fbpx
วิกิพีเดีย

เคมี

เคมี หรือ เคมีวิทยา (อังกฤษ: chemistry) เป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาในเรื่องของสสาร โดยไม่เพียงแต่ศึกษาเฉพาะในเรื่องของปฏิกิริยาเคมี แต่ยังรวมถึงองค์ประกอบ โครงสร้างและคุณสมบัติของสสารอีกด้วย การศึกษาทางด้านเคมีเน้นไปที่อะตอมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างอะตอมกับอะตอม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณสมบัติของพันธะเคมี

บางครั้ง เคมีถูกเรียกว่าเป็นวิทยาศาสตร์ศูนย์กลาง เพราะเป็นวิชาช่วยที่เชื่อมโยงฟิสิกส์เข้ากับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติสาขาอื่น เช่น ธรณีวิทยาหรือชีววิทยา ถึงแม้ว่าเคมีจะถือเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์กายภาพแต่ก็มีความแตกต่างจากวิชาฟิสิกส์ค่อนข้างมาก

มีการถกเถียงกันอย่างมากมายถึงต้นกำเนิดของเคมี สันนิษฐานว่าเคมีน่าจะมีต้นกำเนิดมาจากการเล่นแร่แปรธาตุซึ่งเป็นที่นิยมกันมาอย่างยาวนานหลายสหัสวรรษในหลายส่วนของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตะวันออกกลาง

ศัพทมูลวิทยา

คำว่า เคมี (chemistry) มีรากศัพท์มาจากคำว่า alchemy ซึ่งหมายถึงการเล่นแร่แปรธาตุ มาจากคำภาษาอาหรับ الكیمیاء, al-kīmiyāʾ ที่เข้ามาสู่โลกตะวันตกในสมัยกลาง แต่ชาวมุสลิมก็รับคำนี้มาจากภาษากรีกอีกทอดหนึ่ง คือ χυμεία, khumeía ("ศาสตร์ว่าด้วยโลหะผสม") ซึ่งมาจากคำนาม χύμα, khúma ("ของเหลว") และมาจากคำกริยาว่า χέω} khéō ("เท, ริน") อีกทอดหนึ่ง

ทฤษฎี

 
ห้องทดลอง, สถาบันวิจัยชีวเคมี, มหาวิทยาลัยโคโลจญ์

โดยทั่วไปวิชาเคมีมีเป้าหมายพื้นฐานที่จะทำการศึกษาเกี่ยวกับอนุภาคพื้นฐาน, อะตอม, โมเลกุล หรือพูดอีกอย่างว่า วิชาเคมีเป็นวิชาที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับสสาร ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารด้วยกันเอง หรือปฏิสัมพันธ์ของสสารกับสิ่งที่ไม่ใช่สสาร เช่น พลังงาน แต่หัวใจสำคัญของเคมีโดยทั่วไป คือการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารเคมีด้วยกันในปฏิกิริยาเคมี โดยสารเคมีนั้นมีการเปลี่ยนรูปไปเป็นสารเคมีอีกชนิดหนึ่ง นี่อาจจะรวมไปถึงการฉายรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าสู่สารเคมีหรือสารผสม (ในเคมีแสง) ในปฏิกิริยาเคมีที่ต้องการแรงกระตุ้นจากแสง อย่างไรก็ตาม ปฏิกิริยาเคมีนั้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของเคมีซึ่งศึกษาสสารในด้านอื่น ๆ อีกมากมาย ตัวอย่างเช่น นักสเปกโตรสโคปีจะศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างแสงกับสสารโดยที่ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น

ประวัติศาสตร์

วิวัฒนาการของวิชาเคมีแบ่งออกเป็นยุคต่าง ๆ ดังนี้

ยุคก่อนประวัติศาสตร์ – ค.ศ. 500

  • ชาวอียิปต์เป็นชนชาติแรกที่รู้จักใช้วิธีการทางเคมี และคำว่า Chemeia มีปรากฏในภาษาอียิปต์
  • เดโมคริตัส (นักปราชญ์ชาวกรีก) แสดงความคิดเห็นในเรื่องโครงสร้างของสารโดยคิดหาเหตุผลเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ทำการทดลองประกอบให้เห็นจริง
  • อริสโตเติล รวบรวมทฤษฎีเกี่ยวกับสสาร โดยสรุปว่า สสารต่าง ๆ ประกอบขึ้นด้วยธาตุ 4 อย่าง คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ในสัดส่วนที่ต่างกันสำหรับสสารที่ต่างชนิดกัน

ยุคการเล่นแร่แปรธาตุ ค.ศ. 500–1500

ดูบทความหลักที่: การเล่นแร่แปรธาตุ
  • นักเคมีสนใจในเรื่องการเล่นแร่แปรธาตุให้เป็นทองคำ แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ประมาณ ค.ศ. 1100
  • ความรู้ทางเคมีได้แพร่เข้าสู่ยุโรป ในปลายยุคนี้นักเคมีล้มเลิกความสนใจการเล่นแร่แปรธาตุ
  • เริ่มสนใจค้นคว้าหายาอายุวัฒนะที่ใช้รักษาโรค

ยุคการเสาะแสวงหายาอายุวัฒนะ (ค.ศ. 1500–1600)

  • เป็นยุค Iatrochemistry
  • นักเคมีพยายามค้นคว้าหายาอายุวัฒนะและบรรดายารักษาโรคต่างๆ

ยุคปัจจุบัน (ค.ศ. 1627–1691)

  • เริ่มต้นจากโรเบิร์ต บอยล์ "ศึกษาเคมีเพื่อเคมี"
  • โรเบิร์ต บอยล์ "ศึกษาเคมีเพื่อความเจริญรุ่งเรืองของเคมีโดยเฉพาะ" และ "ใช้วิธีการทดลองประกอบการศึกษาเพื่อทดสอบความจริงและทฤษฎีต่าง ๆ"
  • เลิกล้มทฤษฎีของอริสโตเติลที่เกี่ยวกับดิน น้ำ ลม ไฟ
  • อ็องตวน ลาวัวซีเย (ค.ศ. 1743–1794) เป็นผู้ริเริ่มเคมียุคปัจจุบัน
  • เกออร์ค แอ็นสท์ ชตาล (ค.ศ. 1659–1734) ตั้งทฤษฎีฟลอจิสตัน (Phlogiston Theory)
  • อ็องตวน ลาวัวซีเย ตั้งทฤษฎีแห่งการเผาไหม้ขึ้น ยังผลให้ทฤษฎีฟลอจิสตันต้องเลิกล้มไป
  • จอห์น ดาลตัน (ค.ศ. 1766–1844) ตั้งทฤษฎีอะตอม ซึ่งเป็นรากฐานของเคมีสมัยใหม่ แต่ทฤษฎีอะตอมก็ต้องล้มเลิกไป เนื่องจากอะตอมที่แสดงพฤติกรรมได้ทั้งอนุภาคและคลื่น

สาขาวิชาย่อยของวิชาเคมี

วิชาเคมีมักแบ่งออกเป็นสาขาย่อยหลัก ๆ ได้หลายสาขา นอกจากนี้ยังมีสาขาทางเคมีที่มีลักษณะที่ข้ามขอบเขตการแบ่งสาขา และบางสาขาก็เป็นสาขาที่เฉพาะทางมาก

เคมีวิเคราะห์
เคมีวิเคราะห์ (Analytical Chemistry) คือการวิเคราะห์ตัวอย่างสาร เพื่อศึกษาส่วนประกอบทางเคมีและโครงสร้าง.
ชีวเคมี
ชีวเคมี (Biochemistry) คือการศึกษาสารเคมี ปฏิกิริยาเคมี และ ปฏิสัมพันธ์ทางเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต
เคมีอนินทรีย์
เคมีอนินทรีย์ (Inorganic Chemistry) คือการศึกษาคุณสมบัติและปฏิกิริยาของสารประกอบอนินทรีย์ อย่างไรก็ตามการแบ่งแยกระหว่างสาขาทางอินทรีย์และสาขาอนินทรีย์นั้น ไม่ชัดเจน และยังมีการเหลื่อมของขอบเขตการศึกษาอยู่มาก เช่นในสาขา organometallic chemistry
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์(Organic Chemistry) คือการศึกษาโครงสร้าง, สมบัติ, ส่วนประกอบ และปฏิกิริยาเคมี ของสารประกอบอินทรีย์
เคมีฟิสิกส์
เคมีเชิงฟิสิกส์(Physical Chemistry) คือการศึกษารากฐานทางกายภาพของระบบและกระบวนการทางเคมี ตัวอย่างที่เห็นก็เช่น นักเคมีเชิงฟิสิกส์มักสนใจการอธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในเชิงของพลังงาน สาขาที่สำคัญในกลุ่มนี้รวมถึง
  1. เคมีอุณหพลศาสตร์ (chemical thermodynamics)
  2. เคมีไคเนติกส์ (chemical kinetics)
  3. เคมีควอนตัม (quantum chemistry)
  4. กลศาสตร์สถิติ (statistical mechanics)
  5. สเปกโตรสโคปี (spectroscopy)
สาขาอื่นๆ

มโนทัศน์พื้นฐาน

โมเลกุล

โมเลกุลเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสารประกอบบริสุทธิ์ ประกอบด้วยอะตอมตั้งแต่ 2 อะตอมขึ้นสร้างพันธะต่อกัน

สารละลาย

สารละลายอาจเป็นธาตุ สารประกอบ หรือของผสมจากธาตุ หรือสารประกอบมากกว่า 1 ชนิด สสารส่วนใหญ่ที่พบเห็นในชีวิตประจำวันจะอยู่ในรูปของผสม

อ้างอิง

  1. . Chemweb.ucc.ie. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2018-10-03. สืบค้นเมื่อ 2011-06-12.
  2. Chemistry. (n.d.). Merriam-Webster's Medical Dictionary. Retrieved August 19, 2007.
  3. Theodore L. Brown, H. Eugene Lemay, Bruce Edward Bursten, H. Lemay. Chemistry: The Central Science. Prentice Hall; 8 edition (1999). ISBN 0-13-010310-1. Pages 3-4.
  4. Chemistry is seen as occupying an intermediate position in a hierarchy of the sciences by "reductive level" between physics and biology. See Carsten Reinhardt. Chemical Sciences in the 20th Century: Bridging Boundaries. Wiley-VCH, 2001. ISBN 3-527-30271-9. Pages 1-2.
  5. Is chemistry a branch of physics? a paper by Mario Bunge[ลิงก์เสีย]
  6. See: Chemistry (etymology) for possible origins of this word.
  7. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2008-03-10. สืบค้นเมื่อ 2012-01-10.
  8. ^ Matter: Atoms from Democritus to Dalton[ลิงก์เสีย] by Anthony Carpi, Ph.D.

ดูเพิ่ม

เคม, หร, ทยา, งกฤษ, chemistry, เป, นว, ทยาศาสตร, สาขาหน, งท, กษาในเร, องของสสาร, โดยไม, เพ, ยงแต, กษาเฉพาะในเร, องของปฏ, ยา, แต, งรวมถ, งองค, ประกอบ, โครงสร, างและค, ณสมบ, ของสสารอ, กด, วย, การศ, กษาทางด, านเน, นไปท, อะตอมและปฏ, มพ, นธ, ระหว, างอะตอมก, บอะตอม,. ekhmi hrux ekhmiwithya xngkvs chemistry epnwithyasastrsakhahnungthisuksaineruxngkhxngssar odyimephiyngaetsuksaechphaaineruxngkhxngptikiriyaekhmi aetyngrwmthungxngkhprakxb okhrngsrangaelakhunsmbtikhxngssarxikdwy 1 2 karsuksathangdanekhmiennipthixatxmaelaptismphnthrahwangxatxmkbxatxm aelaodyechphaaxyangyingkhunsmbtikhxngphnthaekhmi bangkhrng ekhmithukeriykwaepnwithyasastrsunyklang ephraaepnwichachwythiechuxmoyngfisiksekhakbwithyasastrthrrmchatisakhaxun echn thrniwithyahruxchiwwithya 3 4 thungaemwaekhmicathuxepnsakhahnungkhxngwithyasastrkayphaphaetkmikhwamaetktangcakwichafisikskhxnkhangmak 5 mikarthkethiyngknxyangmakmaythungtnkaenidkhxngekhmi 6 snnisthanwaekhminacamitnkaenidmacakkarelnaeraeprthatusungepnthiniymknmaxyangyawnanhlayshswrrsinhlayswnkhxngolk odyechphaaxyangyingintawnxxkklang 7 enuxha 1 sphthmulwithya 2 thvsdi 3 prawtisastr 3 1 yukhkxnprawtisastr kh s 500 3 2 yukhkarelnaeraeprthatu kh s 500 1500 3 3 yukhkaresaaaeswnghayaxayuwthna kh s 1500 1600 3 4 yukhpccubn kh s 1627 1691 4 sakhawichayxykhxngwichaekhmi 5 monthsnphunthan 5 1 omelkul 5 2 sarlalay 6 xangxing 7 duephimsphthmulwithya aekikhkhawa ekhmi chemistry miraksphthmacakkhawa alchemy sunghmaythungkarelnaeraeprthatu macakkhaphasaxahrb الكیمیاء al kimiyaʾ thiekhamasuolktawntkinsmyklang aetchawmuslimkrbkhanimacakphasakrikxikthxdhnung khux xymeia khumeia sastrwadwyolhaphsm sungmacakkhanam xyma khuma khxngehlw aelamacakkhakriyawa xew kheō eth rin xikthxdhnungthvsdi aekikhbthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid hxngthdlxng sthabnwicychiwekhmi mhawithyalyokholcy odythwipwichaekhmimiepahmayphunthanthicathakarsuksaekiywkbxnuphakhphunthan xatxm omelkul 8 hruxphudxikxyangwa wichaekhmiepnwichathimungsuksaekiywkbssar ptismphnthrahwangssardwyknexng hruxptismphnthkhxngssarkbsingthiimichssar echn phlngngan aethwicsakhykhxngekhmiodythwip khuxkarptismphnthrahwangsarekhmidwykninptikiriyaekhmi odysarekhminnmikarepliynrupipepnsarekhmixikchnidhnung nixaccarwmipthungkarchayrngsiaemehlkiffasusarekhmihruxsarphsm inekhmiaesng inptikiriyaekhmithitxngkaraerngkratuncakaesng xyangirktam ptikiriyaekhminnepnephiyngswnhnungkhxngekhmisungsuksassarindanxun xikmakmay twxyangechn nksepkotrsokhpicasuksaptismphnthrahwangaesngkbssarodythiimmiptikiriyaekidkhunprawtisastr aekikhwiwthnakarkhxngwichaekhmiaebngxxkepnyukhtang dngni yukhkxnprawtisastr kh s 500 aekikh chawxiyiptepnchnchatiaerkthiruckichwithikarthangekhmi aelakhawa Chemeia mipraktinphasaxiyipt edomkhrits nkprachychawkrik aesdngkhwamkhidehnineruxngokhrngsrangkhxngsarodykhidhaehtuphlephiyngxyangediyw imidthakarthdlxngprakxbihehncring xrisotetil rwbrwmthvsdiekiywkbssar odysrupwa ssartang prakxbkhundwythatu 4 xyang khux din na lm if insdswnthitangknsahrbssarthitangchnidknyukhkarelnaeraeprthatu kh s 500 1500 aekikh dubthkhwamhlkthi karelnaeraeprthatu nkekhmisnicineruxngkarelnaeraeprthatuihepnthxngkha aetimprasbkhwamsaerc praman kh s 1100 khwamruthangekhmiidaephrekhasuyuorp inplayyukhninkekhmilmelikkhwamsnickarelnaeraeprthatu erimsnickhnkhwahayaxayuwthnathiichrksaorkhyukhkaresaaaeswnghayaxayuwthna kh s 1500 1600 aekikh epnyukh Iatrochemistry nkekhmiphyayamkhnkhwahayaxayuwthnaaelabrrdayarksaorkhtangyukhpccubn kh s 1627 1691 aekikh erimtncakorebirt bxyl suksaekhmiephuxekhmi orebirt bxyl suksaekhmiephuxkhwamecriyrungeruxngkhxngekhmiodyechphaa aela ichwithikarthdlxngprakxbkarsuksaephuxthdsxbkhwamcringaelathvsditang eliklmthvsdikhxngxrisotetilthiekiywkbdin na lm if xxngtwn lawwsiey kh s 1743 1794 epnphurierimekhmiyukhpccubn ekxxrkh aexnsth chtal kh s 1659 1734 tngthvsdiflxcistn Phlogiston Theory xxngtwn lawwsiey tngthvsdiaehngkarephaihmkhun yngphlihthvsdiflxcistntxngeliklmip cxhn daltn kh s 1766 1844 tngthvsdixatxm sungepnrakthankhxngekhmismyihm aetthvsdixatxmktxnglmelikip enuxngcakxatxmthiaesdngphvtikrrmidthngxnuphakhaelakhlunsakhawichayxykhxngwichaekhmi aekikhwichaekhmimkaebngxxkepnsakhayxyhlk idhlaysakha nxkcakniyngmisakhathangekhmithimilksnathikhamkhxbekhtkaraebngsakha aelabangsakhakepnsakhathiechphaathangmak ekhmiwiekhraah ekhmiwiekhraah Analytical Chemistry khuxkarwiekhraahtwxyangsar ephuxsuksaswnprakxbthangekhmiaelaokhrngsrang chiwekhmi chiwekhmi Biochemistry khuxkarsuksasarekhmi ptikiriyaekhmi aela ptismphnththangekhmithiekidkhuninsingmichiwitekhmixninthriy ekhmixninthriy Inorganic Chemistry khuxkarsuksakhunsmbtiaelaptikiriyakhxngsarprakxbxninthriy xyangirktamkaraebngaeykrahwangsakhathangxinthriyaelasakhaxninthriynn imchdecn aelayngmikarehluxmkhxngkhxbekhtkarsuksaxyumak echninsakha organometallic chemistryekhmixinthriy ekhmixinthriy Organic Chemistry khuxkarsuksaokhrngsrang smbti swnprakxb aelaptikiriyaekhmi khxngsarprakxbxinthriyekhmifisiks ekhmiechingfisiks Physical Chemistry khuxkarsuksarakthanthangkayphaphkhxngrabbaelakrabwnkarthangekhmi twxyangthiehnkechn nkekhmiechingfisiksmksnickarxthibaykarepliynaeplngthangekhmiinechingkhxngphlngngan sakhathisakhyinklumnirwmthungekhmixunhphlsastr chemical thermodynamics ekhmiikhentiks chemical kinetics ekhmikhwxntm quantum chemistry klsastrsthiti statistical mechanics sepkotrsokhpi spectroscopy sakhaxunekhmibrryakas Atmospheric chemistry ekhmidarasastr Astrochemistry ekhmikarkhanwn Computational chemistry ekhmiiffa Electrochemistry ekhmisingaewdlxm Environmental chemistry thrniekhmi Geochemistry wsdusastr Materials Science ekhmiewchphnth Medicinal chemistry chiwwithyaomelkul Molecular Biology phnthusastromelkul Molecular genetics ekhminiwekhliyr Nuclear chemistry piotrekhmi Petrochemistry ephschwithya Pharmacology ekhmiphxliemxr Polymer chemistry olhaxinthriyekhmi Organometallic chemistry supraomelkularekhmi Supramolecular chemistry ekhmiphunphiw Surface chemistry ekhmikhwamrxn Thermochemistry monthsnphunthan aekikhomelkul aekikh omelkulepnhnwythielkthisudkhxngsarprakxbbrisuththi prakxbdwyxatxmtngaet 2 xatxmkhunsrangphnthatxkn sarlalay aekikh sarlalayxacepnthatu sarprakxb hruxkhxngphsmcakthatu hruxsarprakxbmakkwa 1 chnid ssarswnihythiphbehninchiwitpracawncaxyuinrupkhxngphsmxangxing aekikh What is Chemistry Chemweb ucc ie khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2018 10 03 subkhnemux 2011 06 12 Chemistry n d Merriam Webster s Medical Dictionary Retrieved August 19 2007 Theodore L Brown H Eugene Lemay Bruce Edward Bursten H Lemay Chemistry The Central Science Prentice Hall 8 edition 1999 ISBN 0 13 010310 1 Pages 3 4 Chemistry is seen as occupying an intermediate position in a hierarchy of the sciences by reductive level between physics and biology See Carsten Reinhardt Chemical Sciences in the 20th Century Bridging Boundaries Wiley VCH 2001 ISBN 3 527 30271 9 Pages 1 2 Is chemistry a branch of physics a paper by Mario Bunge lingkesiy See Chemistry etymology for possible origins of this word saenathiekbthawr khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2008 03 10 subkhnemux 2012 01 10 Matter Atoms from Democritus to Dalton lingkesiy by Anthony Carpi Ph D duephim aekikh ekhmitarangthatu wiswkrrmekhmi ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ekhmi amp oldid 9677336, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม