fbpx
วิกิพีเดีย

เพนิซิลลิน

เพนิซิลิน (อังกฤษ: penicillin) หรือ ฟีนอกซิลเมตทิลเพนิซิลลิน (Phenoxymethylpenicillin-Penicillin V) คือกลุ่มของยาที่อยู่ในกลุ่มหลักๆที่เรียกกันว่า บีตา-แลคแทม (β-lactam) คุณสมบัติของยานี้คือเป็นยาที่ใช้รักษาในการติดเชื้อจากแบคทีเรีย

เพนิซิลลิน
ข้อมูลทางคลินิก
รหัส ATC
ตัวบ่งชี้
PubChem CID
  • 6869
DrugBank
  • APRD00423
สารานุกรมเภสัชกรรม

การออกฤทธิ์

เพนิซิลินออกฤทธิ์โดยการขัดขวางการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรียโดยเฉพาะแบคทีเรียแกรมบวก โดยการยับยั้งการสร้างครอสลิงก์ (crosslink) ระหว่างสายของเปบทิโดไกลแคน (peptidoglycan) ทำให้ผนังเซลล์แบคทีเรียอ่อนแอและถูกทำลาย

ปัจจุบันนี้พบการดื้อยาของแบคทีเรียที่มีต่อยาเพนิซิลิน ผ่านกลไกที่ตัวของแบคทีเรียสร้างสารเคมีมาทำลายส่วนประกอบของยา ทำให้ยาไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ เช่น เอนไซม์บีตา-แลคแทมเมส (β-lactamase) ที่แบคทีเรียบางชนิดสร้างขึ้นจะไปตัดวงบีตาแลคแทมในโมเลกุลของเพนิซิลินหรือยากลุ่มบีตาแลคแทมอื่น ๆ ได้ จึงต้องใช้ยาอื่นในการรักษาแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาเหล่านี้

อาหารมีผลต่อการออกฤทธิ์ยาเพนิซิลินหรือไม่ ยากลุ่มนี้ไม่ค่อยทนต่อกรดการใช้ยากลุ่มนี้ควรเลือกรับประทาน 1-2 สองชั่วโมง ก่อนหรือหลังอาหาร เนื่องจากตอนที่ทานอาหารจะมีหลั่งน้ำย่อยซึ่งเป็นกรดออกมาจึงเกิดการทำลายยาได้

เพนิซิลินถูกกำจัดออกจากร่างกายอย่างไร ยากลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะถูกกำจัดออกมากับปัสสาวะในรูปที่ไม่เปลี่ยนแปลงดังนั้นผู่ป่วยโรคไตควรระวังการใช้ยากลุ่มนี้เนื่องจากอาจทำให้ยาอยู่ในร่างกายนานเกินไปทำให้เกิดผลข้างเคียงหรือพิษจากยา ได้ แต่มียาบางตัวที่ผ่านตับและถูกเปลี่ยนให้หมดฤทธิ์แล้วถูกกำจัดออกมาทางน้ำมี เช่น นาฟซิลิน (nafcillin) , แอมพิซิลิน (ampicillin) เป็นต้น

ผลข้างเคียงต่างๆของเพนิซิลิน

  1. ปฏิกิริยาภูมิไวเกิน (Hypersensitivity reaction) ซึ่งสามารถทำให้เกิดการปรากฏอาการต่างได้ เช่น ปฏิกิริยาการตอบสนองรุนแรง (anaphylaxis) ,ไข้, ผื่น, ข้อบวม, การหายใจไม่สะดวก
  2. ภาวะการชักสามารถพบได้ในทารกแรกคลอดหรือผู้ที่มีภาวะการทำงานของไตผิดปกติ
  3. อาจพบภาวะท้องเสียโดยเฉพาะเมื่อใช้ไปนาน ๆ
  4. ผลข้างเคียงอื่น ๆ อาจเกิดจากตัวยาเพนิซิลินเอง หรือเกิดจากปฏิกิริยากับยาอื่นที่ใช้ร่วมด้วย หรือจากอาหาร หรือจากภาวะจากตัวผู้ใช้ยาเอง


เพนิซินลินประเภทต่าง ๆ

  1. เพนิซิลินที่ได้จากธรรมชาติ (Natural Penicillins)
  2. แอนตี้สแตปไฟโตคอกคัล เพนิซิลิน (Antistaphylococcal Penicillins)
  3. แอนตี้ซูโดโมนอลเพนิซิลิน (Antipseudomonal Penicillins)
  4. เอ็กเทนเดด-สเป็กตรัมเพนิซิลิน (Extended-spectrum Penicillins)


เพนิซิลินที่ได้จากธรรมชาติ (Natural Penicillins)

ตัวอย่างยาที่มีในกลุ่มนี้เช่น

  1. เพนิซิลิน จี (Penicillin G) เป็นยาตัวแรกของเพนิซิลินทั้งหมด เดิมมีทั้งยาที่ให้ทางรัปประทาน ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ และฉีดเข้ากล้ามเนื้อ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการยกเลิกยาที่ใช้ทางรับประทานจากทะเบียนยาแล้วเนื่องจากได้ผลการรักษาไม่ดีเท่าที่ควร
  2. เพนิซิลิน วี (Penicillin V) มีเพียงชนิดรับประทานเท่านั้น
  3. เพนิซิลิน จี โปรเคน (Penicillin G procaine) มีเพียงชนิดใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อเท่านั้น
  4. เพนิซิลิน จี เบนซาทีน (Penicillin G benzathine) มีเพียงชนิดใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อเท่านั้น

กลุ่มยาเหล่านี้เป็นยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ออกฤทธิ์กว้าง แต่มักจะมีผลต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกเพียงเท่านั้น

แอนตี้สแตปไฟโตคอกคัล เพนิซิลิน (Antistaphylococcal Penicillins)

ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้เช่น

  1. เมทิซิลิน (Methicillin) ยานี้ได้ถูกถอนในประเทศอเมริกาและอีกหลายประเทศทั่วโลกแล้ว
  2. นาฟซิลิน (Nafcillin) ยาตัวนี้มีทั้งชนิดรับประทาน ชนิดที่ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ และชนิดที่ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
  3. อ๊อกซาซิลิน (Oxacillin) ยาตัวนี้มีทั้งชนิดรับประทาน ชนิดที่ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ และชนิดที่ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
  4. ไดคล็อกซาซิลิน (Dicloxacillin) ยาตัวนี้มีทั้งชนิดรับประทาน ชนิดที่ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ และชนิดที่ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
  5. คล็อกซาซิลิน (Cloxacillin) ยาตัวนี้มีทั้งชนิดรับประทาน ชนิดที่ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ และชนิดที่ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ

ยากลุ่มนี้เป็นยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ออกฤทธิ์ค่อนค้างแคบจึงมีผลต่อแบคทีเรียไม่กี่สายพันธุ์ สาเหตุเป็นเพราะยากลุ่มนี้ถูกออกแบบมาให้เพื่อใช้รักษาการติดเชื่อแบคทีเรียสายพันธุ์ สแตปไฟโลค็อกไค (staphylococci) หากสายพันธุ์ดังกล่าวดื้อยากลุ่มนี้แล้วเราจะเปลี่ยนมาใช้ยาที่ชื่อว่าแวนโคไมซินแทน (Vancomycin)

  • อาการแทรกซ้อนที่พบบ่อยจากยากลุ่มนี้
    • กรวยไตอักเสบ (nephritis)
    • ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ (granulocytopenia) มักเกิดขึ้นกับเด็ก โดยเฉพาะเมื่อใช้ยา เมทิซิลิน (Methicillin) และ นาฟซิลิน (Nafcillin)

แอนตี้ซูโดโมนอลเพนิซิลิน (Antipseudomonal Penicillins)

ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้เช่น

  1. พิเพอราซิลิน (Piperacillin) ยาตัวนี้มักผสมกับตัวยาอื่น
  2. ไทคาร์ซิลิน (Ticarcillin)

ยากลุ่มนื้มักจะได้ผลที่ดีในกาฆ่าเชื้อแบคทีเรียจำพวก กรัมลบ บาซิไล เอนเทอโรแบกเตอร์ (Gram-negative Bacilli Enterobactor) โดยเฉพาะกลุ่มของ ซูโดโมนาส (Pseudomonas)

  • อาการแแทรกซ้อนที่พบบ่อยจากการใช้ยากลุ่มนี้
    • การทำงานผิดปกติของเกล็ดเลือด

เอ็กเทนเดด-สเป็กตรัมเพนิซิลิน (Extended-spectrum Penicillins)

ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้เช่น

  1. อะม็อกซี่ซิลิน (Amoxicillin) ยาตัวนี้มีเฉพาะให้ทางรับประทานเท่านั้น ยาตัวนี้ทนกรดจึงไม่จำเป็นต้องระวังเรื่องการรับประทานมากเหมือนตัวอื่น ๆ
  2. แอมพิซิลิน (Ampicillin) มีทั้งชนิดรับประทาน ชนิดฉีดทางเส้นเลือดดำ และชนิดฉีดเข้ากล้ามเนื้อ

ยากลุ่มนี้ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียได้กว้างขวางโดยมีผลต่อแบคทีเรียแกรมบวกแทบทุกชนิดและมีผลต่อแบคทีเรียแกรมลบบางส่วนด้วย ดังนั้นทางการแพทย์จึงมักจะใช้ อะม็อกซี่ซิลิน (Amoxicillin) ในการรักษาโรคติดเชื้อเบื้อต้น โดยเฉพาะผิวหนัง หรือระบบทางเดินหายใจ

  • อาการแทรกซ้อนที่พบบ่อยจากยากลุ่มนี้
    • ลำไส้อักเสบท้องเสีย (Pseudomembranous colitis)

เนื่องจากแบคทีเรียสามารถสร้างสารเคมีมาทำลายยาจึงทำให้ยากลุ่มนี้ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ สารเคมีที่แบคทีเรียสร้างนั้นเรียกว่า บีตา-แลกแทมเมส (β-lactamase) ดังนั้นจึงได้มีการคิดค้นสารเคมีบางอย่างเพื่อที่จะไปยับยั้งเบต้า-แลกแตมเมส สารเคมีที่ว่านี้ชื่อว่า บีตา-แลกแทมเมส อินฮิบิเตอร์ (β-lactamase inhibitor) ซึ่งพบว่าเมื่อนำสารนี้ใส่ร่วมกับยาเพนิซิลินแล้วทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของยาดีขึ้น นั่นคือเชื้อดื้อยาน้อยลงนั้นเอง แต่สารนี้สามารถเหนี่ยวนำให้ผู้ใช้ยามีอาการท้องเสียได้เช่นกัน สารเคมีที่ว่านี้แบ่งออกได้เป็นสามตัว คือ

  • คลาวูลานิก เอซิด (Clavulanic acid) จะใช้ผสมกับยา อะม็อกซี่ซิลิน (Amoxicillin) หรือ ไทคาร์ซิลิน (Ticarcillin)
  • ซัลแบกแตม (Sulbactam) จะใช้ผสมกับตัวยา แอมพิซิลิน (Ampicillin)
  • ทาโซแบกแตม (Tazobactam) จะใช้ผสมกับตัวยา พิเพอราซิลิน (Piperacillin)

นอกจากการสร้างสารเคมีมาทำลายยาแล้ว แบคทีเรียยังมีกลไกอื่นในการดื้อยาเพนิซิลินได้แก่ การเปลี่ยนแปลงตัวรับ (PBPs) จึงทำตัวยาเข้าสู่เซลล์ของแบคทีเรียน้อยลงทำให้ยามีระดับการทำงานต่ำไม่สามารถฆ่าเชื้อได้เป็นต้น

อ้างอิง

  • Brown, Kevin. (2004). Penicillin Man: Alexander Fleming and the Antibiotic Revolution.. Stroud: Sutton. ISBN 0-7509-3152-3.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

เพน, ลล, เพน, งกฤษ, penicillin, หร, นอกซ, ลเมตท, phenoxymethylpenicillin, penicillin, อกล, มของยาท, อย, ในกล, มหล, กๆท, เร, ยกก, นว, ตา, แลคแทม, lactam, ณสมบ, ของยาน, อเป, นยาท, ใช, กษาในการต, ดเช, อจากแบคท, เร, ยข, อม, ลทางคล, กรห, atcj01ce02, วบ, งช, pubchem. ephnisilin xngkvs penicillin hrux finxksilemtthilephnisillin Phenoxymethylpenicillin Penicillin V khuxklumkhxngyathixyuinklumhlkthieriykknwa bita aelkhaethm b lactam khunsmbtikhxngyanikhuxepnyathiichrksainkartidechuxcakaebkhthieriyephnisillinkhxmulthangkhlinikrhs ATCJ01CE02 WHO twbngchiPubChem CID6869DrugBankAPRD00423saranukrmephschkrrm enuxha 1 karxxkvththi 2 phlkhangekhiyngtangkhxngephnisilin 3 ephnisinlinpraephthtang 3 1 ephnisilinthiidcakthrrmchati Natural Penicillins 3 2 aexntisaetpifotkhxkkhl ephnisilin Antistaphylococcal Penicillins 3 3 aexntisuodomnxlephnisilin Antipseudomonal Penicillins 3 4 exkethnedd sepktrmephnisilin Extended spectrum Penicillins 4 xangxing 5 duephim 6 aehlngkhxmulxunkarxxkvththi aekikhephnisilinxxkvththiodykarkhdkhwangkarsrangphnngesllkhxngaebkhthieriyodyechphaaaebkhthieriyaekrmbwk odykarybyngkarsrangkhrxslingk crosslink rahwangsaykhxngepbthiodiklaekhn peptidoglycan thaihphnngesllaebkhthieriyxxnaexaelathukthalaypccubnniphbkarduxyakhxngaebkhthieriythimitxyaephnisilin phanklikthitwkhxngaebkhthieriysrangsarekhmimathalayswnprakxbkhxngya thaihyaimsamarthxxkvththiid echn exnismbita aelkhaethmems b lactamase thiaebkhthieriybangchnidsrangkhuncaiptdwngbitaaelkhaethminomelkulkhxngephnisilinhruxyaklumbitaaelkhaethmxun id cungtxngichyaxuninkarrksaaebkhthieriythiduxtxyaehlani xaharmiphltxkarxxkvththiyaephnisilinhruxim yaklumniimkhxythntxkrdkarichyaklumnikhwreluxkrbprathan 1 2 sxngchwomng kxnhruxhlngxahar enuxngcaktxnthithanxaharcamihlngnayxysungepnkrdxxkmacungekidkarthalayyaid ephnisilinthukkacdxxkcakrangkayxyangir yaklumniswnihycathukkacdxxkmakbpssawainrupthiimepliynaeplngdngnnphupwyorkhitkhwrrawngkarichyaklumnienuxngcakxacthaihyaxyuinrangkaynanekinipthaihekidphlkhangekhiynghruxphiscakya id aetmiyabangtwthiphantbaelathukepliynihhmdvththiaelwthukkacdxxkmathangnami echn nafsilin nafcillin aexmphisilin ampicillin epntnphlkhangekhiyngtangkhxngephnisilin aekikhptikiriyaphumiiwekin Hypersensitivity reaction sungsamarththaihekidkarpraktxakartangid echn ptikiriyakartxbsnxngrunaerng anaphylaxis ikh phun khxbwm karhayicimsadwk phawakarchksamarthphbidintharkaerkkhlxdhruxphuthimiphawakarthangankhxngitphidpkti xacphbphawathxngesiyodyechphaaemuxichipnan phlkhangekhiyngxun xacekidcaktwyaephnisilinexng hruxekidcakptikiriyakbyaxunthiichrwmdwy hruxcakxahar hruxcakphawacaktwphuichyaexngephnisinlinpraephthtang aekikhephnisilinthiidcakthrrmchati Natural Penicillins aexntisaetpifotkhxkkhl ephnisilin Antistaphylococcal Penicillins aexntisuodomnxlephnisilin Antipseudomonal Penicillins exkethnedd sepktrmephnisilin Extended spectrum Penicillins ephnisilinthiidcakthrrmchati Natural Penicillins aekikh twxyangyathimiinklumniechn ephnisilin ci Penicillin G epnyatwaerkkhxngephnisilinthnghmd edimmithngyathiihthangrpprathan chidekhaesneluxdda aelachidekhaklamenux aetinpccubnniidmikarykelikyathiichthangrbprathancakthaebiynyaaelwenuxngcakidphlkarrksaimdiethathikhwr ephnisilin wi Penicillin V miephiyngchnidrbprathanethann ephnisilin ci oprekhn Penicillin G procaine miephiyngchnidichchidekhaklamenuxethann ephnisilin ci ebnsathin Penicillin G benzathine miephiyngchnidichchidekhaklamenuxethannklumyaehlaniepnyakhaechuxaebkhthieriythixxkvththikwang aetmkcamiphltxechuxaebkhthieriyaekrmbwkephiyngethann aexntisaetpifotkhxkkhl ephnisilin Antistaphylococcal Penicillins aekikh twxyangyainklumniechn emthisilin Methicillin yaniidthukthxninpraethsxemrikaaelaxikhlaypraethsthwolkaelw nafsilin Nafcillin yatwnimithngchnidrbprathan chnidthichidekhaesneluxdda aelachnidthichidekhaklamenux xxksasilin Oxacillin yatwnimithngchnidrbprathan chnidthichidekhaesneluxdda aelachnidthichidekhaklamenux idkhlxksasilin Dicloxacillin yatwnimithngchnidrbprathan chnidthichidekhaesneluxdda aelachnidthichidekhaklamenux khlxksasilin Cloxacillin yatwnimithngchnidrbprathan chnidthichidekhaesneluxdda aelachnidthichidekhaklamenuxyaklumniepnyakhaechuxaebkhthieriythixxkvththikhxnkhangaekhbcungmiphltxaebkhthieriyimkisayphnthu saehtuepnephraayaklumnithukxxkaebbmaihephuxichrksakartidechuxaebkhthieriysayphnthu saetpifolkhxkikh staphylococci haksayphnthudngklawduxyaklumniaelweracaepliynmaichyathichuxwaaewnokhimsinaethn Vancomycin xakaraethrksxnthiphbbxycakyaklumni krwyitxkesb nephritis phawaemdeluxdkhawta granulocytopenia mkekidkhunkbedk odyechphaaemuxichya emthisilin Methicillin aela nafsilin Nafcillin aexntisuodomnxlephnisilin Antipseudomonal Penicillins aekikh twxyangyainklumniechn phiephxrasilin Piperacillin yatwnimkphsmkbtwyaxun ithkharsilin Ticarcillin yaklumnumkcaidphlthidiinkakhaechuxaebkhthieriycaphwk krmlb basiil exnethxoraebketxr Gram negative Bacilli Enterobactor odyechphaaklumkhxng suodomnas Pseudomonas xakaraeaethrksxnthiphbbxycakkarichyaklumni karthanganphidpktikhxngekldeluxdexkethnedd sepktrmephnisilin Extended spectrum Penicillins aekikh twxyangyainklumniechn xamxksisilin Amoxicillin yatwnimiechphaaihthangrbprathanethann yatwnithnkrdcungimcaepntxngrawngeruxngkarrbprathanmakehmuxntwxun aexmphisilin Ampicillin mithngchnidrbprathan chnidchidthangesneluxdda aelachnidchidekhaklamenuxyaklumnikhrxbkhlumechuxaebkhthieriyidkwangkhwangodymiphltxaebkhthieriyaekrmbwkaethbthukchnidaelamiphltxaebkhthieriyaekrmlbbangswndwy dngnnthangkaraephthycungmkcaich xamxksisilin Amoxicillin inkarrksaorkhtidechuxebuxtn odyechphaaphiwhnng hruxrabbthangedinhayic xakaraethrksxnthiphbbxycakyaklumni laisxkesbthxngesiy Pseudomembranous colitis enuxngcakaebkhthieriysamarthsrangsarekhmimathalayyacungthaihyaklumniimsamarthxxkvththiid sarekhmithiaebkhthieriysrangnneriykwa bita aelkaethmems b lactamase dngnncungidmikarkhidkhnsarekhmibangxyangephuxthicaipybyngebta aelkaetmems sarekhmithiwanichuxwa bita aelkaethmems xinhibietxr b lactamase inhibitor sungphbwaemuxnasarniisrwmkbyaephnisilinaelwthaihprasiththiphaphkarthangankhxngyadikhun nnkhuxechuxduxyanxylngnnexng aetsarnisamarthehniywnaihphuichyamixakarthxngesiyidechnkn sarekhmithiwaniaebngxxkidepnsamtw khux khlawulanik exsid Clavulanic acid caichphsmkbya xamxksisilin Amoxicillin hrux ithkharsilin Ticarcillin slaebkaetm Sulbactam caichphsmkbtwya aexmphisilin Ampicillin thaosaebkaetm Tazobactam caichphsmkbtwya phiephxrasilin Piperacillin nxkcakkarsrangsarekhmimathalayyaaelw aebkhthieriyyngmiklikxuninkarduxyaephnisilinidaek karepliynaeplngtwrb PBPs cungthatwyaekhasuesllkhxngaebkhthieriynxylngthaihyamiradbkarthangantaimsamarthkhaechuxidepntnxangxing aekikhBrown Kevin 2004 Penicillin Man Alexander Fleming and the Antibiotic Revolution Stroud Sutton ISBN 0 7509 3152 3 duephim aekikhebnsathinfinxksiemtthilephnisillinaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb ephnisillinekhathungcak https th wikipedia org w index php title ephnisillin amp oldid 9396203, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม