fbpx
วิกิพีเดีย

เทือกเขากลางสมุทร

เทือกเขากลางสมุทร (อังกฤษ: mid-oceanic ridge) คือแนวเทือกเขาใต้ทะเลโดยจะมีแนวร่องหุบที่รู้จักกันในนามของร่องแยก (rift) ที่สันของแนวเทือกเขาซึ่งเกิดขึ้นจากกระบวนการธรณีแปรสัณฐาน รูปแบบของเทือกเขากลางสมุทรนี้เป็นลักษณะที่รู้จักกันว่าเป็นแนว “ศูนย์กลางของการแยกแผ่ขยายออก” ซึ่งเป็นการแผ่ขยายออกของแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร การยกตัวของพื้นมหาสมุทรเป็นผลเนื่องมาจากกระแสการพาความร้อน (convection currents) ซึ่งเป็นการดันตัวขึ้นมาของหินหนืดจากชั้นฐานธรณีภาคตามแนวที่อ่อนตัวของพื้นมหาสมุทรโดยการปะทุขึ้นมาในรูปของลาวา เกิดเป็นเปลือกโลกใหม่เมื่อเย็นตัวลง เทือกเขากลางสมุทรเป็นแนวขอบเขตรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกสองแผ่น และถือกันว่าเป็นแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว

ตำแหน่งการกระจายตัวทางภูมิศาสตร์ของเทือกเขากลางสมุทรของโลก จาก USGS
การก่อตัวของเทือกเขากลางสมุทร
หินหนืดจะแทรกมาตามรอยแยกก่อให้เกิดเป็นเทือกเขา จากนั้นเปลือกโลกที่เก่ากว่าจะถูกผลักออกไปด้านข้าง
เปลือกโลกใต้มหาสมุทรเกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทร ขณะที่ธรณีภาคชั้นนอกมุดลงไปยังฐานธรณีภาคที่ร่องลึกก้นสมุทร

เทือกเขากลางสมุทรของโลกมีการเชื่อมต่อกันเกิดเป็นระบบแนวเทือกเขากลางสมุทรระบบหนึ่งของทุก ๆมหาสมุทรทำให้ระบบเทือกเขากลางสมุทรเป็นแนวเทือกเขาที่ยาวที่สุดของโลก แนวเทือกเขาที่ยาวต่อเนื่องกันนี้รวมกันแล้วมีความยาวทั้งสิ้นถึง 80,000 กิโลเมตร

ลักษณะสัณฐาน

ในทางธรณีวิทยาแล้วเทือกเขากลางสมุทรนั้นมีพลังด้วยการมีหินหนืดใหม่ ๆ ถูกดันตัวขึ้นมาบนพื้นมหาสมุทรและเข้าไปในชั้นเปลือกโลกบริเวณใกล้ ๆ กับแนวสันกลาง หินหนืดที่เย็นตัวลงจะตกผลึกเกิดเป็นเปลือกโลกใหม่ของหินบะซอลต์และแกรโบร

หินที่ประกอบเป็นชั้นเปลือกโลกใต้พื้นท้องทะเลจะมีอายุอ่อนที่สุดตรงบริเวณสันกลางและอายุจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตามระยะทางจากแนวสันกลางออกไป หินหนืดที่มีองค์ประกอบเป็นหินบะซอลต์ได้ดันตัวขึ้นมาที่แนวสันกลางเพราะว่าหินอัคนีด้านใต้จากชั้นเนื้อโลกมีการหลอมเหลวและขยายตัว

เปลือกโลกใต้มหาสมุทรประกอบไปด้วยหินที่มีอายุอ่อนกว่าอายุของโลกมาก โดยชั้นเปลือกโลกทั้งหมดในแอ่งมหาสมุทรจะมีอายุอ่อนกว่า 200 ล้านปี เปลือกโลกมีการเกิดขึ้นใหม่ในอัตราคงที่ที่สันกลางสมุทร การเคลื่อนที่ออกจากเทือกเขากลางสมุทรทำให้ความลึกของมหาสมุทรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนที่ลึกที่สุดคือร่องลึกก้นสมุทร ขณะที่ชั้นเปลือกโลกใต้มหาสมุทรเคลื่อนที่ออกจากสันกลางนั้น หินเพริโดไทต์ในชั้นเนื้อโลกที่อยู่ด้านใต้เกิดการเย็นตัวลงมีสภาพที่แข็งแกร่งขึ้น ชั้นเปลือกโลกและหินเพริโดไทต์ที่อยู่ด้านใต้นี้ทำให้เกิดธรณีภาคชั้นนอกใต้มหาสมุทร

กระบวนการเกิด

มีอยู่ 2 กระบวนการคือ การดันของเทือกเขากลางสมุทร (ridge-push) และการดึงของแผ่นเปลือกโลก (slab-pull) ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่แยกออกจากเทือกเขากลางสมุทรแต่ก็ยังมีสิ่งที่ไม่แน่ชัดว่ากระบวนการไหนจะโดดเด่นกว่ากัน กระบวนการดันของเทือกเขากลางสมุทรนั้นเกิดขึ้นเมื่อน้ำหนักของเทือกเขาผลักส่วนที่เป็นแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรให้เคลื่อนที่ออกไปจากแนวสันกลางปรกติจะผลักจนไปมุดลงที่แนวร่องลึกก้นทะเล ที่แนวมุดตัวนี้กระบวนการดึงของแผ่นเปลือกโลกจะเกิดขึ้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นง่าย ๆ เพียงน้ำหนักของแผ่นเปลือกโลกที่มุดตัวลงไปนั้นได้เกิดการดึงลงไปด้านล่างด้วยน้ำหนักของมันและลากแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรด้านบนให้เคลื่อนที่ตามไปด้วย

อีกกระบวนการหนึ่งที่ได้ถูกเสนอขึ้นมาว่ามีผลต่อการเกิดแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรใหม่ที่บริเวณเทือกเขากลางสมุทรก็คือการหมุนวนของเนื้อโลก (mantle conveyor) อย่างไรก็ตามได้มีการศึกษาพบว่าส่วนด้านบนสุดของชั้นเนื้อโลกนั้นมีคุณสมบัติเป็นพลาสติกมากเกินไปที่จะทำให้เกิดการเสียดทานอย่างเพียงพอที่จะดึงแผ่นธรณีภาคชั้นนอกใต้มหาสมุทรให้เคลื่อนที่ตามไปได้ มากไปกว่านั้นการดันตัวขึ้นมาของหินหนืดที่ทำให้หินหนืดเกิดที่ใต้เทือกเขากลางสมุทรดูเหมือนว่าจะเกี่ยวข้องเฉพาะในส่วนของ 400 กิโลเมตรทางด้านบนเท่านั้น ตัวเลขความลึกนี้ได้มาจากข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนและจากรอยสัมผัสไม่ต่อเนื่องของคลื่นไหวสะเทือนที่ระดับความลึกประมาณ 400 กิโลเมตร การดันตัวขึ้นมาของเนื้อโลกในระดับตื้นบริเวณใต้เทือกเขากลางสมุทรดังกล่าวทำให้เชื่อได้ว่ากระบวนการดึงของแผ่นเปลือกโลกน่าจะมีอิทธิพลมากกว่า ทั้งนี้มีแผ่นเปลือกโลกที่ใหญ่ที่สุดของโลกบางแผ่นเช่นแผ่นอเมริกาเหนือที่กำลังเคลื่อนที่อยู่นั้นแต่กลับยังไม่ทราบว่าเกิดการมุดตัวที่ไหน

อัตราการเกิดวัตถุใหม่ที่เทือกเขากลางสมุทรรู้จักกันว่าเป็นอัตราการแยกแผ่ออกไปและโดยทั่วไปจะวัดกันเป็นมิลลิเมตรต่อปี อัตราการแยกแผ่ออกไปจะแบ่งย่อยเป็น 3 ระดับคือ เร็ว ปานกลาง และช้า ซึ่งโดยทั่วไปจะมีค่าเป็นมากกว่า 100 มม/ปี 100 ถึง 55 มม/ปี และ 55 ถึง 20 มม/ปี ตามลำดับ อัตราการแยกแผ่ออกไปของมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือมีค่าประมาณ 25 มม./ปี ขณะที่ในย่านมหาสมุทรแปซิฟิกจะอยู่ระหว่าง 80 – 120 มม/ปี อัตราการแยกแผ่ออกไปที่น้อยกว่า 20 มม/ปี ถือว่าเป็นอัตราที่ช้ามาก (อย่างเช่น เทือกเขาแกกเกลในมหาสมุทรอาร์กติกและทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย) ที่ทำให้เกิดมุมมองของการก่อเกิดชั้นเปลือกโลกที่แตกต่างมากกว่าการแผ่แยกออกไปที่มีอัตราที่เร็วกว่า

ระบบเทือกเขากลางสมุทรก่อให้เกิดแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร ขณะที่หินหนืดปะทุขึ้นมาและเย็นตัวลงใต้จุดคูรีจะตกผลึกเป็นหินบะซอลต์ที่บริเวณเทือกเขากลางสมุทร ทิศทางของสนามแม่เหล็กของออกไซด์เหล็ก-ไททาเนียมที่ถูกบันทึกอยู่ในออกไซด์เหล่านั้นจะขนานไปกับสนามแม่เหล็กโลก ทิศทางการวางตัวของออกไซด์ดังกล่าวจะถูกบันทึกไว้ในชั้นเปลือกโลกและจะถือว่าเป็นการบันทึกสนามแม่เหล็กโลกไปตามกาลเวลา เนื่องจากสนามแม่เหล็กมีการสลับทิศทางเป็นช่วง ๆ เป็นจังหวะที่ไม่แน่นอนตลอดประวัติของมัน รูปแบบการสลับขั้วแม่เหล็กในชั้นเปลือกโลกใต้มหาสมุทรจึงสามารถใช้ระบุอายุของหินได้ และรูปแบบการสลับขั้วพร้อมกับการตรวจวัดอายุของชั้นเปลือกโลกใต้มหาสมุทรนั้นทำให้ทราบประวัติการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กโลกได้

การค้นพบ

เนื่องจากโดยทั่วไปแล้วเทือกเขากลางสมุทรจะจมอยู่ใต้ทะเลลึกจึงไม่เป็นที่รู้จักกันจนกระทั่งทศวรรษที่ 1950 เมื่อถูกค้นพบเนื่องมาจากการสำรวจพื้นท้องมหาสมุทรโดยเรือวิจัย

โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรือวิจัยเวม่าซึ่งเป็นเรือสำรวจโลกลามอนต์-โดเฮอร์ทีของมหาวิทยาลัยโคลัมเบียได้ทำการสำรวจแนวขวางมหาสมุทรแอตแลนติกได้ทำการบันทึกข้อมูลพื้นผิวมหาสมุทร คณะสำรวจนำโดยแมรี ธาร์พ และบรูซ ฮีเซนได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปว่ามีแนวเทือกเขาใหญ่อยู่ตรงกลางของมหาสมุทรแอตแลนติก แนวเทือกเขาดังกล่าวถูกตั้งชื่อว่าเทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติกซึ่งยังถือว่าเป็นส่วนที่มีชื่อเสียงที่สุดของเทือกเขากลางสมุทร ถือเป็นเหตุผลของการใช้คำว่า “กลางสมุทร” ในหัวข้อบทความนี้เนื่องด้วยมีเพียงที่แอตแลนติกเท่านั้นที่ระบบเทือกเขาอยู่ตรงกลางของมหาสมุทร

ในครั้งแรกนั้นมันถูกคิดว่าเป็นลักษณะเฉพาะที่พบได้ในมหาสมุทรแอตแลนติกเนื่องด้วยยังไม่เคยมีการค้นพบลักษณะเป็นแนวเทือกเขายาวต่อเนื่องอยู่ใต้ทะเลในลักษณะนี้มาก่อน อย่างไรก็ตามเมื่อทำการสำรวจพื้นมหาสมุทรไปทั่วโลกพบว่าทุก ๆ มหาสมุทรก็มีลักษณะของเทือกเขากลางสมุทรในลักษณะนี้เช่นกัน

ผลกระทบ

 
แผ่นเปลือกโลกตามการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค

อัลเฟรด เวเกเนอร์ได้เสนอทฤษฎีทวีปเคลื่อนในปี ค.ศ. 1912 อย่างไรก็ตามทฤษฎีนี้ไม่เป็นที่ยอมรับกันในหมู่นักธรณีวิทยา เนื่องจากไม่มีคำอธิบายถึงกลไกลที่ว่าทวีปสามารถลู่ไถลไปบนแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรได้อย่างไร และทฤษฎีนี้ก็ถูกลืมเลือนไป

ภายหลังการค้นพบเทือกเขากลางสมุทรในทศวรรษที่ 1950 บรรดานักธรณีวิทยาก็ต้องเผชิญกับภารกิจใหม่ที่จะต้องอธิบายว่าโครงสร้างทางธรณีวิทยาอย่างเทือกเขากลางสมุทรนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร ในทศวรรษที่ 1960 นักธรณีวิทยาได้มีการค้นพบและมีการนำเสนอกลไกลของการแยกแผ่ออกไปของแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร เพลตเทคโทนิกเป็นการอธิบายที่เหมาะสมในเรื่องของการแยกแผ่ออกไปของแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรและการยอมรับกันอย่างกว้างขวางในเรื่องเพลตเทคโทนิกของนักธรณีวิทยานี้ยังผลทำให้ถูกใช้เป็นแบบฉบับในการคิดในทางธรณีวิทยา

มีการประมาณการกันว่าปีหนึ่ง ๆ จะมีการปะทุของภูเขาไฟถึง 20 ครั้งตามแนวเทือกเขากลางสมุทรของโลกและทุก ๆ ปีจะเกิดพื้นท้องทะเลใหม่เพิ่มเติมขึ้นประมาณ 2.5 ตารางกิโลเมตรจากกระบวนการนี้ กล่าวคือจะมีการเกิดเปลือกโลกหนา 1 ถึง 2 กิโลเมตรหรือคิดเป็นปริมาตรประมาณ 4 ลูกบาศก์กิโลเมตรเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี[ต้องการอ้างอิง]

รายชื่อเทือกเขากลางสมุทร

  • เทือกเขาชิลี
  • เทือกเขาโคโคส
  • เทือกเขาแปซิฟิกตะวันออก
  • เทือกเขาเอ๊กพลอเรอร์
  • เทือกเขาแกกเกล (เทือกเขากลางสมุทรอาร์กติก)
  • เทือกเขากอร์ดา
  • เทือกเขาจวนเดอฟูก้า
  • เทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติก
  • เทือกเขาแปซิฟิก-แอนตาร์กติก
  • เทือกเขาเรย์กจาเนส
  • เทือกเขาอินเดียกลาง
  • เทือกเขาอินเดียตะวันออกเฉียงใต้
  • เทือกเขาอินเดียตะวันตกเฉียงใต้

รายชื่อเทือกเขากลางสมุทรโบราณ

  • เทือกเขาฟีนิกซ์
  • เทือกเขาอิซานากิ
  • เทือกเขากูลา-ฟาราลลอน
  • เทือกเขาแปซิฟิก-กูลา
  • เทือกเขาแปซิฟิก-ฟาราลลอน
  • เทือกเขาเบลลิงชอเสน
  • เทือกเขาอีเกอร์

อ้างอิง

  1. Cambridge Encyclopedia 2005 - Oceanic ridges
  2. Marjorie Wilson. (1993). Igneous petrogenesis. London: Chapman & Hall. ISBN 9780412533105.

เท, อกเขากลางสม, ทร, งกฤษ, oceanic, ridge, อแนวเท, อกเขาใต, ทะเลโดยจะม, แนวร, องห, บท, กก, นในนามของร, องแยก, rift, นของแนวเท, อกเขาซ, งเก, ดข, นจากกระบวนการธรณ, แปรส, ณฐาน, ปแบบของน, เป, นล, กษณะท, กก, นว, าเป, นแนว, นย, กลางของการแยกแผ, ขยายออก, งเป, นการแผ,. ethuxkekhaklangsmuthr xngkvs mid oceanic ridge khuxaenwethuxkekhaitthaelodycamiaenwrxnghubthiruckkninnamkhxngrxngaeyk rift thisnkhxngaenwethuxkekhasungekidkhuncakkrabwnkarthrniaeprsnthan rupaebbkhxngethuxkekhaklangsmuthrniepnlksnathiruckknwaepnaenw sunyklangkhxngkaraeykaephkhyayxxk sungepnkaraephkhyayxxkkhxngaephnepluxkolkphakhphunsmuthr karyktwkhxngphunmhasmuthrepnphlenuxngmacakkraaeskarphakhwamrxn convection currents sungepnkardntwkhunmakhxnghinhnudcakchnthanthrniphakhtamaenwthixxntwkhxngphunmhasmuthrodykarpathukhunmainrupkhxnglawa ekidepnepluxkolkihmemuxeyntwlng ethuxkekhaklangsmuthrepnaenwkhxbekhtrxytxrahwangaephnepluxkolksxngaephn aelathuxknwaepnaenwaephnepluxkolkaeyktwtaaehnngkarkracaytwthangphumisastrkhxngethuxkekhaklangsmuthrkhxngolk cak USGS karkxtwkhxngethuxkekhaklangsmuthr hinhnudcaaethrkmatamrxyaeykkxihekidepnethuxkekha caknnepluxkolkthiekakwacathukphlkxxkipdankhang epluxkolkitmhasmuthrekidkhunthiethuxkekhaklangsmuthr khnathithrniphakhchnnxkmudlngipyngthanthrniphakhthirxnglukknsmuthr ethuxkekhaklangsmuthrkhxngolkmikarechuxmtxknekidepnrabbaenwethuxkekhaklangsmuthrrabbhnungkhxngthuk mhasmuthrthaihrabbethuxkekhaklangsmuthrepnaenwethuxkekhathiyawthisudkhxngolk aenwethuxkekhathiyawtxenuxngknnirwmknaelwmikhwamyawthngsinthung 80 000 kiolemtr 1 enuxha 1 lksnasnthan 2 krabwnkarekid 3 karkhnphb 4 phlkrathb 5 raychuxethuxkekhaklangsmuthr 6 raychuxethuxkekhaklangsmuthrobran 7 xangxinglksnasnthan aekikhinthangthrniwithyaaelwethuxkekhaklangsmuthrnnmiphlngdwykarmihinhnudihm thukdntwkhunmabnphunmhasmuthraelaekhaipinchnepluxkolkbriewnikl kbaenwsnklang hinhnudthieyntwlngcatkphlukekidepnepluxkolkihmkhxnghinbasxltaelaaekrobrhinthiprakxbepnchnepluxkolkitphunthxngthaelcamixayuxxnthisudtrngbriewnsnklangaelaxayucaephimkhuneruxy tamrayathangcakaenwsnklangxxkip hinhnudthimixngkhprakxbepnhinbasxltiddntwkhunmathiaenwsnklangephraawahinxkhnidanitcakchnenuxolkmikarhlxmehlwaelakhyaytw 2 epluxkolkitmhasmuthrprakxbipdwyhinthimixayuxxnkwaxayukhxngolkmak odychnepluxkolkthnghmdinaexngmhasmuthrcamixayuxxnkwa 200 lanpi epluxkolkmikarekidkhunihminxtrakhngthithisnklangsmuthr karekhluxnthixxkcakethuxkekhaklangsmuthrthaihkhwamlukkhxngmhasmuthrephimkhunxyangtxenuxng odyswnthilukthisudkhuxrxnglukknsmuthr khnathichnepluxkolkitmhasmuthrekhluxnthixxkcaksnklangnn hinephriodithtinchnenuxolkthixyudanitekidkareyntwlngmisphaphthiaekhngaekrngkhun chnepluxkolkaelahinephriodithtthixyudanitnithaihekidthrniphakhchnnxkitmhasmuthrkrabwnkarekid aekikhmixyu 2 krabwnkarkhux kardnkhxngethuxkekhaklangsmuthr ridge push aelakardungkhxngaephnepluxkolk slab pull sungepnsingthithaihekidkarekhluxnthiaeykxxkcakethuxkekhaklangsmuthraetkyngmisingthiimaenchdwakrabwnkarihncaoddednkwakn krabwnkardnkhxngethuxkekhaklangsmuthrnnekidkhunemuxnahnkkhxngethuxkekhaphlkswnthiepnaephnepluxkolkphakhphunsmuthrihekhluxnthixxkipcakaenwsnklangprkticaphlkcnipmudlngthiaenwrxnglukknthael thiaenwmudtwnikrabwnkardungkhxngaephnepluxkolkcaekidkhun krabwnkarniekidkhunngay ephiyngnahnkkhxngaephnepluxkolkthimudtwlngipnnidekidkardunglngipdanlangdwynahnkkhxngmnaelalakaephnepluxkolkphakhphunsmuthrdanbnihekhluxnthitamipdwyxikkrabwnkarhnungthiidthukesnxkhunmawamiphltxkarekidaephnepluxkolkphakhphunsmuthrihmthibriewnethuxkekhaklangsmuthrkkhuxkarhmunwnkhxngenuxolk mantle conveyor xyangirktamidmikarsuksaphbwaswndanbnsudkhxngchnenuxolknnmikhunsmbtiepnphlastikmakekinipthicathaihekidkaresiydthanxyangephiyngphxthicadungaephnthrniphakhchnnxkitmhasmuthrihekhluxnthitamipid makipkwannkardntwkhunmakhxnghinhnudthithaihhinhnudekidthiitethuxkekhaklangsmuthrduehmuxnwacaekiywkhxngechphaainswnkhxng 400 kiolemtrthangdanbnethann twelkhkhwamlukniidmacakkhxmulkhlunihwsaethuxnaelacakrxysmphsimtxenuxngkhxngkhlunihwsaethuxnthiradbkhwamlukpraman 400 kiolemtr kardntwkhunmakhxngenuxolkinradbtunbriewnitethuxkekhaklangsmuthrdngklawthaihechuxidwakrabwnkardungkhxngaephnepluxkolknacamixiththiphlmakkwa thngnimiaephnepluxkolkthiihythisudkhxngolkbangaephnechnaephnxemrikaehnuxthikalngekhluxnthixyunnaetklbyngimthrabwaekidkarmudtwthiihnxtrakarekidwtthuihmthiethuxkekhaklangsmuthrruckknwaepnxtrakaraeykaephxxkipaelaodythwipcawdknepnmilliemtrtxpi xtrakaraeykaephxxkipcaaebngyxyepn 3 radbkhux erw panklang aelacha sungodythwipcamikhaepnmakkwa 100 mm pi 100 thung 55 mm pi aela 55 thung 20 mm pi tamladb xtrakaraeykaephxxkipkhxngmhasmuthraextaelntikehnuxmikhapraman 25 mm pi khnathiinyanmhasmuthraepsifikcaxyurahwang 80 120 mm pi xtrakaraeykaephxxkipthinxykwa 20 mm pi thuxwaepnxtrathichamak xyangechn ethuxkekhaaekkeklinmhasmuthrxarktikaelathangtawntkechiyngitkhxngmhasmuthrxinediy thithaihekidmummxngkhxngkarkxekidchnepluxkolkthiaetktangmakkwakaraephaeykxxkipthimixtrathierwkwarabbethuxkekhaklangsmuthrkxihekidaephnepluxkolkphakhphunsmuthr khnathihinhnudpathukhunmaaelaeyntwlngitcudkhuricatkphlukepnhinbasxltthibriewnethuxkekhaklangsmuthr thisthangkhxngsnamaemehlkkhxngxxkisdehlk iththaeniymthithukbnthukxyuinxxkisdehlanncakhnanipkbsnamaemehlkolk thisthangkarwangtwkhxngxxkisddngklawcathukbnthukiwinchnepluxkolkaelacathuxwaepnkarbnthuksnamaemehlkolkiptamkalewla enuxngcaksnamaemehlkmikarslbthisthangepnchwng epncnghwathiimaennxntlxdprawtikhxngmn rupaebbkarslbkhwaemehlkinchnepluxkolkitmhasmuthrcungsamarthichrabuxayukhxnghinid aelarupaebbkarslbkhwphrxmkbkartrwcwdxayukhxngchnepluxkolkitmhasmuthrnnthaihthrabprawtikarepliynaeplngkhxngsnamaemehlkolkidkarkhnphb aekikhenuxngcakodythwipaelwethuxkekhaklangsmuthrcacmxyuitthaellukcungimepnthiruckkncnkrathngthswrrsthi 1950 emuxthukkhnphbenuxngmacakkarsarwcphunthxngmhasmuthrodyeruxwicyodyechphaaxyangyingeruxwicyewmasungepneruxsarwcolklamxnt odehxrthikhxngmhawithyalyokhlmebiyidthakarsarwcaenwkhwangmhasmuthraextaelntikidthakarbnthukkhxmulphunphiwmhasmuthr khnasarwcnaodyaemri tharph aelabrus hiesnidthakarwiekhraahkhxmulaelasrupwamiaenwethuxkekhaihyxyutrngklangkhxngmhasmuthraextaelntik aenwethuxkekhadngklawthuktngchuxwaethuxkekhaklangsmuthraextaelntiksungyngthuxwaepnswnthimichuxesiyngthisudkhxngethuxkekhaklangsmuthr thuxepnehtuphlkhxngkarichkhawa klangsmuthr inhwkhxbthkhwamnienuxngdwymiephiyngthiaextaelntikethannthirabbethuxkekhaxyutrngklangkhxngmhasmuthrinkhrngaerknnmnthukkhidwaepnlksnaechphaathiphbidinmhasmuthraextaelntikenuxngdwyyngimekhymikarkhnphblksnaepnaenwethuxkekhayawtxenuxngxyuitthaelinlksnanimakxn xyangirktamemuxthakarsarwcphunmhasmuthripthwolkphbwathuk mhasmuthrkmilksnakhxngethuxkekhaklangsmuthrinlksnaniechnknphlkrathb aekikh aephnepluxkolktamkaraeprsnthanaephnthrniphakh xlefrd ewekenxridesnxthvsdithwipekhluxninpi kh s 1912 xyangirktamthvsdiniimepnthiyxmrbkninhmunkthrniwithya enuxngcakimmikhaxthibaythungkliklthiwathwipsamarthluithlipbnaephnepluxkolkphakhphunsmuthridxyangir aelathvsdinikthuklumeluxnipphayhlngkarkhnphbethuxkekhaklangsmuthrinthswrrsthi 1950 brrdankthrniwithyaktxngephchiykbpharkicihmthicatxngxthibaywaokhrngsrangthangthrniwithyaxyangethuxkekhaklangsmuthrniekidkhunidxyangir inthswrrsthi 1960 nkthrniwithyaidmikarkhnphbaelamikarnaesnxkliklkhxngkaraeykaephxxkipkhxngaephnepluxkolkphakhphunsmuthr ephltethkhothnikepnkarxthibaythiehmaasmineruxngkhxngkaraeykaephxxkipkhxngaephnepluxkolkphakhphunsmuthraelakaryxmrbknxyangkwangkhwangineruxngephltethkhothnikkhxngnkthrniwithyaniyngphlthaihthukichepnaebbchbbinkarkhidinthangthrniwithyamikarpramankarknwapihnung camikarpathukhxngphuekhaifthung 20 khrngtamaenwethuxkekhaklangsmuthrkhxngolkaelathuk picaekidphunthxngthaelihmephimetimkhunpraman 2 5 tarangkiolemtrcakkrabwnkarni klawkhuxcamikarekidepluxkolkhna 1 thung 2 kiolemtrhruxkhidepnprimatrpraman 4 lukbaskkiolemtrephimkhunthuk pi txngkarxangxing raychuxethuxkekhaklangsmuthr aekikhethuxkekhachili ethuxkekhaokhokhs ethuxkekhaaepsifiktawnxxk ethuxkekhaexkphlxerxr ethuxkekhaaekkekl ethuxkekhaklangsmuthrxarktik ethuxkekhakxrda ethuxkekhacwnedxfuka ethuxkekhaklangsmuthraextaelntik ethuxkekhaaepsifik aexntarktik ethuxkekhaerykcaens ethuxkekhaxinediyklang ethuxkekhaxinediytawnxxkechiyngit ethuxkekhaxinediytawntkechiyngitraychuxethuxkekhaklangsmuthrobran aekikhethuxkekhafiniks ethuxkekhaxisanaki ethuxkekhakula farallxn ethuxkekhaaepsifik kula ethuxkekhaaepsifik farallxn ethuxkekhaebllingchxesn ethuxkekhaxiekxrxangxing aekikh Cambridge Encyclopedia 2005 Oceanic ridges Marjorie Wilson 1993 Igneous petrogenesis London Chapman amp Hall ISBN 9780412533105 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ethuxkekhaklangsmuthr amp oldid 9351776, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม