fbpx
วิกิพีเดีย

เซจิ โองาวะ

เซจิ โองาวะ (ญี่ปุ่น: 小川 誠二 โรมาจิ: Ogawa Seiji, เกิด 19 มกราคม ค.ศ. 1934 (พ.ศ. 2476)) เป็นนักค้นคว้าชาวญี่ปุ่น ที่รู้จักกันว่าเป็นผู้ค้นพบเทคนิคที่ใช้ใน fMRI (Functional Magnetic Resonance Imaging) ผู้ได้รับการนับถือว่า เป็นบิดาของการสร้างภาพสมองโดยกิจยุคสมัยใหม่ ผู้ได้ชี้ว่า ความเปลี่ยนแปลงของระดับออกซิเจนในโลหิต ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก จึงทำให้สามารถสร้างแผนภาพของโลหิต และเพราะเหตุนั้น ของเขตในสมองที่กำลังทำงาน แผนภาพนี้ส่องให้เห็นว่า เซลล์ประสาทกลุ่มไหนในสมองตอบสนองด้วยสัญญาณเคมีไฟฟ้า ในการทำงานของจิตใจ ดร. โองาวะ เป็นนักวิทยาศาสคร์คนแรกที่แสดงว่า การสร้างภาพสมองโดยกิจ ขึ้นอยู่กับสถานะออกซิเจนของโลหิตที่เรียกว่า ผลอาศัยระดับออกซิเจนในเลือด (Blood-oxygen-level dependent effect หรือ BOLD effect) วิธีนี้ต่อมาจึงเรียกว่า ค่าความต่างโบลด์ (BOLD contrast) fMRI ได้ถูกใช้เพื่อทำแผนผังของเขตสายตา เขตการได้ยิน เขตประสาทรับรู้ความรู้สึกในสมอง และเขตอื่น ๆ ที่มีหน้าที่ระดับสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป เช่นเขตที่รับรู้อารมณ์

เซจิ โองาวะ
小川 誠二
เซจิ โองาวะ กล่าวสุนทรพจน์ในการประชุม IBS Conference on Neuroimaging ซึ่งจัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยซุงคยุนกวาน ซูว็อน เกาหลีใต้ (2019)
เกิด19 มกราคม ค.ศ. 1934 (87 ปี)
โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
สัญชาติชาวญี่ปุ่น
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยโตเกียว
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
มีชื่อเสียงจากfMRI
รางวัลรางวัลญี่ปุ่น

ประสบการณ์อาชีพเบื้องต้น

ดร. เซจิ โองาวะ ได้รับการศึกษาในวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ในมหานครโตเกียว ได้รับปริญญาเอกวิชาเคมีจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด แล้วทำงานวิจัยเป็นเวลา 33 ปีเกี่ยวกับชีวฟิสิกส์ (biophysics) ที่เอทีแอนด์ที เบลล์ แล็บ (AT&T Bell Laboratories) ในเมืองเมอร์เร ฮิลล์ รัฐนิวเจอร์ซี มีตำแหน่งสุดท้ายเป็นบุคลากรดีเด่นของเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิค (Distinguished Member of the technical staff) ในปี ค.ศ. 2001 ดร. โองาวะได้เป็นผู้อำนวยการของแล็บโองาวะเพื่อการวิจัยหน้าที่ของสมอง (Ogawa Laboratories for Brain Function Research) ในโตเกียว และในปี ค.ศ. 2008 ดร. โองาวะได้เข้าทำงานร่วมกับ สถาบันวิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuroscience Research Institute) ของมหาวิทยาลัยกาชอนเพื่อเวชศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (Gachon University of Medicine and Science) ประเทศเกาหลี ในฐานะศาสตราจารย์ดีเด่น (Distinguished Professor) และผู้นำงานวิจัยเกี่ยวกับ fMRI ที่มีการใช้ระบบ MRI ขนาด 7.0 เทสลา รุ่นใหม่ ดร. โองาวะได้รับหลายรางวัลสำหรับผลงานในด้าน MRI และเป็นสมาชิกของสถานบันเวชศาสตร์ ซึ่งเป็นสถาบันหนึ่งของสถาบันวิทยาศาสตร์ประจำชาติ (National Academy of Sciences) และได้รับรางวัลญี่ปุ่น

fMRI

ดร. โองาวะได้ค้นพบหลักการที่ใช้ในการสร้างภาพของสมองโดยกิจและโดยสรีรภาพ โดยเฉพาะในสมองของมนุษย์ ได้สร้างเทคโนโลยีที่ต่อยอดจากการสร้างภาพโดย MRI โดยใช้ความแตกต่างกันของระดับออกซิเจนในเลือด เพื่อที่จะสร้างแผนผังของสมองที่สัมพันธ์กับการเดินโลหิตไปยังเซลล์ประสาทที่กำลังทำงานอยู่ นี่เป็นตัวช่วยในการทำแผนผังของการทำงานในสมองโดยไม่ต้องอาศัยการสัมผัสกับอวัยวะภายใน ขยายรายละเอียดของภาพโครงสร้างในสมองที่ทำได้โดย MRI ในปัจจุบัน fMRI เป็นเทคโนโลยีที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในชีววิทยา ประสาทชีววิทยา จิตวิทยา ประสาทวิทยา สาขางานวิจัยอื่น ๆ และเพื่อวินิจฉัยเหตุทางกายภาพของโรคจิต กับความผิดปกติของสมองในเวชกรรม

รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ

  • ปี ค.ศ. 1995 รางวัลเหรียญทอง จากสมาคมเรโซแนนซ์แม่เหล็กในเวชศาสตร์
  • ปี ค.ศ. 1996 รางวัลแมซ เด็ลบรัค (รางวัลชีวฟิสิกส์) ของสมาคมฟิสิกส์อเมริกัน
  • ปี ค.ศ. 1998 รางวัลนากายามา จากมูลนิธินากายามาเพื่อวิทยาศาสตร์ของมนุษย์ ประเทศญี่ปุ่น
  • ปี ค.ศ. 2000 ได้รับเลือกเป็นสมาชิกของสถานบันเวชศาสตร์ หนึ่งในสถาบันของสถาบันวิทยาศาสตร์ประจำชาติ (National Academy of Sciences)
  • ปี ค.ศ. 2003 รางวัลญี่ปุ่น
  • ปี ค.ศ. 2003 รางวัลมูลนิธิการด์เนอร์สากล
  • ปี ค.ศ. 2007 รางวัลสมาคมเรโซแนนซ์แม่เหล็กสากล
  • ปี ค.ศ. 2008 รางวัลอนุสรณ์ของโอล์ลิ วี ลูนาสมา ของประเทศฟินแลนด์ (Olli V. Lounasmaa Memorial Prize of Finland)

หมายเหตุและอ้างอิง

  1. รางวัลญี่ปุ่น เป็นรางวัลที่ให้กับคนทุกชนชาติ ผู้มีผลงานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นต้นฉบับและโดดเด่น ที่ได้รับการยอมรับว่า ได้ขยายแนวหน้าของความรู้ และเป็นไปเพื่อสันติสุขและความเจริญรุ่งเรืองของมวลมนุษย์
  2. National Academy of Sciences เป็นองค์กรไม่แสวงผลกำไรในประเทศสหรัฐอเมริกา สมาชิกทำงานโดยไม่ได้รับผลตอบแทนในฐานะเป็นที่ปรึกษาประจำชาติสาขาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเวชศาสตร์ สมาชิกขององค์กรได้รับเลือกเป็นรายปีโดยสมาชิกปัจจุบัน ขึ้นอยู่กับผลงานวิจัยต้นคิดที่ดีเด่นที่ยังเป็นไปอยู่ องค์กรได้รับการตั้งขึ้นโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกา และได้รับการอนุมัติโดยประธานาธิบดีอับราฮัม ลินคอล์น ในปี ค.ศ. 1863
  3. "Seiji Ogawa". Canada Gairdner awards. สืบค้นเมื่อ December 29, 2011.
  4. "Researchers:Ogawa, Seiji". International Center for Scientific Research. 1999. สืบค้นเมื่อ December 29, 2011.
  • "Japan Prize 2003". สืบค้นเมื่อ 12 October 2010.
  • "Bell Labs Biography". สืบค้นเมื่อ 17 July 2006.
  • ข่าวเคมีและวิศวกรรม (จัดพิมพ์โดยสมาคมเคมีอเมริกัน); 19 March 2007, page 71
  • "Original research article - Ogawa et al. (1990) Proc Natl Acad Sci 87:9868-9872".
[[วิกิพีเดีย:|ข้อมูลบุคคล]]
ชื่อ เซจิ โองาวะ}
ชื่ออื่น
รายละเอียดโดยย่อ บิดาของการสร้างภาพสมองโดยกิจยุคสมัยใหม่ ค้นพบเทคนิคที่ใช้ใน fMRI
วันเกิด 19 มกราคม 1934
สถานที่เกิด โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
วันตาย
สถานที่ตาย

เซจ, โองาวะ, 小川, 誠二, โรมาจ, ogawa, seiji, เก, มกราคม, 1934, 2476, เป, นน, กค, นคว, าชาวญ, กก, นว, าเป, นผ, นพบเทคน, คท, ใช, ใน, fmri, functional, magnetic, resonance, imaging, ได, บการน, บถ, อว, เป, นบ, ดาของการสร, างภาพสมองโดยก, จย, คสม, ยใหม, ได, ความเปล, ยน. esci oxngawa yipun 小川 誠二 ormaci Ogawa Seiji ekid 19 mkrakhm kh s 1934 ph s 2476 epnnkkhnkhwachawyipun thiruckknwaepnphukhnphbethkhnikhthiichin fMRI Functional Magnetic Resonance Imaging phuidrbkarnbthuxwa epnbidakhxngkarsrangphaphsmxngodykicyukhsmyihm phuidchiwa khwamepliynaeplngkhxngradbxxksiecninolhit kxihekidkarepliynaeplnginkarsrangphaphdwyerosaennsaemehlk cungthaihsamarthsrangaephnphaphkhxngolhit aelaephraaehtunn khxngekhtinsmxngthikalngthangan aephnphaphnisxngihehnwa esllprasathklumihninsmxngtxbsnxngdwysyyanekhmiiffa inkarthangankhxngcitic dr oxngawa epnnkwithyasaskhrkhnaerkthiaesdngwa karsrangphaphsmxngodykic khunxyukbsthanaxxksiecnkhxngolhitthieriykwa phlxasyradbxxksiecnineluxd Blood oxygen level dependent effect hrux BOLD effect withinitxmacungeriykwa khakhwamtangobld BOLD contrast fMRI idthukichephuxthaaephnphngkhxngekhtsayta ekhtkaridyin ekhtprasathrbrukhwamrusukinsmxng aelaekhtxun thimihnathiradbsungying khunip echnekhtthirbruxarmnesci oxngawa小川 誠二esci oxngawa klawsunthrphcninkarprachum IBS Conference on Neuroimaging sungcdkhunthimhawithyalysungkhyunkwan suwxn ekahliit 2019 ekid19 mkrakhm kh s 1934 87 pi otekiyw praethsyipunsychatichawyipunsisyekamhawithyalyotekiywmhawithyalysaetnfxrdmichuxesiyngcakfMRIrangwlrangwlyipun 1 enuxha 1 prasbkarnxachiphebuxngtn 2 fMRI 3 rangwlaelaekiyrtikhunthiidrb 4 hmayehtuaelaxangxingprasbkarnxachiphebuxngtn aekikhdr esci oxngawa idrbkarsuksainwichafisiksprayuktinmhankhrotekiyw idrbpriyyaexkwichaekhmicakmhawithyalysaetnfxrd aelwthanganwicyepnewla 33 piekiywkbchiwfisiks biophysics thiexthiaexndthi ebll aelb AT amp T Bell Laboratories inemuxngemxrer hill rthniwecxrsi mitaaehnngsudthayepnbukhlakrdiednkhxngecahnathifayethkhnikh Distinguished Member of the technical staff inpi kh s 2001 dr oxngawaidepnphuxanwykarkhxngaelboxngawaephuxkarwicyhnathikhxngsmxng Ogawa Laboratories for Brain Function Research inotekiyw aelainpi kh s 2008 dr oxngawaidekhathanganrwmkb sthabnwicyprasathwithyasastr Neuroscience Research Institute khxngmhawithyalykachxnephuxewchsastraelawithyasastr Gachon University of Medicine and Science praethsekahli inthanasastracarydiedn Distinguished Professor aelaphunanganwicyekiywkb fMRI thimikarichrabb MRI khnad 7 0 ethsla runihm dr oxngawaidrbhlayrangwlsahrbphlnganindan MRI aelaepnsmachikkhxngsthanbnewchsastr sungepnsthabnhnungkhxngsthabnwithyasastrpracachati National Academy of Sciences 2 aelaidrbrangwlyipun 1 3 fMRI aekikhdr oxngawaidkhnphbhlkkarthiichinkarsrangphaphkhxngsmxngodykicaelaodysrirphaph odyechphaainsmxngkhxngmnusy idsrangethkhonolyithitxyxdcakkarsrangphaphody MRI odyichkhwamaetktangknkhxngradbxxksiecnineluxd ephuxthicasrangaephnphngkhxngsmxngthismphnthkbkaredinolhitipyngesllprasaththikalngthanganxyu niepntwchwyinkarthaaephnphngkhxngkarthanganinsmxngodyimtxngxasykarsmphskbxwywaphayin khyayraylaexiydkhxngphaphokhrngsranginsmxngthithaidody MRI inpccubn fMRI epnethkhonolyithiichknxyangkwangkhwanginchiwwithya prasathchiwwithya citwithya prasathwithya sakhanganwicyxun aelaephuxwinicchyehtuthangkayphaphkhxngorkhcit kbkhwamphidpktikhxngsmxnginewchkrrm 4 rangwlaelaekiyrtikhunthiidrb aekikhpi kh s 1995 rangwlehriyythxng caksmakhmerosaennsaemehlkinewchsastr pi kh s 1996 rangwlaems edlbrkh rangwlchiwfisiks khxngsmakhmfisiksxemrikn pi kh s 1998 rangwlnakayama cakmulnithinakayamaephuxwithyasastrkhxngmnusy praethsyipun pi kh s 2000 idrbeluxkepnsmachikkhxngsthanbnewchsastr hnunginsthabnkhxngsthabnwithyasastrpracachati National Academy of Sciences 2 pi kh s 2003 rangwlyipun 1 pi kh s 2003 rangwlmulnithikardenxrsakl pi kh s 2007 rangwlsmakhmerosaennsaemehlksakl pi kh s 2008 rangwlxnusrnkhxngoxlli wi lunasma khxngpraethsfinaelnd Olli V Lounasmaa Memorial Prize of Finland hmayehtuaelaxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 rangwlyipun epnrangwlthiihkbkhnthukchnchati phumiphlnganthangwithyasastraelaethkhonolyithiepntnchbbaelaoddedn thiidrbkaryxmrbwa idkhyayaenwhnakhxngkhwamru aelaepnipephuxsntisukhaelakhwamecriyrungeruxngkhxngmwlmnusy 2 0 2 1 National Academy of Sciences epnxngkhkrimaeswngphlkairinpraethsshrthxemrika smachikthanganodyimidrbphltxbaethninthanaepnthipruksapracachatisakhawithyasastr wiswkrrmsastr aelaewchsastr smachikkhxngxngkhkridrbeluxkepnraypiodysmachikpccubn khunxyukbphlnganwicytnkhidthidiednthiyngepnipxyu xngkhkridrbkartngkhunodyrthsphaaehngshrthxemrika aelaidrbkarxnumtiodyprathanathibdixbrahm linkhxln inpi kh s 1863 Seiji Ogawa Canada Gairdner awards subkhnemux December 29 2011 Researchers Ogawa Seiji International Center for Scientific Research 1999 subkhnemux December 29 2011 Japan Prize 2003 subkhnemux 12 October 2010 Bell Labs Biography subkhnemux 17 July 2006 khawekhmiaelawiswkrrm cdphimphodysmakhmekhmixemrikn 19 March 2007 page 71 Original research article Ogawa et al 1990 Proc Natl Acad Sci 87 9868 9872 wikiphiediy khxmulbukhkhl chux esci oxngawa chuxxunraylaexiydodyyx bidakhxngkarsrangphaphsmxngodykicyukhsmyihm khnphbethkhnikhthiichin fMRIwnekid 19 mkrakhm 1934sthanthiekid otekiyw praethsyipunwntaysthanthitayekhathungcak https th wikipedia org w index php title esci oxngawa amp oldid 9385978, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม