี้ขึ้นอยู่กับประวัติศาสตร์ของทาจิกสถาน โดยอักษรอาหรับได้ถูกใช้เป็นครั้งแรก และใช้อักษรละตินในเวลาถัดมา และใช้อักษรซีริลลิกหลังจากอักษรละตินท่ถูกใช้ในช่วงเวลาสั้น ๆ ซึ่งอักษรซีริลลิกนี้ก็ยังคงเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในทาจิกสถาน ซึ่งภาษาถิ่นบูโครีซึ่งพูดโดยชาวยิวบูโครีซึ่งดั้งเดิมใช้อักษรฮีบรู แต่ในปัจจุบันมักจะเขียนโดยใช้อักษรซีริลลิก

รูปแบบ

อักษรเปอร์เซีย

รูปแบบอักษรเปอร์เซียของทาจิก ซึ่งเป็นอักษรตระกูลเซมิติก เคยใช้เขียนภาษาทาจิกมาก่อน ในรูปแบบของภาษาทาจิกเหมือนกับอักษรอาหรับ ยกเว้น ا‎ (alef) ไม่มีสระเขียนอยู่ ถ้าต้องการแสดงสระให้ใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษร

รูปแบบอักษรเปอร์เซียของทาจิก
ذ د خ ح چ ج ث ت پ ب ا
/z/ /d/ /χ/ /h/ /tʃ/ /dʒ/ /s/ /t/ /p/ /b/ /ɔː/
غ ع ظ ط ض ص ش س ژ ز ر
/ʁ/ /ʔ/ /z/ /t/ /z/ /s/ /ʃ/ /s/ /ʒ/ /z/ /ɾ/
ی ه و ن م ل گ ک ف ق
/j/ /h/ /v/ /n/ /m/ /l/ /ɡ/ /k/ /f/ /q/

อักษรละติน

อักษรละตินถูกนำมาใช้หลังจากการปฏิวัติรัสเซียในปี 1917 เพื่ออำนวยความสะดวกในการเพิ่มความรู้และระยะทางจากอิทธิพลอิสลาม ในรูปแบบแรกของรูปแบบอักษรละตินของทาจิก พบได้แต่อักษรตัวเล็ก ในปี 1926-9 ได้มีการใช้รูปแบบที่แตกต่างกันเล็กน้อยโดยชาวยิวบูโครี ซึ่งเพิ่มสามอักษรที่ไม่มีในภาษาถิ่นอื่น ů, ə̧, และ ḩ.[1]

รูปแบบอักษรละตินของทาจิก
A a B ʙ C c Ç ç D d E e F f G g Ƣ ƣ H h I i
/æ/ /b/ /tʃ/ /dʒ/ /d/ /eː/ /f/ /ɡ/ /ʁ/ /h/ /i/
Ī ī J j K k L l M m N n O o P p Q q R r S s
/ˈi/ /j/ /k/ /l/ /m/ /n/ /ɔː/ /p/ /q/ /ɾ/ /s/
Ş ş T t U u Ū ū V v X x Z z Ƶ ƶ ʼ
/ʃ/ /t/ /u/ /ɵː/ /v/ /χ/ /z/ /ʒ/ /ʔ/

อักษรแปลก ๆ Ƣ เรียกว่า Gha ซึ่งใช้เขียนแทนเสียง /ɣ/ อักษรนี้สามารถเจอได้ในตัวอักษรเตอร์กที่พบบ่อยซึ่งพบเจอได้บ่อยในภาษาที่ไม่ใช่ภาษาสลาวิกในสหภาพโซเวียต ซึ่งใช้จนถึงช่วงท้ายของทศวรรษที่ 1930 อักษรละตินไม่ได้ใช้ในทุกวันนี้ แม้ว่าจะมีการนำมาใช้ในบางกลุ่มก็ตาม[2]

อักษรซีริลลิก

อักษรซีริลลิกได้เริ่มใช้โดยสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกในช่วงท้ายของทศวรรษที่ 1930 หลังจาก 1939 เนื้อหาที่ตีพิมพ์ในภาษาเปอร์เซียในตัวอักษรเปอร์เซียถูกห้ามจากประเทศ[3] ตัวอักษรด้านล่างนี้ได้เพิ่มเติมอักษร Щ และ Ы ในปี 1952

รูปแบบอักษรซีริลลิกของทาจิก
А а Б б В в Г г Ғ ғ Д д Е е Ё ё Ж ж З з И и Ӣ ӣ
/æ/ /b/ /v/ /ɡ/ /ʁ/ /d/ /eː/ /jɔː/ /ʒ/ /z/ /i/ /ˈi/
Й й К к Қ қ Л л М м Н н О о П п Р р С с Т т У у
/j/ /k/ /q/ /l/ /m/ /n/ /ɔː/ /p/ /ɾ/ /s/ /t/ /u/
Ӯ ӯ Ф ф Х х Ҳ ҳ Ч ч Ҷ ҷ Ш ш Ъ ъ Э э Ю ю Я я
/ɵː/ /f/ /χ/ /h/ /tʃ/ /dʒ/ /ʃ/ /ʔ/ /eː/ /ju/ /jæ/

นอกจากอักษรพวกนี้แล้ว ц, щ, และ ы สามารถพบได้ในคำยืม แม้ว่าจะถูกยกเลิกอย่างเป็นทางการในการปฏิรูปอักษรปี 1988 เช่นเดียวกับอักษร ь พร้อมกับการคัดค้านการใช้ของอักษรเหล่านี้ การปฏิรูปอักษรครั้งนี้ยังเปลี่ยนลำดับของตัวอักษรซึ่งขณะนี้ตัวอักษรที่มีเครื่องหมายกำกับตามอักษรที่ไม่มีเครื่องหมายพวกนี้ เช่น г, ғ และ к, қ[4] ซึ่งได้เรียงตามรูปแบบปัจจุบันตามนี้ а б в г ғ д е ё ж з и ӣ й к қ л м н о п р с т у ӯ ф х ҳ ч ҷ ш ъ э ю я ในปี 2010 ก็ได้มีการเสนอว่าจะเอา е ё ю я ออกด้วยเช่นกัน[5] อักษร е และ э ทำหน้าที่เหมือนกัน ยกเว้น э จะใช้เริ่มต้นคำเช่น Эрон, "อิหร่าน"

ในขณะที่เปลี่ยนเป็นอักษรซีริลลิก Ӷ ӷ ยังปรากฏหลายครั้งในตารางอักษรซีริลลิกของทาจิก[6]

อ้างอิง

  1. ^ Perry, J. R. (2005) A Tajik Persian Reference Grammar (Boston : Brill) p. 34
  2. ^ Perry, J. R. (2005) A Tajik Persian Reference Grammar (Boston : Brill) p. 35
  3. ^ Schlyter, B. N. (2003)
  4. ^ Perry, J. R. (2005) A Tajik Persian Reference Grammar (Boston : Brill) p. 36
  5. ^ Судьба «русских букв» в таджикском алфавите будет решаться
  6. ^ Ido, S. (2005) Tajik (München : Lincom GmbH) p. 8

กษรของภาษาทาจ, ภาษาทาจ, กได, การเข, ยนสามแบบในประว, ศาสตร, ของภาษาน, ได, แก, การเข, ยนด, วยอ, กษรอาหร, โดยเฉพาะอ, กษรเปอร, เซ, การเข, ยนด, วยอ, กษรละต, และการเข, ยนด, วยอ, กษรซ, ลล, กษรอะไรก, ได, ใช, สำหร, บเข, ยนภาษาทาจ, กจะถ, กเร, ยกว, งเข, ยนว, алифбои, тоҷ. phasathacikidmikarekhiynsamaebbinprawtisastrkhxngphasaniidaek karekhiyndwyxksrxahrb odyechphaaxksrepxresiy karekhiyndwyxksrlatin aelakarekhiyndwyxksrsirillik xksrxairkidthiichsahrbekhiynphasathacikcathukeriykwaxksrkhxngphasathacik sungekhiynwa alifboi toҷikӣ inxksrsirillik تاجیکی inxksrxahrb aela alifboji tociki inxksrlatinkarichxksrthitangknnikhunxyukbprawtisastrkhxngthaciksthan odyxksrxahrbidthukichepnkhrngaerk aelaichxksrlatininewlathdma aelaichxksrsirillikhlngcakxksrlatinththukichinchwngewlasn sungxksrsirilliknikyngkhngepnxksrthiichmakthisudinthaciksthan sungphasathinbuokhrisungphudodychawyiwbuokhrisungdngedimichxksrhibru aetinpccubnmkcaekhiynodyichxksrsirillik enuxha 1 rupaebb 1 1 xksrepxresiy 1 2 xksrlatin 1 3 xksrsirillik 2 xangxingrupaebb aekikhxksrepxresiy aekikh rupaebbxksrepxresiykhxngthacik sungepnxksrtrakulesmitik ekhyichekhiynphasathacikmakxn inrupaebbkhxngphasathacikehmuxnkbxksrxahrb ykewn ا alef immisraekhiynxyu thatxngkaraesdngsraihichekhruxnghmayesrimsthxksr rupaebbxksrepxresiykhxngthacik ذ د خ ح چ ج ث ت پ ب ا z d x h tʃ dʒ s t p b ɔː غ ع ظ ط ض ص ش س ژ ز ر ʁ ʔ z t z s ʃ s ʒ z ɾ ی ه و ن م ل گ ک ف ق j h v n m l ɡ k f q xksrlatin aekikh xksrlatinthuknamaichhlngcakkarptiwtirsesiyinpi 1917 ephuxxanwykhwamsadwkinkarephimkhwamruaelarayathangcakxiththiphlxislam inrupaebbaerkkhxngrupaebbxksrlatinkhxngthacik phbidaetxksrtwelk inpi 1926 9 idmikarichrupaebbthiaetktangknelknxyodychawyiwbuokhri sungephimsamxksrthiimmiinphasathinxun u e aela ḩ 1 rupaebbxksrlatinkhxngthacik A a B ʙ C c C c D d E e F f G g Ƣ ƣ H h I i ae b tʃ dʒ d eː f ɡ ʁ h i i i J j K k L l M m N n O o P p Q q R r S s ˈi j k l m n ɔː p q ɾ s S s T t U u u u V v X x Z z Ƶ ƶ ʼ ʃ t u ɵː v x z ʒ ʔ xksraeplk Ƣ eriykwa Gha sungichekhiynaethnesiyng ɣ xksrnisamarthecxidintwxksretxrkthiphbbxysungphbecxidbxyinphasathiimichphasaslawikinshphaphosewiyt sungichcnthungchwngthaykhxngthswrrsthi 1930 xksrlatinimidichinthukwnni aemwacamikarnamaichinbangklumktam 2 xksrsirillik aekikh xksrsirillikiderimichodysatharnrthsngkhmniymosewiytthacikinchwngthaykhxngthswrrsthi 1930 hlngcak 1939 enuxhathitiphimphinphasaepxresiyintwxksrepxresiythukhamcakpraeths 3 twxksrdanlangniidephimetimxksr Sh aela Y inpi 1952 rupaebbxksrsirillikkhxngthacik A a B b V v G g Ғ g D d E e Yo yo Zh zh Z z I i Ӣ ӣ ae b v ɡ ʁ d eː jɔː ʒ z i ˈi J j K k Қ k L l M m N n O o P p R r S s T t U u j k q l m n ɔː p ɾ s t u Ӯ ӯ F f H h Ҳ ҳ Ch ch Ҷ ҷ Sh sh E e Yu yu Ya ya ɵː f x h tʃ dʒ ʃ ʔ eː ju jae nxkcakxksrphwkniaelw c sh aela y samarthphbidinkhayum aemwacathukykelikxyangepnthangkarinkarptirupxksrpi 1988 echnediywkbxksr phrxmkbkarkhdkhankarichkhxngxksrehlani karptirupxksrkhrngniyngepliynladbkhxngtwxksrsungkhnanitwxksrthimiekhruxnghmaykakbtamxksrthiimmiekhruxnghmayphwkni echn g g aela k k 4 sungideriyngtamrupaebbpccubntamni a b v g g d e yo zh z i ӣ j k k l m n o p r s t u ӯ f h ҳ ch ҷ sh e yu ya inpi 2010 kidmikaresnxwacaexa e yo yu ya xxkdwyechnkn 5 xksr e aela e thahnathiehmuxnkn ykewn e caicherimtnkhaechn Eron xihran inkhnathiepliynepnxksrsirillik Ӷ ӷ yngprakthlaykhrngintarangxksrsirillikkhxngthacik 6 xangxing aekikh Perry J R 2005 A Tajik Persian Reference Grammar Boston Brill p 34 Perry J R 2005 A Tajik Persian Reference Grammar Boston Brill p 35 Schlyter B N 2003 Sociolinguistic Changes in Transformed Central Asian Societies Perry J R 2005 A Tajik Persian Reference Grammar Boston Brill p 36 Sudba russkih bukv v tadzhikskom alfavite budet reshatsya Ido S 2005 Tajik Munchen Lincom GmbH p 8ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xksrkhxngphasathacik amp oldid 7946179, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม