fbpx
วิกิพีเดีย

ฮาร์มอนิก

บทความนี้กล่าวถึงองค์ประกอบของสัญญาณเป็นคาบ สำหรับความหมายอื่น ดูที่ ฮาร์มอนิก (แก้ความกำกวม)

ฮาร์มอนิก (อังกฤษ: harmonic) เป็นสมาชิกอันใดอันหนึ่งก็ได้ของอนุกรมฮาร์มอนิก (harmonic series) ซึ่งเป็นอนุกรมแบบอนันต์และลู่ออก (divergent infinite series) ชื่อของมันมาจากแนวคิดเกี่ยวกับ overtone หรือฮาร์มอนิกที่เกิดในเครื่องดนตรี ซึ่งก็คือ ความยาวคลื่นของเสียง overtone จากสายเครื่องดนตรีหรือคอลัมน์อากาศในเครื่องดนตรี (เช่นในทูบา) ที่กำลังสั่น จะเป็นอนุพันธ์จากความยาวคลื่นมูลฐานของสายเครื่องดนตรี

จุดต่าง ๆ ของสายเครื่องดนตรีที่สั่นแล้วสร้างเสียงฮาร์มอนิก
การเขียนโน้ตดนตรีสำหรับเสียงฮาร์มอนิกตามธรรมชาติของเชลโล อันแรกตามเสียงที่ได้ยินซึ่งสามัญกว่า และอันที่สองตามที่กดด้วยนิ้วซึ่งอ่านตามเพื่อเล่นได้ง่ายกว่า

คำนี้ใช้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่มาจากประเทศตะวันตก รวมทั้งดนตรี ฟิสิกส์ สวนศาสตร์ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีวิทยุ และสาขาอื่น ๆ ซึ่งปกติจะใช้กับสัญญาณที่เกิดซ้ำ ๆ เช่นคลื่นรูปไซน์ ฮาร์มอนิกของคลื่นเช่นนี้ ก็คือคลื่นที่มีความถี่เป็นพหุคูณจำนวนเต็มของคลื่นดั้งเดิม โดยความถี่คลื่นดั้งเดิมจะเรียกว่า ความถี่มูลฐาน คลื่นดั้งเดิมนี้ก็เรียกได้ด้วยว่า ฮาร์มอนิกแรก โดยคลื่นที่มีความถี่สูงยิ่ง ๆ กว่านั้นจะเป็นฮาร์มอนิกที่สูงกว่า (higher harmonic) เนื่องจากฮาร์มอนิกทั้งหมดจะเป็นคาบตรงที่ความถี่มูลฐานด้วย ฮาร์มอนิกรวมกันทั้งหมดก็จะเป็นคาบที่ความถี่นั้นด้วย ยกตัวอย่างเช่น ถ้าความถี่มูลฐานอยู่ที่ 50 เฮิรตซ์ (Hz) ความถี่ของฮาร์มอนิกสูงกว่า 3 อันแรกก็จะอยู่ที่ 100 Hz (ฮาร์มอนิกที่สอง) 150 Hz (ฮาร์มอนิกที่สาม) 200 Hz (ฮาร์มอนิกที่สี่) และคลื่นอื่น ๆ ที่มีความถี่เป็นคาบที่ 50 Hz ด้วย

ในดนตรี แนวคิดเกี่ยวกับฮาร์มอนิกจะใช้ในเครื่องดนตรีแบบสายและแบบเป่า เพื่อสร้างเสียงโดยเฉพาะเพื่อให้เกิดเสียงที่สูงกว่า และในเครื่องดนตรีแบบสาย เพื่อให้ได้คุณสมบัติของเสียงโดยเฉพาะที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า tone colour (น้ำเสียง) ในเครื่องดนตรีแบบสาย นักดนตรีจะเล่นฮาร์มอนิกต่าง ๆ โดยแตะ (แต่ไม่ได้กดลงที่สายอย่างเต็มที่) ตรงจุดใดจุดหนึ่งโดยเฉพาะบนสายในขณะที่สร้างเสียง ไม่ว่าจะโดยดีดสายหรือสีเป็นต้น ซึ่งก็จะสร้างเสียงฮาร์มอนิก โดยจะฟังเป็นเสียงทุ้มแหลมที่มีความถี่สูงกว่าความถี่มูลฐานของสายนั้น


ศัพท์อังกฤษ

ฮาร์มอนิกตามธรรมชาติของไวโอลินที่สาย A

ตัวอย่างเป็นเสียงฮาร์มอนิก 16 ความถี่โดยใช้เสียงทุ้มแหลมรูปไซน์ทำโดยอิเล็กทรอนิกส์ เริ่มที่ความถี่มูลฐาน 110 Hz มีระยะครึ่งวินาทีแต่ละคลื่น ให้สังเกตว่าฮาร์มอนิกแต่ละคลื่นจะมีระดับสัญญาณเท่ากับของความถี่มูลฐาน แต่เสียงตัวอย่างฟังดูดังขึ้นเมื่อความถี่สูงขึ้น

หากมีปัญหาในการเล่นไฟล์เหล่านี้ ดูที่ วิธีใช้สื่อ

ฮาร์มอนิกอาจจะเรียกด้วยว่า overtones, partials, หรือ upper partials ความต่างระหว่างฮาร์มอนิกกับ overtone ก็คือ ฮาร์มอนิกหมายเอาโน้ตทั้งหมดในอนุกรมรวมทั้งความถี่มูลฐาน (เช่น สายกีตาร์ที่ไม่ได้กด) ส่วนคำว่า overtone หมายเอาเสียงในอนุกรมที่สูงกว่าความถี่มูลฐานเท่านั้น แม้ในวรรณกรรมดนตรีบางบริบท คำทั้งสามนี้อาจใช้เหมือน ๆ กัน

Partials, overtones, และฮาร์มอนิกส์

overtone เป็น partial ไหนก็ได้ที่สูงกว่า partial ต่ำสุดในเสียงประกอบ ความดังและความถี่ของ partial ต่าง ๆ ในเสียงประกอบจะกำหนดน้ำเสียง (timbre) ของเครื่องดนตรี ความคล้ายคลึงกันของคำว่า overtone และ partial ทำให้ใช้โดยความหมายเหมือนกันในบางบริบท แต่การนับลำดับจริง ๆ จะต่างกัน ซึ่งอาจทำให้สับสน ในกรณีพิเศษที่น้ำเสียงเครื่องดนตรี (timbre) ที่มี partial ต่าง ๆ เท่ากับอนุกรมฮาร์มอนิก (ดังที่พบในเครื่องสายและเครื่องเป่าโดยมาก) แทนที่จะมี partial ต่าง ๆ ซึ่งไม่เป็นฮาร์มอนิก (เช่น เครื่องตีที่ส่งเสียงสูงต่ำโดยมาก) ก็จะสะดวกเรียก partial ต่าง ๆ ซึ่งเป็นองค์ประกอบว่า เป็นฮาร์มอนิก แม้นี่จะไม่ถูกต้องโดยเทคนิค เพราะฮาร์มอนิกจะนับเหมือนกันแม้มีบางส่วนขาดหายไป (ดูเสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มี) แต่ partial และ overtone จะนับก็ต่อเมื่อมีเสียงจริง ๆ ตารางต่อไปนี้แสดงการใช้ชื่อ 3 อย่างนี้ (คือ partial, overtone, และฮาร์มอนิก) และวิธีการนับ (โดยสมมุติว่า ฮาร์มอนิกทั้งหมดมีจริง ๆ)

ความถี่ ลำดับ ชื่อ 1 ่ชื่อ 2 ชื่อ 3 รูปคลื่น รูปคลื่นในสื่อ
1 × f = 0440 Hz n = 1 partial ที่ 1 fundamental tone ฮาร์มอนิกที่ 1    
2 × f = 0880 Hz n = 2 partial ที่ 2 overtone ที่ 1 ฮาร์มอนิกที่ 2    
3 × f = 1320 Hz n = 3 partial ที่ 3 overtone ที่ 2 ฮาร์มอนิกที่ 3    
4 × f = 1760 Hz n = 4 partial ที่ 4 overtone ที่ 3 ฮาร์มอนิกที่ 4    

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Harmonics, partials and overtones from fundamental frequency *Discussion of Sciarrino's violin etudes and notation issues
  • Harmonics
  • Hear and see harmonics on a Piano
  1. "harmonic", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (คณิตศาสตร์) ฮาร์มอนิก

ฮาร, มอน, บทความน, กล, าวถ, งองค, ประกอบของส, ญญาณเป, นคาบ, สำหร, บความหมายอ, แก, ความกำกวม, งกฤษ, harmonic, เป, นสมาช, กอ, นใดอ, นหน, งก, ได, ของอน, กรม, harmonic, series, งเป, นอน, กรมแบบอน, นต, และล, ออก, divergent, infinite, series, อของม, นมาจากแนวค, ดเก,. bthkhwamniklawthungxngkhprakxbkhxngsyyanepnkhab sahrbkhwamhmayxun duthi harmxnik aekkhwamkakwm harmxnik 1 xngkvs harmonic epnsmachikxnidxnhnungkidkhxngxnukrmharmxnik harmonic series sungepnxnukrmaebbxnntaelaluxxk divergent infinite series chuxkhxngmnmacakaenwkhidekiywkb overtone hruxharmxnikthiekidinekhruxngdntri sungkkhux khwamyawkhlunkhxngesiyng overtone caksayekhruxngdntrihruxkhxlmnxakasinekhruxngdntri echninthuba thikalngsn caepnxnuphnthcakkhwamyawkhlunmulthankhxngsayekhruxngdntricudtang khxngsayekhruxngdntrithisnaelwsrangesiyngharmxnik karekhiynontdntrisahrbesiyngharmxniktamthrrmchatikhxngechlol xnaerktamesiyngthiidyinsungsamykwa aelaxnthisxngtamthikddwyniwsungxantamephuxelnidngaykwa khaniichinsakhawichatang thimacakpraethstawntk rwmthngdntri fisiks swnsastr syyanxielkthrxniks ethkhonolyiwithyu aelasakhaxun sungpkticaichkbsyyanthiekidsa echnkhlunrupisn harmxnikkhxngkhlunechnni kkhuxkhlunthimikhwamthiepnphhukhuncanwnetmkhxngkhlundngedim odykhwamthikhlundngedimcaeriykwa khwamthimulthan khlundngedimnikeriykiddwywa harmxnikaerk odykhlunthimikhwamthisungying kwanncaepnharmxnikthisungkwa higher harmonic enuxngcakharmxnikthnghmdcaepnkhabtrngthikhwamthimulthandwy harmxnikrwmknthnghmdkcaepnkhabthikhwamthinndwy yktwxyangechn thakhwamthimulthanxyuthi 50 ehirts Hz khwamthikhxngharmxniksungkwa 3 xnaerkkcaxyuthi 100 Hz harmxnikthisxng 150 Hz harmxnikthisam 200 Hz harmxnikthisi aelakhlunxun thimikhwamthiepnkhabthi 50 Hz dwyindntri aenwkhidekiywkbharmxnikcaichinekhruxngdntriaebbsayaelaaebbepa ephuxsrangesiyngodyechphaaephuxihekidesiyngthisungkwa aelainekhruxngdntriaebbsay ephuxihidkhunsmbtikhxngesiyngodyechphaathiphasaxngkvseriykwa tone colour naesiyng inekhruxngdntriaebbsay nkdntricaelnharmxniktang odyaeta aetimidkdlngthisayxyangetmthi trngcudidcudhnungodyechphaabnsayinkhnathisrangesiyng imwacaodydidsayhruxsiepntn sungkcasrangesiyngharmxnik odycafngepnesiyngthumaehlmthimikhwamthisungkwakhwamthimulthankhxngsaynnsphthxngkvs aekikhharmxnikkhxngiwoxlin source source harmxniktamthrrmchatikhxngiwoxlinthisay Aharmxnik 110x16 source source twxyangepnesiyngharmxnik 16 khwamthiodyichesiyngthumaehlmrupisnthaodyxielkthrxniks erimthikhwamthimulthan 110 Hz mirayakhrungwinathiaetlakhlun ihsngektwaharmxnikaetlakhluncamiradbsyyanethakbkhxngkhwamthimulthan aetesiyngtwxyangfngdudngkhunemuxkhwamthisungkhunhakmipyhainkarelniflehlani duthi withiichsuxharmxnikxaccaeriykdwywa overtones partials hrux upper partials khwamtangrahwangharmxnikkb overtone kkhux harmxnikhmayexaontthnghmdinxnukrmrwmthngkhwamthimulthan echn saykitarthiimidkd swnkhawa overtone hmayexaesiynginxnukrmthisungkwakhwamthimulthanethann aeminwrrnkrrmdntribangbribth khathngsamnixacichehmuxn kn Partials overtones aelaharmxniks aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidovertone epn partial ihnkidthisungkwa partial tasudinesiyngprakxb khwamdngaelakhwamthikhxng partial tang inesiyngprakxbcakahndnaesiyng timbre khxngekhruxngdntri khwamkhlaykhlungknkhxngkhawa overtone aela partial thaihichodykhwamhmayehmuxnkninbangbribth aetkarnbladbcring catangkn sungxacthaihsbsn inkrniphiessthinaesiyngekhruxngdntri timbre thimi partial tang ethakbxnukrmharmxnik dngthiphbinekhruxngsayaelaekhruxngepaodymak aethnthicami partial tang sungimepnharmxnik echn ekhruxngtithisngesiyngsungtaodymak kcasadwkeriyk partial tang sungepnxngkhprakxbwa epnharmxnik aemnicaimthuktxngodyethkhnikh ephraaharmxnikcanbehmuxnknaemmibangswnkhadhayip duesiyngkhwamthimulthanthiimmi aet partial aela overtone canbktxemuxmiesiyngcring tarangtxipniaesdngkarichchux 3 xyangni khux partial overtone aelaharmxnik aelawithikarnb odysmmutiwa harmxnikthnghmdmicring khwamthi ladb chux 1 chux 2 chux 3 rupkhlun rupkhluninsux1 f 0 440 Hz n 1 partial thi 1 fundamental tone harmxnikthi 1 2 f 0 880 Hz n 2 partial thi 2 overtone thi 1 harmxnikthi 2 3 f 1320 Hz n 3 partial thi 3 overtone thi 2 harmxnikthi 3 4 f 1760 Hz n 4 partial thi 4 overtone thi 3 harmxnikthi 4 aehlngkhxmulxun aekikhHarmonics partials and overtones from fundamental frequency Discussion ofSciarrino s violin etudes and notation issues Harmonics Hear and see harmonics on a Piano bthkhwamekiywkbwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy withyasastr bthkhwamekiywkbephlng dntri hrux ekhruxngdntriniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy dntri harmonic sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 khnitsastr harmxnikekhathungcak https th wikipedia org w index php title harmxnik amp oldid 7527522, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม