fbpx
วิกิพีเดีย

เมืองเสมา

เมืองเสมา เป็นเมืองโบราณอยู่ห่างจากอำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาไปทางทิศเหนือ 5 กิโลเมตร คาดว่ามีการอยู่อาศัยตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และต่อมาเป็นเมืองโบราณร่วมสมัยวัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรมเขมร

เมืองเสมา
โบราณสถานหมายเลข 1 เป็นหนึ่งในโบราณสถานภายในเมืองเสมา
ที่ตั้งตำบลเสมา, จังหวัดนครราชสีมา, ประเทศไทย
พิกัด14°55′21.5″N 101°47′57.2″E / 14.922639°N 101.799222°E / 14.922639; 101.799222พิกัดภูมิศาสตร์: 14°55′21.5″N 101°47′57.2″E / 14.922639°N 101.799222°E / 14.922639; 101.799222
ประเภทโบราณสถาน
ความเป็นมา
วัสดุอิฐ และหิน
สร้างพุทธศตวรรษที่ 10
ละทิ้งพุทธศตวรรษที่ 18
สมัยเริ่มประวัติศาสตร์
ทวารวดี
เขมร
หมายเหตุเกี่ยวกับสถานที่
ขุดค้นพ.ศ. 2533
ผู้ขุดค้นกรมศิลปากร

ลักษณะทางกายภาพของเมืองนั้นมีคูน้ำคันดินล้อมรอบ แผนผังเมืองเป็นรูปกลมรีไม่สม่ำเสมอ มีกำแพงเมืองชั้นเดียว ลำน้ำสำคัญที่ไหลผ่าน คือ ลำตะคองซึ่งไหลผ่านทางทิศใต้ของเมือง และห้วยไผ่ไหลผ่านทางทิศตะวันตกของเมือง เมืองเสมามีลักษณะการสร้างเมืองซ้อนกันสองชั้น เรียกว่า เมืองนอก–เมืองใน

ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 และ พ.ศ. 2542 กรมศิลปากรได้สำรวจและขุดค้นเมืองเสมา พบโบราณสถานที่ตั้งอยู่ภายในเขตเมืองชั้นในและในเขตเมืองชั้นนอกจำนวน 11 แห่ง:9–15 ส่วนใหญ่เป็นซากวิหารที่สร้างโดยได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพุทธ ทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายาน และศาสนาพราหมณ์ ฝ่ายไศวนิกาย ที่ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรมเขมร

ลักษณะทางกายภาพ

คูน้ำและคันดิน

เมืองเสมามีคูน้ำคันดิน ซึ่งมีความยาวจากด้านทิศเหนือไปทิศใต้ ประมาณ 1,700 เมตร และจากด้านทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ประมาณ 1,500 เมตร กำแพงหรือคันดินสูงเฉลี่ย 3-4 เมตร คูน้ำกว้างประมาณ 10-20 เมตร

สภาพคูน้ำคันดินของเมืองเสมาสามารถสังเกตเห็นได้ค่อนข้างชัดเจน โดยเฉพาะคูน้ำคันดินของเมืองชั้นใน บริเวณคันดินและริมคูน้ำมีต้นไม้ขึ้นปกคลุมหนาแน่นเป็นบางช่วง คูเมืองด้านทิศใต้และทิศตะวันตกมีน้ำขังอยู่ ส่วนคูเมืองด้านทิศเหนือของเมืองชั้นในมีสภาพตื้นเขินเป็นบางช่วงแนวคันดินทางทิศตะวันตกและทิศตะวันออกสังเกตเห็นได้ไม่ค่อยชัดเจนนักเนื่องจากมีชาวบ้านมาจับจองพื้นที่อยู่อาศัย ไถดินเพื่อเพาะปลูก และมีการตัดถนนผ่าน

ศาสนสถาน

ศาสนาพุทธ

ภายในเมืองเสมาพบหลักฐานที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาพุทธแสดงให้เห็นถึงการรับอิทธิพลศาสนาพุทธจากเมืองโบราณสมัยทวารวดีในภาคกลาง และเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าศาสนาพุทธคงเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 หรือ 13 เป็นต้น:108 โดยพบศาสนาสถานกระจายอยู่ภายในเมืองชั้นในและชั้นนอก ได้แก่ โบราณสถานหมายเลข 2, โบราณสถานหมายเลข 3, โบราณสถานหมายเลข 4, โบราณสถานหมายเลข 5, โบราณสถานหมายเลข 7, โบราณสถานหมายเลข 8, และโบราณสถานหมายเลข 9 ลักษณะของศาสนสถานมีทั้งประเภท[เจดีย์]] วิหาร และอาคารทรงปราสาท:241–242:44–46 นอกจากนี้ยังพบศาสนสถานนอกเมือง คือ พระนอนที่วัดธรรมจักรเสมาราม และเจดีย์ที่วัดแก่นท้าว

ศาสนสถานประเภทเจดีย์ที่พบมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพิ่มมุม (พบในโบราณสถานหมายเลข 2), ผังสี่เหลี่ยมจัตุรัส (พบในโบราณสถานหมายเลข 5), ผังรูปแปดเหลี่ยม (พบในโบราณสถานหมายเลข 3) และผังกลม (พบในโบราณสถานหมายเลข 8) ส่วนศาสนสถานประเภทวิหารมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า (พบในโบราณสถานหมายเลข 4, โบราณสถานหมายเลข 3 หลังที่ 2, และโบราณสถานหมายเลข 9) มีร่องรอยการประดับตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้นทั้งที่เป็นรูปสัตว์และรูปดอกไม้ ศาสนสถานอีกประเภทหนึ่ง คือ อาคารทรงปราสาท มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ส่วนฐานประดับลวดลายปูนปั้น (พบในโบราณสถานหมายเลข 7)

โบราณสถานทุกหลังก่อด้วยอิฐขนาดค่อนข้างใหญ่มีแกลบข้าวปนไม่สอปูนอันเป็นลักษณะของศาสนสถานในวัฒนธรรมทวารวดี

ประติมากรรมเนื่องในศาสนาพุทธที่พบส่วนใหญ่เป็นใบเสมาหินทรายขนาดใหญ่ ไม่มีลวดลายสลัก โดยปักอยู่เป็นคู่โดยรอบศาสนสถานประเภทวิหาร นอกจากนี้จากการขุดแต่งโบราณสถานได้พบประติมากรรมหลายชิ้นที่สำคัญ ได้แก่ ชิ้นส่วนพระพุทธรูปหินทราย พบที่โบราณสถานหมายเลข 1 โดยถูกนำมาทำเป็นฐานกำแพงแก้ว มีลักษณะเหมือนกับพระพุทธรูปสมัยทวารวดีที่ได้รับอิทธิพลศิลปะอินเดียแบบคุปตะและหลังคุปตะ:172–173 ชิ้นส่วนธรรมจักรทำจากหินทราย พบที่โบราณสถานหมายเลข 2 สลักทึบทั้งสองด้าน บริเวณขอบโดยรอบสลักลวดลายผักกูด ถัดเข้ามาเป็นลายดอกวงกลมสลับรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน มีลักษณะคล้ายคลึงกับธรรมจักรศิลาพบที่วัดธรรมาจักรเสมาราม:173

ศาสนสถานเนื่องในศาสนาพุทธที่พบในเมืองเสมาสามารถเทียบได้กับโบราณสถานหลายแห่งในเมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี, เมืองโคกไม้เดน จังหวัดนครสวรรค์, และเมืองฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์

ศาสนาพราหมณ์

ภายในเมืองเสมาพบหลักฐานการนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกายในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา เมื่อชุมชนเมืองเสมาได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมร และพบข้อความจารึกในจารึกบ่ออีกา ที่กล่าวถึงกิจกรรมทางศาสนาพราหมณ์ ระบุอายุในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 15 จนถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 16 อย่างไรก็ตาม ข้อความในจารึกดังกล่าว ทำให้ทราบว่ามีการนับถือศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธควบคู่กัน

ศาสนสถานเนื่องในศาสนาพราหมณ์ที่พบในเมืองเสมา คือ โบราณสถานหมายเลข 1 เป็นโบราณสถานขนาดใหญ่ที่สุดในเมือง ประกอบด้วยปราสาทประธานแบบเขมรก่อด้วยอิฐหนึ่งหลัง ขนาบข้างด้วยวิหารสอง หลัง มีกำแพงแก้วล้อมรอบ มีรูปแบบการก่อสร้างมีการใช้อิฐเนื้อค่อนข้างละเอียดไม่มีแกลบข้าวปนอันเป็นลักษณะของอิฐที่ใช้ก่อสร้างศาสนสถานในวัฒนธรรมร่วมแบบเขมร โดยไม่สอปูน:11–12 จากการขุดแต่งโบราณสถานหมายเลข 1 พบประติมากรรมเนื่องในศาสนาพราหมณ์หลายชิ้น ได้แก่ ชิ้นส่วนศิวลึงค์ศิลา, เศียรเทวรูป, ชิ้นส่วนรูปเคารพ, ฐานรูปเคารพ, ชิ้นส่วนโคนนทิ, และท่อโสมสูตร:25–37

ศิลาจารึก

จารึกที่เกี่ยวข้องและค้นพบภายในเมืองเสมา
จารึก อักษร ภาษา สถานที่ค้นพบ ประเภท รายละเอียด ขนาด หมายเหตุ
จารึกบ่ออีกา ขอมโบราณ สันสกฤตและเขมร บ้านบ่ออีกา ตำบลเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา หินทรายสีแดง ระบุปี พ.ศ. 1411 ด้านที่หนึ่ง กล่าวถึงพระราชาแห่งอาณาจักรศรีจนาศะทรงอุทิศปศุสัตว์และทาสทั้งหญิงและชายแก่พระภิกษุสงฆ์ ส่วนด้านที่สอง กล่าวสรรเสริญพระอิศวรและอังศเทพผู้ได้รับดินแดนที่ถูกละทิ้งไปนอกกัมพุเทศ:23–29 กว้าง 110 ซม.
สูง 56 ซม.
หนา 25 ซม.
จารึกศรีจนาศะ ขอมโบราณ สันสกฤตและเขมร บริเวณเทวสถานใกล้สะพานชีกุน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หิน ระบุปี พ.ศ. 1480 จารึกหลักนี้เริ่มต้นด้วยการสรรเสริญพระศังกร (พระศิวะ) และสรรเสริญพระนางปารพตีซึ่งรวมกับพระศิวะภายใต้รูปอรรถนารี ต่อจากนั้นกล่าวถึงรายพระนามพระราชาแห่งอาณาจักรจนาศปุระ:42–49 กว้าง 22 ซม.
สูง 45 ซม.
จารึกเมืองเสมา ขอมโบราณ สันสกฤตและเขมร เมืองเสมา ตำบลเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา หินทรายสีเทา ระบุปีมหาศักราช 893 ซึ่งตรงกับปี พ.ศ. 1514 จารึกเริ่มต้นด้วยการกล่าวนมัสการเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ ได้แก่ พระศิวะ, พระวิษณุ, พระพรหม, พระอุมา, และพระสรัสวดี จากนั้นกล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 หรือพระบาทบรมวีรโลก ว่าทรงเป็นโอรสของพระเจ้าราเชนทรวรมัน และทรงสืบเชื้อสายมาจากจันทรวงศ์ และกล่าวถึงพระราชกรณียกิจของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 สุดท้ายกล่าวถึงข้าราชการผู้ใหญ่ที่ได้สร้างเทวรูปและพระพุทธรูปไว้หลายองค์ พร้อมทั้งถวายทาสและสิ่งของมากอย่างแด่ศาสนสถาน:42-49 กว้าง 46 ซม.
สูง 99 ซม.
หนา 10 ซม.
จารึกหลักที่ 4 ขอมโบราณ เขมร บริเวณกำแพงแก้วด้านทิศใต้ โบราณสถานหมายเลข 1 เมืองเสมา ตำบลเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา หิน ระบุปีมหาศักราช 849 ตรงกับปี พ.ศ.1470 กล่าวถึงบ้านเมืองที่ชื่อ “ศรีจนาศะ” หรือ “จนาศะปุระ” และกล่าวถึงรายพระนามของพระราชาที่ปกครองบ้านเมืองนี้:42 ซึ่งยอร์จ เซเดย์ สันนิษฐานว่าศูนย์กลางของบ้านเมืองที่ชื่อศรีจนาศะหรือจนาศะปุระนี้คงตั้งอยู่บริเวณที่ราบสูงโคราช และนักวิชาการหลายท่านก็เชื่อว่าคงมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเสมา โดยพิจารณาจากหลักฐานโบราณคดีที่พบบริเวณเมืองเสมา:102–113 ยังไม่มีผลของการอ่านและแปล:42

โบราณสถาน

กรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเมืองเสมาเป็นโบราณสถาน โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2495 หลังสำรวจ ขุดค้น และขุดแต่งในระหว่าง พ.ศ. 2533–2542 พบโบราณสถานรวมทั้งหมด 11 แห่ง 6 แห่งอยู่ในเขตเมืองชั้นใน (คือ โบราณสถานหมายเลข 1–6) และ 3 แห่งอยู่ในเขตเมืองชั้นนอก (คือ โบราณสถานหมายเลข 7–9) แต่ขุดแต่งและบูรณะได้เพียง 8 แห่ง:9–15 นอกจากนี้ยังมีโบราณสถานนอกเมืองอีก 2 แห่ง คือ เจดีย์บ้านแก่นท้าว และวิหารพระนอน วัดธรรมจักรเสมาราม

โบราณสถานหมายเลข 1

ที่ตั้งโบราณสถานหมายเลข 1
 
 
แท่นเคารพ เป็นรูปวงกลมคล้ายฐานบัว ตั้งอยู่ภายในปราสาทประธาน
 
ฐานวิหารทางด้านทิศตะวันออกของปราสาทประธาน

โบราณสถานหมายเลข 1 หรือโบราณสถานบ่ออีกา ตั้งอยู่ภายในเมืองเสมาชั้นใน ทางด้านทิศเหนือของบ่ออีกา เป็นปราสาทในวัฒนธรรมร่วมแบบเขมร ก่อด้วยอิฐและหินทราย มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 45 x 50 เมตร หันหน้าไปทางทิศใต้ สภาพเหลือเพียงส่วนฐานสูงประมาณ 1 เมตร ประกอบด้วย ปราสาทประธานหนึ่งหลัง, วิหารสองหลัง, ฐานอาคารทิศตะวันออกเฉียงใต้หนึ่งหลัง, และกำแพงแก้ว

ปราสาทประธาน มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 8.8 x 22 เมตร มีสภาพชำรุดเหลือเพียงส่วนฐาน ซึ่งเป็นฐานบัวก่อด้วยอิฐ ด้านทิศใต้ซึ่งเป็นประตูทางเข้าออกของปราสาทประธานมีอันตลาระเชื่อมกับมณฑปรูปกากบาท มีบันไดทางขึ้นลงสามด้าน คือ ด้านทิศใต้ ทิศตะวันตก และทิศตะวันออก โดยทางขึ้นลงด้านทิศใต้มีฉนวนก่ออิฐเชื่อมกับโคปุระของกำแพงแก้ว ขั้นบันไดทางขึ้นลงด้านข้างของมณฑปทำด้วยหินทราย ภายในห้องด้านหน้านี้พบชิ้นส่วนกรอบประตูทำด้วยหินทรายหลายชิ้นวางอยู่ตรงหน้าบันไดทางขึ้นลง

ส่วนห้องครรภคฤหะก่อเป็นห้องยกฐานสูงขึ้นผังสี่เหลี่ยมเพิ่มมุม ภายในประดิษฐานแท่นประติมากรรมซึ่งพบจากการขุดแต่ง บนพื้นห้องมีท่อโสมสูตรเป็นแนวยาวเริ่มจากใต้แท่นฐานประติมากรรมไปทางด้านทิศตะวันออก

วิหาร ด้านทิศตะวันตกและตะวันออกของปราสาทประธานขนาบข้างด้วยวิหารห่างไปประมาณ 4 เมตร ในแนวเดียวกัน สภาพชำรุดเหลือเพียงฐานก่อด้วยอิฐ มีแผนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 6 x 12.30 เมตร ด้านหน้ามีมุขยื่นออกมาและมีทางเข้าออก 2 ทาง

ฐานอาคารทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บริเวณด้านหน้าของวิหารด้านทิศตะวันออกห่างไปประมาณ 10 เมตร สภาพชำรุดเหลือเพียงฐานก่อด้วยอิฐ มีแผนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 3.8 x 5 เมตร สูงประมาณ 50 เซนติเมตร ลักษณะเป็นฐานเรียบ

กำแพงแก้ว มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 43.40 x 48.60 เมตร หนา 1.20 เมตร กำแพงแก้วด้านทิศใต้ก่อด้วยอิฐเหลือเฉพาะส่วนฐานบัวซึ่งก่อบนฐานเขียงที่ทำจากหินทราย จากการขุดแต่งพบว่าฐานเขียงบางส่วนทำจากศิลาจารึกในสมัยก่อนหน้า ตรงกึ่งกลางของกำแพงแก้วมีซุ้มโคปุระในผังรูปกากบาท สภาพชำรุดเหลือเฉพาะส่วนฐานซึ่งก่อด้วยหินทรายรองรับส่วนผนังก่อด้วยอิฐ มีบันไดทางขึ้นลง ทำด้วยหินทราย ด้านหน้าของโคปุระนอกกำแพงแก้วมีฉนวนก่อด้วยอิฐต่อยื่นออกไป ด้านข้างของซุ้มโคปุระทั้งสองด้านห่างออกไปประมาณ 4 เมตร ในแนวตรงกับวิหาร มีบันไดทางขึ้น-ลง ทำด้วยหินทราย ส่วนกำแพงด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกไม่พบทางเข้าออก

บริเวณมุมกำแพงแก้วด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้มีห้องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 6.80 x 20 เมตร ยาวต่อเนื่องไปตามแนวกำแพง มีบันไดขึ้นลงตรงมุมด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะเช่นนี้พบที่กำแพงแก้วของปราสาทเมืองแขกซึ่งอยู่ห่างไปทางทิศตะวันออกประมาณ 6 กิโลเมตร

จากการขุดแต่งพบชิ้นส่วนฐานรูปเคารพ ชิ้นส่วนศิวลึงค์ ฐานรูปเคารพหินทรายเป็นรูปวงกลมคล้ายฐานบัว จำนวนสองชิ้น ชิ้นส่วนเทวรูป ชิ้นส่วนโคนนทิ ชิ้นส่วนพระพุทธรูปหินทรายที่ถูกนำมาทำเป็นฐานกำแพงแก้ว ลักษณะประทับยืน จีวรห่มคลุมบางแนบพระวรกาย พระพาหายกขึ้นแต่ส่วนพระกรหักหายไป ลักษณะคล้ายคลึงพระพุทธรูปแบบทวารวดีที่ได้รับอิทธิพลศิลปะอินเดียสมัยคุปตะและหลังคุปตะ ศิลาจารึก เครื่องประดับสถาปัตยกรรม เช่น ชิ้นส่วนกลีบขนุนหินทราย ชิ้นส่วนฐานบัวขนาดใหญ่

อย่างไรก็ตาม พบว่าแนวอิฐชั้นล่างด้านในของฐานประสาทประธานมีการใช้อิฐก้อนใหญ่มีแกลบข้าวปนเป็นจำนวนมากซึ่งเป็นอิฐแบบที่ใช้ในวัฒนธรรมทวารวดี

จากหลักฐานด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และศิลาจารึกที่พบบริเวณใกล้กับโบราณสถานทำให้สันนิษฐานว่าโบราณสถานหมายเลข 1 สร้างขึ้นเนื่องในศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย โดยคงมีการปรับเปลี่ยนจากพุทธสถานมาเป็นเทวสถานเมื่อศาสนาพราหมณ์เริ่มเข้ามามีอิทธิพลในดินแดนแถบนี้ และคงสร้างขึ้นในเวลาใกล้เคียงกับปราสาทเมืองแขก และปราสาทโนนกู่ ซึ่งอยู่ห่างไปทางทิศตะวันออกของเมืองเสมา โดยปราสาททั้งสองหลังนี้กำหนดอายุราวครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ 15 ตรงกับศิลปะเขมรแบบเกาะแกร์

ปราสาทประธานของโบราณสถานหมายเลข 1

โบราณสถานหมายเลข 2

ที่ตั้งโบราณสถานหมายเลข 2
 

โบราณสถานหมายเลข 2 เป็นศาสนสถานเนื่องในศาสนาพุทธ น่าจะเป็นส่วนของฐานเจดีย์ เนื่องจากซากอาคารที่เป็นเจดีย์ในวัฒนธรรมทวารวดีส่วนใหญ่มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส:110

โบราณสถานมีรูปแบบแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพิ่มมุมไม้ 20 ขนาด 7.90 x 8 เมตร สภาพชำรุดเหลือเพียงส่วนฐานสูงประมาณ 1 เมตรเศษ ฐานทางด้านทิศใต้มีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ที่สุด ประกอบด้วยฐานหน้ากระดานรองรับฐานบัวเพิ่มมุมไม้ 20 ตรงกึ่งกลางฐานมีทางเดินขึ้นบนอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ฐานด้านทิศตะวันออกปรากฏทางเดินเล็กน้อย ส่วนฐานด้านทิศเหนือและทิศใต้มีสภาพชำรุดมาก ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโบราณสถานมีแนวอิฐบาง แผ่เป็นลานกว้าง และในแนวเดียวกันนี้ห่างออกไปอีกประมาณ 15 เมตร มีแนวอิฐแบบเดียวกันแต่มีหลุมเสากลมประกอบอยู่หลายหลุม สันนิษฐานว่าอาจเป็นอาคารขนาดเล็ก

จากการขุดแต่งเมื่อปี พ.ศ. 2542 พบชิ้นส่วนธรรมจักรศิลาภายในฐานเจดีย์ แตกเป็น 2 ชิ้น สลักทึบทั้งสองด้าน บริเวณขอบโดยรอบสลักลวดลายผักกูด ถัดเข้ามาเป็นลายดอกวงกลมสลับรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแทรกด้วยลายผักกูดภายในเส้นคู่ขนาน บริเวณซี่ธรรมจักรสลักเป็นแท่งยึดกงไว้ ปลายซี่สลักเป็นลายผักกูดคั่นด้วยลายจุดไข่ปลาภายในลายเส้นคู่ขนาน บริเวณระหว่างซี่ด้านแรกสลักเป็นลายดอกบัว ด้านที่สองสลักเป็นลายก้านต่อดอก:173 เป็นลักษณะศิลปกรรมที่เหมือนกับธรรมจักรศิลาพบที่วัดธรรมจักรเสมาราม และสามารถเทียบได้กับธรรมจักรที่พบในเมืองโบราณสมัยทวารวดี เช่น เมืองนครปฐมโบราณ จังหวัดนครปฐม, เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี, เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นต้น อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12-13

นอกจากนี้ยังพบชิ้นส่วนมือของประติมากรรมปูนปั้นสันนิษฐานว่าเป็นพระโพธิสัตว์ และชิ้นส่วนปูนปั้นรูปสัตว์

แผนผังของโบราณสถานหมายเลข 2 มีลักษณะคล้ายคลึงกับโบราณสถานหมายเลข 8, หมายเลข 10, หมายเลข 21, หมายเลข 22, หมายเลข 28, หมายเลข 29, หมายเลข 34 เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี

โบราณสถานหมายเลข 3

ที่ตั้งโบราณสถานหมายเลข 3
 

โบราณสถานหมายเลข 3 เป็นกลุ่มโบราณสถานประกอบด้วยส่วนฐานของเจดีย์และวิหารขนาดเล็ก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 12-15

เจดีย์ เป็นเจดีย์ในผังแปดเหลี่ยมก่อด้วยอิฐไม่สอปูน สภาพเหลือเพียงส่วนฐาน สูงประมาณ 70 เซนติเมตร โดยฐานด้านทิศตะวันออกมีสภาพพังทลายลง ตรงกึ่งกลางของฐานเจดีย์แต่ละด้านทำเป็นทางขึ้น-ลง สันนิษฐานว่าอาจเป็นเจดีย์ทรงระฆังกลม

แผนผังของเจดีย์ลักษณะนี้สามารถเทียบได้กับเจดีย์หมายเลข 10 ที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี:46 และฐานเจดีย์แปดเหลี่ยมที่เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี

วิหาร ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเจดีย์ สภาพชำรุดพังทลายเหลือเพียงแนวอิฐเรียงกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 6.70 x 10.90 เมตร ภายในอาคารวิหารติดกับผนังด้านหลังเป็นเนินสูงกว่าบริเวณอื่นก่ออิฐเป็นรูปสี่เหลี่ยม บริเวณโดยรอบวิหารปักใบเสมาคู่ทำจากหินทรายขนาดใหญ่ ลักษณะใบเสมาไม่มีลวดลาย โกลนแต่งอย่างหยาบ โดยปักอยู่สี่ทิศ ได้แก่ ด้านทิศตะวันตก ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และด้านทิศใต้ บางอันมีสภาพหักชำรุด สันนิษฐานว่าเดิมคงปักอยู่โดยรอบวิหารทั้งแปดทิศ

โบราณสถานหมายเลข 4

ที่ตั้งโบราณสถานหมายเลข 4
 

โบราณสถานหมายเลข 4 สันนิษฐานว่า เป็นศาสนสถานประเภทวิหาร สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 12-15 มีแผนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 8.25 x 13.50 เมตร สภาพเหลือเพียงส่วนฐานก่อด้วยอิฐสูงประมาณ 1.20 เมตร วิหารหันหน้าไปทางทิศตะวันออกซึ่งด้านหน้าทำเป็นบันไดทางขึ้นลงสามขั้น ขั้นล่างสุดทำเป็นอัฒจันทร์รูปครึ่งวงกลม ส่วนขั้นบนสุดมีร่องรอยหลุมเสาอยู่ทั้งสองข้างของบันได ฐานด้านทิศเหนือและใต้ทำเป็นช่องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเว้าลักษณะยกเก็จเข้าไปด้านละสองช่อง มีร่องรอยการประดับลวดลายด้วยปูนปั้น พื้นภายในวิหารมีการก่ออิฐซ้อนกันเป็นชั้นหนา บริเวณขอบด้านนอกของพื้นวิหารมีร่องรอยหลุมเสาทั้งสี่ด้าน

บริเวณโดยรอบวิหารปักใบเสมาคู่ ทำจากหินทรายขนาดใหญ่ ลักษณะใบเสมาไม่มีลวดลาย โกลนแต่งอย่างหยาบ โดยปักอยู่ห้าทิศ ได้แก่ ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ด้านทิศตะวันตก ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ และด้านทิศตะวันออก

จากการขุดแต่งเมื่อ พ.ศ. 2542 พบชิ้นส่วนสถาปัตยกรรม ชิ้นส่วนปูนปั้น ชิ้นส่วนรูปเคารพ ฐานรูปเคารพหินทรายสลักเป็นลายกลีบบัว:87

แผนผังของโบราณสถานหมายเลข 4 สามารถเทียบได้กับโบราณสถานหมายเลข 4 ที่เมืองฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ และลักษณะทางขึ้นด้านหน้าที่ทำเป็นอัฒจันทร์ศิลาแบบที่นิยมในศิลปะลังกา:112 คล้ายกับบันไดทางขึ้นของวิหารหมายเลข 5 ที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี:34

โบราณสถานหมายเลข 5

ที่ตั้งโบราณสถานหมายเลข 5
 

โบราณสถานหมายเลข 5 มีแผนผังรูปสี่เหลี่ยม ขนาด 6.12 x 6.40 เมตร สภาพเหลือเพียงส่วนฐานก่อด้วยอิฐสูงประมาณ 1 เมตร น่าจะเป็นเจดีย์ทรงกลม เนื่องจากซากอาคารที่เป็นเจดีย์ในวัฒนธรรมทวารวดีส่วนใหญ่มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส:110 สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 12-15

อิฐที่ใช้ก่อสร้างมีลักษณะเป็นอิฐก้อนใหญ่มีแกลบข้าวปน เป็นอิฐแบบที่ใช้ในวัฒนธรรมทวารวดี ก่อซ้อนขึ้นมาโดยไม่สอปูนโดยก่อเป็นผนังอาคารรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหนาประมาณ 70 เซนติเมตร ล้อมรอบแกนกลางที่ถมทรายและก้อนหินสีม่วงขนาดเล็ก

แผนผังของโบราณสถานหมายเลข 5 สามารถเทียบได้กับโบราณสถานเมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี และโบราณสถานหมายเลข 11 ที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

โบราณสถานหมายเลข 7

ที่ตั้งโบราณสถานหมายเลข 7
 

โบราณสถานหมายเลข 7 เป็นอาคารทรงปราสาทก่อด้วยอิฐ มีแผนผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 9.60 x 9.60 เมตร สภาพชำรุดเหลือเพียงส่วนฐาน สูงประมาณ 1.80 เมตร ลักษณะของฐานบริเวณมุมทั้งสี่ มีเสาขนาดใหญ่ก่อนูนสูงขึ้นมาลักษณะยกเก็จ ผนังด้านทิศใต้ซึ่งเป็นด้านหน้าทำเป็นฐานย่อมุมมีบันไดทางขึ้นลง ส่วนฐานอีกสามด้านที่เหลือ ตรงกึ่งกลางทำเป็นบันไดทางขึ้นสู่ประตูหลอกโดยทางทิศเหนือมีร่องรอยปูนปั้นว่าประตูหลอกนี้ก่อเป็นซุ้มประดิษฐานรูปเคารพ ส่วนผนังสองข้างของบันไดทำเป็นกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าเว้าลงไปซึ่งคงประดับลวดลายปูนปั้น

ภายในอาคารก่อเป็นห้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสถมอัดด้วยหินทรายเรียงเป็นชั้นขึ้นไปแล้วฉาบปูนขาวเป็นพื้น ถัดจากแนวหินทรายก่ออิฐล้อมรอบอีกชั้นหนึ่งอิฐที่ใช้ก่อสร้างมีลักษณะเป็นอิฐก้อนใหญ่มีแกลบข้าวปน เป็นอิฐแบบที่ใช้ในวัฒนธรรมทวารวดี ก่อซ้อนขึ้นมาโดยไม่สอปูนและประดับลวดลายปูนปั้น

จากการขุดแต่งเมื่อปี พ.ศ. 2542 พบชิ้นส่วนลวดลายปูนปั้นจำนวนมาก และชิ้นส่วนพระพุทธรูปหินทราย:102–106 ทำให้สันนิษฐานว่าเป็นศาสนสถานเนื่องในศาสนาพุทธ

โบราณสถานหมายเลข 7 อาจเป็นอาคารทรงปราสาทแบบอินเดียใต้ในวัฒนธรรมทวารวดี:171 มีลักษณะคล้ายคลึงกับโบราณสถานบ้านจาเละ หมายเลข 3 ที่เมืองยะรัง จังหวัดปัตตานี:3–4

โบราณสถานหมายเลข 8

ที่ตั้งโบราณสถานหมายเลข 8
 

โบราณสถานหมายเลข 8 มีแผนผังรูปวงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7.70 เมตร สภาพชำรุดเหลือเพียงส่วนฐาน สูงประมาณ 0.50 เมตร สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 12-15

ก่อด้วยอิฐก้อนใหญ่มีแกลบข้าวปน เป็นอิฐแบบที่ใช้ในวัฒนธรรมทวารวดี ก่อซ้อนขึ้นมาโดยไม่สอปูนแล้วฉาบปูนปิดผนัง ก่อเป็นผนังอาคารทรงกลมหนาประมาณ 0.70 เมตร ล้อมรอบแกนกลางที่ถมทรายและก้อนหินสีม่วงขนาดเล็ก

สันนิษฐานว่าโบราณสถานหมายเลข 8 คงเป็นเจดีย์ทรงกลม ลักษณะแผนผังคล้ายกับเจดีย์ฐานกลมที่เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี:52–54

โบราณสถานหมายเลข 9

ที่ตั้งโบราณสถานหมายเลข 9
 

โบราณสถานหมายเลข 9 มีแผนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 4.10 x 8.10 เมตร สภาพชำรุดเหลือเพียงส่วนฐาน สูงประมาณ 0.70 เมตร มีทางเข้า-ออกด้านทิศใต้ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 12-15

ก่อด้วยอิฐก้อนใหญ่มีแกลบข้าวปน เป็นอิฐแบบที่ใช้ในวัฒนธรรมทวารวดี ก่อซ้อนขึ้นมาโดยไม่สอปูนแล้วฉาบปูนปิดผนัง ก่อเป็นผนังอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หนาประมาณ 0.70 เมตร ล้อมรอบแกนกลางที่ถมทรายและก้อนหินสีม่วงขนาดเล็ก

สันนิษฐานว่าโบราณสถานหมายเลข 9 คงเป็นศาสนสถานประเภทวิหาร ลักษณะแผนผังคล้ายกับซากวิหารที่เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี:46–51

พระนอน วัดธรรมจักรเสมาราม

ดูบทความหลักที่: วัดธรรมจักรเสมาราม
 
พระพักตร์ของพระนอนมีลักษณะเป็นเหลี่ยม ประกอบด้วยแผ่นหินสี่แผ่นซ้อนกัน
ที่ตั้งวัดธรรมจักรเสมาราม
 

พระนอน วัดธรรมจักรเสมาราม เป็นพระนอนหินทรายที่มีขนาดใหญ่ที่พบในประเทศไทย สร้างด้วยก้อนหินทรายแดงขนาดใหญ่หลายก้อนประกอบกันขึ้นตามแนวทิศเหนือใต้ มีการสลักหินทรายให้เป็นรูปทรงพระนอน สภาพโดยรวมชำรุด ความยาวตลอดองค์พระนอนประมาณ 13.3 เมตร สูง 2.8 เมตร นอนตะแคงขวา พระเศียรหันไปทางทิศใต้ ผินพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก

ส่วนพระพักตร์ประกอบด้วยด้วยหินทรายสี่แผ่นซ้อนกัน พระพักตร์ค่อนข้างเหลี่ยม พระขนงสลักเป็นสันนูนต่อกันเป็นปีกกา พระเนตรเหลือบต่ำลง พระนาสิกค่อนข้างกว้าง มุมพระโอษฐ์ชี้ขึ้นแย้มพระสรวล พระศกขมวดเป็นก้นหอยสภาพแตกชำรุด ด้านหลังพระเศียรสลักโกลนไว้อย่างคร่าวๆ มีเฉพาะพระหัตถ์ที่รองรับพระเศียร ส่วนพระศอเป็นหินกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 90 เซนติเมตร พระวรกายประกอบด้วยหินทรายขนาดใหญ่ยาวตลอดเป็นแผ่นเดียวกัน (ปัจจุบันมีการคลุมผ้าคลุมส่วนพระวรกาย) ส่วนพระนาภีลงมาถึงข้อพระบาทแตกหักชำรุดส่วนพระบาททั้งสองข้างชิดติดเสมอกัน มีสภาพดีเป็นรูปพระบาทและฝ่าพระบาทชัดเจน มีการก่อแท่นอิฐหนุนส่วนพระขนององค์พระ รูปแบบศิลปะของพระพุทธไสยาสน์นี้คงได้รับอิทธิพลของศิลปะแบบทวารวดีปะปนกับศิลปะพื้นเมือง อายุราวพุทธศตวรรษที่ 15

บัณฑิต ลิ่วชัยชาญ และคณะ กล่าวว่าคติการสร้างพระพุทธไสยาสน์ของเมืองเสมานี้ เหมือนกับพระพุทธไสยาสน์เมืองโปโลนนารุวะ กล่าวคือ หันพระเศียรไปทางทิศใต้ และสร้างพระพุทธไสยาสน์ภายในคันธกุฎีที่เป็นอาคารแคบ:206–209

โบราณวัตถุที่ค้นพบภายในบริเวณพระนอนที่สำคัญ คือ ธรรมจักรหินทรายหรือเสมาธรรมจักร พบอยู่เบื้องหน้าพระพักตร์พระพุทธไสยาสน์ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.2 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางดุมล้อ 31 เซนติเมตร เป็นธรรมจักรแบบทึบ แกะสลักเป็นรูปสี่กงล้อ ตอนล่างของธรรมจักรมีลายสลักหน้ากาลหรือพนัสบดี ลักษณะทางศิลปกรรมเทียบได้กับธรรมจักรที่พบจากเมืองนครปฐม น่าจะสร้างขึ้นในเวลาเดียวกับพระพุทธไสยาสน์และเมืองเสมา

การขุดแต่งของกรมศิลปากรยังพบหลักฐานเพิ่มเติมคือกวางหมอบและเสาเสมาธรรมจักร อาจแสดงให้เห็นว่าแต่เดิมเสมาธรรมจักรชิ้นนี้คงตั้งอยู่บนหัวเสา มีกวางหมอบอยู่ด้านหน้า และวางอยู่ด้านหน้าพระนอน

พระนอน ทำด้วยหินทราย ได้รับอิทธิพลของศิลปะแบบทวารวดีปะปนกับศิลปะพื้นเมือง

ประวัติ

การศึกษา

เมืองเสมาเป็นเมืองโบราณขนาดใหญ่ ได้รับการกล่าวถึงในผู้สนใจโบราณคดีทั้งไทยและต่างชาติ โดยมีการกล่าวถึงครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว:4–5 ดังนี้ คือในปี พ.ศ. 2428 นักสำรวจชาวฝรั่งเศส เอเตียน แอมอนิเยร์ ได้เข้ามาสำรวจทางโบราณคดีในประเทศไทย โดยบันทึกไว้ว่า "เมืองเสมาเป็นเมืองในสมัยอาณาจักรเขมรโบราณ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า"

ต่อมาในปี พ.ศ. 2472 เมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสด็จประพาสหัวเมืองมณฑลอีสาน ได้ทรงสันนิษฐานเกี่ยวกับเมืองโบราณในเขตอำเภอสูงเนินไว้ว่า "เป็นที่ตั้งของเมืองนครราชสีมาเก่า โดยมีเมืองสองเมืองตั้งอยู่ใกล้กันคือ เมืองเสมา ซึ่งอยู่ทางฝั่งด้านทิศเหนือของลำตะคอง และเมืองโครามะประที่ตั้งอยู่ทางฝั่งทิศใต้ของ ลำตะคอง ห่างกันประมาณ 3 - 4 กิโลเมตร ต่อมาในสมัยอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเด็จพระนารายณ์ จึงได้ย้ายเมืองมาตั้งอยู่ในบริเวณตัวจังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบันพร้อมกับ นำชื่อเมืองทั้งสองคือเมืองเสมา และเมืองโครามะปุระหรือโคราชมารวมกันเป็นชื่อเมืองใหม่ นามว่า นครราชสีมา​":105

ในปี พ.ศ. 2479 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานเนื้อที่ประมาณ 2,475 ไร่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 หน่วยศิลปากรที่ 6 การสำรวจเพื่อทำผังและปักหมุดเขตโบราณสถานเมืองเสมา พร้อมกับได้ทำการขุดหลุมทดสอบทางโบราณคดี ขนาด 3 x 3 เมตร เพื่อศึกษาลำดับการอยู่อาศัยของมนุษย์และยุคสมัย จำนวน 1 หลุม ในบริเวณเมืองชั้นในทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมือง และในปี พ.ศ. 2542 สำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 9 นครราชสีมา ได้ทำการขุดแต่งเสริมความมั่นคงโบราณสถาน จำนวน 9 หลังภายในเมืองเสมา ระหว่างเดือนมิถุนายน–กันยายน 2542

สุจิตต์ วงษ์เทศ ได้เชื่อว่าเมืองเสมาคือเมืองราดของพ่อขุนผาเมือง โดยได้กล่าวว่า "อย่างเมืองเสมา เมืองราดของพ่อขุนผาเมืองในจารึกสุโขทัย ส่วนสูงเนินคือ เมืองโคราชเก่า..."

พัฒนาการด้านวัฒนธรรม

ผลการศึกษาหลักฐานทางโบราณคดีที่เมืองเสมาได้ข้อสรุปว่า ชุมชนโบราณแห่งนี้มีการอยู่อาศัยต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ และมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับชุมชนโบราณในภูมิภาคอื่น โดยสามารถแบ่งพัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองเสมาได้เป็น 3 ระยะดังนี้:157–182:109–110:140–147

ระยะที่ 1 : พุทธศตวรรษที่ 10-11

พบหลักฐานว่ามีชุมชนเข้ามาตั้งถิ่นฐานเริ่มแรก โดยเป็นชุมชนที่มีพัฒนาการทางวัฒนธรรมสืบต่อมาจากชุมชนในวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่อาศัยอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำมูล หลักฐานทางโบราณคดีสำคัญที่แสดงถึงวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับชุมชนโบราณร่วมสมัยบริเวณลุ่มแม่น้ำมูลและชุมชนโบราณบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา และลุ่มแม่น้ำลพบุรี-ป่าสัก ได้แก่ ภาชนะดินเผาแบบสีดำขัดมันหรือแบบพิมายดำ ซึ่งเป็นรูปแบบภาชนะดินเผาที่พบแพร่หลายในชุมชนโบราณบริเวณลุ่มแม่น้ำมูลตอนบนและพบการแพร่กระจายไปยังชุมชนบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา และลุ่มแม่น้ำลพบุรี-ป่าสัก, ภาชนะดินเผาแบบร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นภาชนะดินเผาที่พบหนาแน่นบริเวณตอนกลางของแม่น้ำมูล

ระยะที่ 2 : พุทธศตวรรษที่ 12-15

เป็นช่วงที่ชุมชนมีการอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น มีหลักฐานแสดงถึงการรับอิทธิพลวัฒนธรรมทวารวดีจากภาคกลางอย่างเด่นชัด คือ การนับถือศาสนาพุทธ (คือ นิกายเถรวาทและมหายาน) ในช่วงเวลานี้ชุมชนได้สร้างศาสนสถานและศาสนวัตถุเนื่องในศาสนาพุทธขึ้นทั้งภายในเมืองชั้นในและชั้นนอก ได้แก่ เจดีย์, วิหาร, ใบเสมาหินทราย, พระพุทธรูป, และธรรมจักรศิลา ซึ่งเป็นรูปแบบศิลปกรรมที่ได้รับอิทธิพลศิลปะทวารวดีผสมศิลปะพื้นเมือง ส่วนหลักฐานโบราณคดีอื่นที่สำคัญ อาทิ หม้อน้ำมีพวย ซึ่งเป็นรูปแบบที่เหมือนกับที่พบในชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในภาคกลางของประเทศไทย, ลูกปัดแก้วสีเดียว, ตะคันดินเผา เบี้ยดินเผา, หม้อมีสัน เป็นต้น

ระยะที่ 3 : พุทธศตวรรษที่ 15-18

ชุมชนโบราณแห่งนี้ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมทวารวดี เนื่องจากพบหลักฐานของสถาปัตยกรรมและประติมากรรมในวัฒนธรรมร่วมแบบเขมร และมีร่องรอยการปรับเปลี่ยนพุทธสถานเป็นเทวสถาน ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่าศาสนาพราหมณ์เริ่มเข้ามามีบทบาทแทนที่ศาสนาพุทธ สอดคล้องกับหลักฐานศิลาจารึกที่พบในเมืองเสมา นอกจากนี้ยังปรากฏรูปแบบภาชนะดินเผาแบบเขมรหรือเครื่องเคลือบแบบเขมรแทนที่ภาชนะดินเผาในวัฒนธรรมทวารวดีซึ่งเป็นรูปแบบภาชนะดินเผาที่พบแพร่หลายในชุมชนโบราณที่ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรทั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางของประเทศไทย ในช่วงเวลานี้มีการขยายชุมชนขึ้นไปทางทิศเหนือของเมืองชั้นในและมีการขุดคูน้ำรูปสี่เหลี่ยมขึ้นในส่วนของเมืองที่ขยายออกไป หลักฐานที่แสดงถึงการติดต่อสัมพันธ์กับชุมชนโบราณนอกภูมิภาคที่พบในช่วงเวลานี้ คือ เครื่องถ้วยจีนสมัยราชวงศ์ซ่งและหยวน หลังจากพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นต้นไป เมืองเสมาจึงถูกทิ้งร้าง

อ้างอิง

  1. หจก.ปุราณรักษ์. รายงานการขุดแต่งเพื่อการบูรณะโบราณสถานเมืองเสมา ตำบลเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา. รายงานเสนอต่อสำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์แห่งชาติที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา, 2542.
  2. มยุรี วีระประเสริฐ. ศรีจนาศะ รัฐอิสระที่ราบสูง. : สำนักพิมพ์มติชน, 2545.
  3. เขมิกา หวังสุข. พัฒนาการทางวัฒนธรรมในลุ่มแม่น้ำมูล : กรณีศึกษาแหล่งโบราณคดีเมืองเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.
  4. กรมศิลปากร. จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 : อักษรขอม พุทธศตวรรษที่ 15-16. กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2529.
  5. "ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนและขอบเขตโบราณสถานสำหรับชาติ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 69 (60): 3283. 30 กันยายน 2495. Check date values in: |date= (help)
  6. สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์. ศิลปะร่วมแบบเขมรในประเทศไทย : ภูมิหลังทางปัญญา-รูปแบบทางศิลปกรรม. กรุงเทพฯ : มติชน, 2537.
  7. ศักดิ์ชัย สายสิงห์. ศิลปะทวารวดี. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2547.
  8. สำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์แห่งชาติที่ 2 สุพรรณบุรี.โบราณคดีเมืองอู่ทอง. นนทบุรี : โรงพิมพ์สหมิตรพริ้นติ้ง, 2545.
  9. สมศักดิ์ รัตนกุล. โบราณคดีเมืองคูบัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2535.
  10. พรทิพย์ พันธุโกวิท. การศึกษาวิเคราะห์โบราณสถานเมืองยะรัง: ศึกษากรณีกลุ่มโบราณสถานบ้านจาเละ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี. วันนี้ของโบราณคดีไทย, 2547.
  11. ทนงศักดิ์ หาญวงษ์. พระนอนวัดธรรมจักรเสมาราม. ศิลปากร, 2534.
  12. ธวัช ปุณโณทก. เสมา, เมือง : ชุมชนโบราณ. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคอีสาน เล่ม 11, 2542.
  13. บัณฑิต ลิ่วชัยชาญ และคณะ. รายงานผลการวิจัยเรื่องการประดิษฐานพระพุทธศาสนาจากลังกาทวีปในดินแดนประเทศไทยสมัยวัฒนธรรมทวารวดี. กรุงเทพฯ สมาพันธ์, 2553.
  14. พ่อขุนผาเมือง หายไปไหน? ‘ผมเชื่อว่าท่านมาเป็นกษัตริย์อยุธยา’ ขรรค์ชัย สุจิตต์ ทอดน่อง ‘เมืองเสมา’ ท้าพิสูจน์หลากปมประวัติศาสตร์
  15. ชลิต ชัยครรชิต. เมืองเสมาคือศูนย์กลางศรีจนาศะ. ศรีจนาศะ รัฐอิสระที่ราบสูง, : สำนักพิมพ์มติชน, 2545.

เม, องเสมา, เป, นเม, องโบราณอย, างจากอำเภอส, งเน, งหว, ดนครราชส, มาไปทางท, ศเหน, โลเมตร, คาดว, าม, การอย, อาศ, ยต, งแต, สม, ยก, อนประว, ศาสตร, และต, อมาเป, นเม, องโบราณร, วมสม, ยว, ฒนธรรมทวารวด, และว, ฒนธรรมเขมรโบราณสถานหมายเลข, เป, นหน, งในโบราณสถานภายในท, งต. emuxngesma epnemuxngobranxyuhangcakxaephxsungenin cnghwdnkhrrachsimaipthangthisehnux 5 kiolemtr khadwamikarxyuxasytngaetsmykxnprawtisastr aelatxmaepnemuxngobranrwmsmywthnthrrmthwarwdiaelawthnthrrmekhmremuxngesmaobransthanhmayelkh 1 epnhnunginobransthanphayinemuxngesmathitngtablesma cnghwdnkhrrachsima praethsithyphikd14 55 21 5 N 101 47 57 2 E 14 922639 N 101 799222 E 14 922639 101 799222 phikdphumisastr 14 55 21 5 N 101 47 57 2 E 14 922639 N 101 799222 E 14 922639 101 799222praephthobransthankhwamepnmawsduxith aelahinsrangphuththstwrrsthi 10lathingphuththstwrrsthi 18smyerimprawtisastrthwarwdiekhmrhmayehtuekiywkbsthanthikhudkhnph s 2533phukhudkhnkrmsilpakrlksnathangkayphaphkhxngemuxngnnmikhunakhndinlxmrxb aephnphngemuxngepnrupklmriimsmaesmx mikaaephngemuxngchnediyw lanasakhythiihlphan khux latakhxngsungihlphanthangthisitkhxngemuxng aelahwyiphihlphanthangthistawntkkhxngemuxng emuxngesmamilksnakarsrangemuxngsxnknsxngchn eriykwa emuxngnxk emuxngintxmainpi ph s 2533 aela ph s 2542 krmsilpakridsarwcaelakhudkhnemuxngesma phbobransthanthitngxyuphayinekhtemuxngchninaelainekhtemuxngchnnxkcanwn 11 aehng 1 9 15 swnihyepnsakwiharthisrangodyidrbxiththiphlmacaksasnaphuthth thngfayethrwathaelamhayan aelasasnaphrahmn fayiswnikay thiidrbxiththiphlwthnthrrmthwarwdiaelawthnthrrmekhmr enuxha 1 lksnathangkayphaph 1 1 khunaaelakhndin 1 2 sasnsthan 1 2 1 sasnaphuthth 1 2 2 sasnaphrahmn 1 3 silacaruk 2 obransthan 2 1 obransthanhmayelkh 1 2 2 obransthanhmayelkh 2 2 3 obransthanhmayelkh 3 2 4 obransthanhmayelkh 4 2 5 obransthanhmayelkh 5 2 6 obransthanhmayelkh 7 2 7 obransthanhmayelkh 8 2 8 obransthanhmayelkh 9 2 9 phranxn wdthrrmckresmaram 3 prawti 3 1 karsuksa 3 2 phthnakardanwthnthrrm 3 2 1 rayathi 1 phuththstwrrsthi 10 11 3 2 2 rayathi 2 phuththstwrrsthi 12 15 3 2 3 rayathi 3 phuththstwrrsthi 15 18 4 xangxinglksnathangkayphaph aekikhkhunaaelakhndin aekikh emuxngesmamikhunakhndin sungmikhwamyawcakdanthisehnuxipthisit praman 1 700 emtr aelacakdanthistawnxxkipthistawntk praman 1 500 emtr kaaephnghruxkhndinsungechliy 3 4 emtr khunakwangpraman 10 20 emtrsphaphkhunakhndinkhxngemuxngesmasamarthsngektehnidkhxnkhangchdecn odyechphaakhunakhndinkhxngemuxngchnin briewnkhndinaelarimkhunamitnimkhunpkkhlumhnaaennepnbangchwng khuemuxngdanthisitaelathistawntkminakhngxyu swnkhuemuxngdanthisehnuxkhxngemuxngchninmisphaphtunekhinepnbangchwngaenwkhndinthangthistawntkaelathistawnxxksngektehnidimkhxychdecnnkenuxngcakmichawbanmacbcxngphunthixyuxasy ithdinephuxephaapluk aelamikartdthnnphan sasnsthan aekikh sasnaphuthth aekikh phayinemuxngesmaphbhlkthanthiekiywenuxngkbsasnaphuththaesdngihehnthungkarrbxiththiphlsasnaphuththcakemuxngobransmythwarwdiinphakhklang aelaepnhlkthanthiaesdngihehnwasasnaphuththkhngecriyrungeruxngmatngaetrawphuththstwrrsthi 12 hrux 13 epntn 2 108 odyphbsasnasthankracayxyuphayinemuxngchninaelachnnxk idaek obransthanhmayelkh 2 obransthanhmayelkh 3 obransthanhmayelkh 4 obransthanhmayelkh 5 obransthanhmayelkh 7 obransthanhmayelkh 8 aelaobransthanhmayelkh 9 lksnakhxngsasnsthanmithngpraephth ecdiy wihar aelaxakharthrngprasath 1 241 242 3 44 46 nxkcakniyngphbsasnsthannxkemuxng khux phranxnthiwdthrrmckresmaram aelaecdiythiwdaeknthawsasnsthanpraephthecdiythiphbmiaephnphngepnrupsiehliymctursephimmum phbinobransthanhmayelkh 2 phngsiehliymcturs phbinobransthanhmayelkh 5 phngrupaepdehliym phbinobransthanhmayelkh 3 aelaphngklm phbinobransthanhmayelkh 8 swnsasnsthanpraephthwiharmiaephnphngepnrupsiehliymphunpha phbinobransthanhmayelkh 4 obransthanhmayelkh 3 hlngthi 2 aelaobransthanhmayelkh 9 mirxngrxykarpradbtkaetngdwylwdlaypunpnthngthiepnrupstwaelarupdxkim sasnsthanxikpraephthhnung khux xakharthrngprasath miaephnphngepnrupsiehliymcturs swnthanpradblwdlaypunpn phbinobransthanhmayelkh 7 obransthanthukhlngkxdwyxithkhnadkhxnkhangihymiaeklbkhawpnimsxpunxnepnlksnakhxngsasnsthaninwthnthrrmthwarwdipratimakrrmenuxnginsasnaphuthththiphbswnihyepnibesmahinthraykhnadihy immilwdlayslk odypkxyuepnkhuodyrxbsasnsthanpraephthwihar nxkcaknicakkarkhudaetngobransthanidphbpratimakrrmhlaychinthisakhy idaek chinswnphraphuththruphinthray phbthiobransthanhmayelkh 1 odythuknamathaepnthankaaephngaekw milksnaehmuxnkbphraphuththrupsmythwarwdithiidrbxiththiphlsilpaxinediyaebbkhuptaaelahlngkhupta 3 172 173 chinswnthrrmckrthacakhinthray phbthiobransthanhmayelkh 2 slkthubthngsxngdan briewnkhxbodyrxbslklwdlayphkkud thdekhamaepnlaydxkwngklmslbrupsiehliymkhnmepiykpun milksnakhlaykhlungkbthrrmckrsilaphbthiwdthrrmackresmaram 3 173sasnsthanenuxnginsasnaphuthththiphbinemuxngesmasamarthethiybidkbobransthanhlayaehnginemuxngxuthxng cnghwdsuphrrnburi emuxngkhubw cnghwdrachburi emuxngokhkimedn cnghwdnkhrswrrkh aelaemuxngfaaeddsngyang cnghwdkalsinthu sasnaphrahmn aekikh phayinemuxngesmaphbhlkthankarnbthuxsasnaphrahmn lththiiswnikayinchwngphuththstwrrsthi 15 epntnma emuxchumchnemuxngesmaidrbxiththiphlwthnthrrmekhmr aelaphbkhxkhwamcarukincarukbxxika thiklawthungkickrrmthangsasnaphrahmn rabuxayuinchwngtnphuththstwrrsthi 15 cnthungtnphuththstwrrsthi 16 xyangirktam khxkhwamincarukdngklaw thaihthrabwamikarnbthuxsasnaphrahmnaelasasnaphuththkhwbkhuknsasnsthanenuxnginsasnaphrahmnthiphbinemuxngesma khux obransthanhmayelkh 1 epnobransthankhnadihythisudinemuxng prakxbdwyprasathprathanaebbekhmrkxdwyxithhnunghlng khnabkhangdwywiharsxng hlng mikaaephngaekwlxmrxb mirupaebbkarkxsrangmikarichxithenuxkhxnkhanglaexiydimmiaeklbkhawpnxnepnlksnakhxngxiththiichkxsrangsasnsthaninwthnthrrmrwmaebbekhmr odyimsxpun 1 11 12 cakkarkhudaetngobransthanhmayelkh 1 phbpratimakrrmenuxnginsasnaphrahmnhlaychin idaek chinswnsiwlungkhsila esiyrethwrup chinswnrupekharph thanrupekharph chinswnokhnnthi aelathxosmsutr 1 25 37 silacaruk aekikh carukthiekiywkhxngaelakhnphbphayinemuxngesma caruk xksr phasa sthanthikhnphb praephth raylaexiyd khnad hmayehtucarukbxxika khxmobran snskvtaelaekhmr banbxxika tablesma xaephxsungenin cnghwdnkhrrachsima hinthraysiaedng rabupi ph s 1411 danthihnung klawthungphrarachaaehngxanackrsricnasathrngxuthispsustwaelathasthnghyingaelachayaekphraphiksusngkh swndanthisxng klawsrresriyphraxiswraelaxngsethphphuidrbdinaednthithuklathingipnxkkmphueths 4 23 29 kwang 110 sm sung 56 sm hna 25 sm caruksricnasa khxmobran snskvtaelaekhmr briewnethwsthaniklsaphanchikun xaephxphrankhrsrixyuthya cnghwdphrankhrsrixyuthya hin rabupi ph s 1480 carukhlknierimtndwykarsrresriyphrasngkr phrasiwa aelasrresriyphranangparphtisungrwmkbphrasiwaphayitrupxrrthnari txcaknnklawthungrayphranamphrarachaaehngxanackrcnaspura 4 42 49 kwang 22 sm sung 45 sm carukemuxngesma khxmobran snskvtaelaekhmr emuxngesma tablesma xaephxsungenin cnghwdnkhrrachsima hinthraysietha rabupimhaskrach 893 sungtrngkbpi ph s 1514 carukerimtndwykarklawnmskarethphecainsasnaphrahmn idaek phrasiwa phrawisnu phraphrhm phraxuma aelaphrasrswdi caknnklawthungphraecachywrmnthi 5 hruxphrabathbrmwirolk wathrngepnoxrskhxngphraecaraechnthrwrmn aelathrngsubechuxsaymacakcnthrwngs aelaklawthungphrarachkrniykickhxngphraecachywrmnthi 5 sudthayklawthungkharachkarphuihythiidsrangethwrupaelaphraphuththrupiwhlayxngkh phrxmthngthwaythasaelasingkhxngmakxyangaedsasnsthan 4 42 49 kwang 46 sm sung 99 sm hna 10 sm carukhlkthi 4 khxmobran ekhmr briewnkaaephngaekwdanthisit obransthanhmayelkh 1 emuxngesma tablesma xaephxsungenin cnghwdnkhrrachsima hin rabupimhaskrach 849 trngkbpi ph s 1470 klawthungbanemuxngthichux sricnasa hrux cnasapura aelaklawthungrayphranamkhxngphrarachathipkkhrxngbanemuxngni 3 42 sungyxrc esedy snnisthanwasunyklangkhxngbanemuxngthichuxsricnasahruxcnasapuranikhngtngxyubriewnthirabsungokhrach aelankwichakarhlaythankechuxwakhngmisunyklangxyuthiemuxngesma odyphicarnacakhlkthanobrankhdithiphbbriewnemuxngesma 2 102 113 yngimmiphlkhxngkarxanaelaaepl 3 42obransthan aekikhkrmsilpakrkhunthaebiynemuxngesmaepnobransthan odyprakasinrachkiccanuebksaemuxwnthi 30 knyayn ph s 2495 5 hlngsarwc khudkhn aelakhudaetnginrahwang ph s 2533 2542 phbobransthanrwmthnghmd 11 aehng 6 aehngxyuinekhtemuxngchnin khux obransthanhmayelkh 1 6 aela 3 aehngxyuinekhtemuxngchnnxk khux obransthanhmayelkh 7 9 aetkhudaetngaelaburnaidephiyng 8 aehng 1 9 15 nxkcakniyngmiobransthannxkemuxngxik 2 aehng khux ecdiybanaeknthaw aelawiharphranxn wdthrrmckresmaram obransthanhmayelkh 1 aekikh thitngobransthanhmayelkh 1 aethnekharph epnrupwngklmkhlaythanbw tngxyuphayinprasathprathan thanwiharthangdanthistawnxxkkhxngprasathprathan obransthanhmayelkh 1 hruxobransthanbxxika tngxyuphayinemuxngesmachnin thangdanthisehnuxkhxngbxxika epnprasathinwthnthrrmrwmaebbekhmr kxdwyxithaelahinthray miaephnphngepnrupsiehliymphunpha khnad 45 x 50 emtr hnhnaipthangthisit sphaphehluxephiyngswnthansungpraman 1 emtr prakxbdwy prasathprathanhnunghlng wiharsxnghlng thanxakharthistawnxxkechiyngithnunghlng aelakaaephngaekwprasathprathan miaephnphngepnrupsiehliymphunpha khnad 8 8 x 22 emtr misphaphcharudehluxephiyngswnthan sungepnthanbwkxdwyxith danthisitsungepnpratuthangekhaxxkkhxngprasathprathanmixntlaraechuxmkbmnthprupkakbath mibnidthangkhunlngsamdan khux danthisit thistawntk aelathistawnxxk odythangkhunlngdanthisitmichnwnkxxithechuxmkbokhpurakhxngkaaephngaekw khnbnidthangkhunlngdankhangkhxngmnthpthadwyhinthray phayinhxngdanhnaniphbchinswnkrxbpratuthadwyhinthrayhlaychinwangxyutrnghnabnidthangkhunlngswnhxngkhrrphkhvhakxepnhxngykthansungkhunphngsiehliymephimmum phayinpradisthanaethnpratimakrrmsungphbcakkarkhudaetng bnphunhxngmithxosmsutrepnaenwyawerimcakitaethnthanpratimakrrmipthangdanthistawnxxkwihar danthistawntkaelatawnxxkkhxngprasathprathankhnabkhangdwywiharhangippraman 4 emtr inaenwediywkn sphaphcharudehluxephiyngthankxdwyxith miaephnphngrupsiehliymphunphakhnad 6 x 12 30 emtr danhnamimukhyunxxkmaaelamithangekhaxxk 2 thangthanxakharthistawnxxkechiyngit tngxyubriewndanhnakhxngwihardanthistawnxxkhangippraman 10 emtr sphaphcharudehluxephiyngthankxdwyxith miaephnphngrupsiehliymphunphakhnad 3 8 x 5 emtr sungpraman 50 esntiemtr lksnaepnthaneriybkaaephngaekw miaephnphngepnrupsiehliymphunphakhnad 43 40 x 48 60 emtr hna 1 20 emtr kaaephngaekwdanthisitkxdwyxithehluxechphaaswnthanbwsungkxbnthanekhiyngthithacakhinthray cakkarkhudaetngphbwathanekhiyngbangswnthacaksilacarukinsmykxnhna trngkungklangkhxngkaaephngaekwmisumokhpurainphngrupkakbath sphaphcharudehluxechphaaswnthansungkxdwyhinthrayrxngrbswnphnngkxdwyxith mibnidthangkhunlng thadwyhinthray danhnakhxngokhpuranxkkaaephngaekwmichnwnkxdwyxithtxyunxxkip dankhangkhxngsumokhpurathngsxngdanhangxxkippraman 4 emtr inaenwtrngkbwihar mibnidthangkhun lng thadwyhinthray swnkaaephngdanthisehnuxaelathistawnxxkimphbthangekhaxxkbriewnmumkaaephngaekwdanthistawntkechiyngitmihxngrupsiehliymphunphakhnad 6 80 x 20 emtr yawtxenuxngiptamaenwkaaephng mibnidkhunlngtrngmumdanthistawnxxkechiyngehnux lksnaechnniphbthikaaephngaekwkhxngprasathemuxngaekhksungxyuhangipthangthistawnxxkpraman 6 kiolemtrcakkarkhudaetngphbchinswnthanrupekharph chinswnsiwlungkh thanrupekharphhinthrayepnrupwngklmkhlaythanbw canwnsxngchin chinswnethwrup chinswnokhnnthi chinswnphraphuththruphinthraythithuknamathaepnthankaaephngaekw lksnaprathbyun ciwrhmkhlumbangaenbphrawrkay phraphahaykkhunaetswnphrakrhkhayip lksnakhlaykhlungphraphuththrupaebbthwarwdithiidrbxiththiphlsilpaxinediysmykhuptaaelahlngkhupta silacaruk ekhruxngpradbsthaptykrrm echn chinswnklibkhnunhinthray chinswnthanbwkhnadihyxyangirktam phbwaaenwxithchnlangdaninkhxngthanprasathprathanmikarichxithkxnihymiaeklbkhawpnepncanwnmaksungepnxithaebbthiichinwthnthrrmthwarwdicakhlkthandansthaptykrrm pratimakrrm aelasilacarukthiphbbriewniklkbobransthanthaihsnnisthanwaobransthanhmayelkh 1 srangkhunenuxnginsasnaphrahmn lththiiswnikay odykhngmikarprbepliyncakphuththsthanmaepnethwsthanemuxsasnaphrahmnerimekhamamixiththiphlindinaednaethbni aelakhngsrangkhuninewlaiklekhiyngkbprasathemuxngaekhk aelaprasathonnku sungxyuhangipthangthistawnxxkkhxngemuxngesma odyprasaththngsxnghlngnikahndxayurawkhrunghlngphuththstwrrsthi 15 trngkbsilpaekhmraebbekaaaekr 6 prasathprathankhxngobransthanhmayelkh 1 obransthanhmayelkh 2 aekikh thitngobransthanhmayelkh 2 obransthanhmayelkh 2 epnsasnsthanenuxnginsasnaphuthth nacaepnswnkhxngthanecdiy enuxngcaksakxakharthiepnecdiyinwthnthrrmthwarwdiswnihymiaephnphngepnrupsiehliymcturs 7 110obransthanmirupaebbaephnphngepnrupsiehliymctursephimmumim 20 khnad 7 90 x 8 emtr sphaphcharudehluxephiyngswnthansungpraman 1 emtress thanthangdanthisitmisphaphkhxnkhangsmburnthisud prakxbdwythanhnakradanrxngrbthanbwephimmumim 20 trngkungklangthanmithangedinkhunbnxakharrupsiehliymphunpha thandanthistawnxxkpraktthangedinelknxy swnthandanthisehnuxaelathisitmisphaphcharudmak danthistawntkechiyngitkhxngobransthanmiaenwxithbang aephepnlankwang aelainaenwediywknnihangxxkipxikpraman 15 emtr miaenwxithaebbediywknaetmihlumesaklmprakxbxyuhlayhlum snnisthanwaxacepnxakharkhnadelkcakkarkhudaetngemuxpi ph s 2542 phbchinswnthrrmckrsilaphayinthanecdiy aetkepn 2 chin slkthubthngsxngdan briewnkhxbodyrxbslklwdlayphkkud thdekhamaepnlaydxkwngklmslbrupsiehliymkhnmepiykpunaethrkdwylayphkkudphayinesnkhukhnan briewnsithrrmckrslkepnaethngyudkngiw playsislkepnlayphkkudkhndwylaycudikhplaphayinlayesnkhukhnan briewnrahwangsidanaerkslkepnlaydxkbw danthisxngslkepnlaykantxdxk 3 173 epnlksnasilpkrrmthiehmuxnkbthrrmckrsilaphbthiwdthrrmckresmaram aelasamarthethiybidkbthrrmckrthiphbinemuxngobransmythwarwdi echn emuxngnkhrpthmobran cnghwdnkhrpthm emuxngkhubw cnghwdrachburi emuxngxuthxng cnghwdsuphrrnburi epntn xayurawphuththstwrrsthi 12 13 8 nxkcakniyngphbchinswnmuxkhxngpratimakrrmpunpnsnnisthanwaepnphraophthistw aelachinswnpunpnrupstwaephnphngkhxngobransthanhmayelkh 2 milksnakhlaykhlungkbobransthanhmayelkh 8 hmayelkh 10 hmayelkh 21 hmayelkh 22 hmayelkh 28 hmayelkh 29 hmayelkh 34 emuxngkhubw cnghwdrachburi obransthanhmayelkh 3 aekikh thitngobransthanhmayelkh 3 obransthanhmayelkh 3 epnklumobransthanprakxbdwyswnthankhxngecdiyaelawiharkhnadelk snnisthanwasrangkhunrawphuththstwrrsthi 12 15ecdiy epnecdiyinphngaepdehliymkxdwyxithimsxpun sphaphehluxephiyngswnthan sungpraman 70 esntiemtr odythandanthistawnxxkmisphaphphngthlaylng trngkungklangkhxngthanecdiyaetladanthaepnthangkhun lng snnisthanwaxacepnecdiythrngrakhngklmaephnphngkhxngecdiylksnanisamarthethiybidkbecdiyhmayelkh 10 thiemuxngxuthxng cnghwdsuphrrnburi 8 46 aelathanecdiyaepdehliymthiemuxngkhubw cnghwdrachburi 9 wihar tngxyuthangthisehnuxkhxngecdiy sphaphcharudphngthlayehluxephiyngaenwxitheriyngknepnrupsiehliymphunpha khnad 6 70 x 10 90 emtr phayinxakharwihartidkbphnngdanhlngepneninsungkwabriewnxunkxxithepnrupsiehliym briewnodyrxbwiharpkibesmakhuthacakhinthraykhnadihy lksnaibesmaimmilwdlay oklnaetngxyanghyab odypkxyusithis idaek danthistawntk danthistawntkechiyngit danthistawntkechiyngehnux aeladanthisit bangxnmisphaphhkcharud snnisthanwaedimkhngpkxyuodyrxbwiharthngaepdthis obransthanhmayelkh 4 aekikh thitngobransthanhmayelkh 4 obransthanhmayelkh 4 snnisthanwa epnsasnsthanpraephthwihar snnisthanwasrangkhunrawphuththstwrrsthi 12 15 miaephnphngrupsiehliymphunpha khnad 8 25 x 13 50 emtr sphaphehluxephiyngswnthankxdwyxithsungpraman 1 20 emtr wiharhnhnaipthangthistawnxxksungdanhnathaepnbnidthangkhunlngsamkhn khnlangsudthaepnxthcnthrrupkhrungwngklm swnkhnbnsudmirxngrxyhlumesaxyuthngsxngkhangkhxngbnid thandanthisehnuxaelaitthaepnchxngrupsiehliymphunphaewalksnaykekcekhaipdanlasxngchxng mirxngrxykarpradblwdlaydwypunpn phunphayinwiharmikarkxxithsxnknepnchnhna briewnkhxbdannxkkhxngphunwiharmirxngrxyhlumesathngsidanbriewnodyrxbwiharpkibesmakhu thacakhinthraykhnadihy lksnaibesmaimmilwdlay oklnaetngxyanghyab odypkxyuhathis idaek danthistawntkechiyngehnux danthistawntk danthistawntkechiyngit danthistawnxxkechiyngit aeladanthistawnxxkcakkarkhudaetngemux ph s 2542 phbchinswnsthaptykrrm chinswnpunpn chinswnrupekharph thanrupekharphhinthrayslkepnlayklibbw 1 87aephnphngkhxngobransthanhmayelkh 4 samarthethiybidkbobransthanhmayelkh 4 thiemuxngfaaeddsngyang cnghwdkalsinthu aelalksnathangkhundanhnathithaepnxthcnthrsilaaebbthiniyminsilpalngka 7 112 khlaykbbnidthangkhunkhxngwiharhmayelkh 5 thiemuxngxuthxng cnghwdsuphrrnburi 8 34 obransthanhmayelkh 5 aekikh thitngobransthanhmayelkh 5 obransthanhmayelkh 5 miaephnphngrupsiehliym khnad 6 12 x 6 40 emtr sphaphehluxephiyngswnthankxdwyxithsungpraman 1 emtr nacaepnecdiythrngklm enuxngcaksakxakharthiepnecdiyinwthnthrrmthwarwdiswnihymiaephnphngepnrupsiehliymcturs 7 110 snnisthanwasrangkhunrawphuththstwrrsthi 12 15xiththiichkxsrangmilksnaepnxithkxnihymiaeklbkhawpn epnxithaebbthiichinwthnthrrmthwarwdi kxsxnkhunmaodyimsxpunodykxepnphnngxakharrupsiehliymcturshnapraman 70 esntiemtr lxmrxbaeknklangthithmthrayaelakxnhinsimwngkhnadelkaephnphngkhxngobransthanhmayelkh 5 samarthethiybidkbobransthanemuxngkhubw cnghwdrachburi aelaobransthanhmayelkh 11 thiemuxngxuthxng cnghwdsuphrrnburi obransthanhmayelkh 7 aekikh thitngobransthanhmayelkh 7 obransthanhmayelkh 7 epnxakharthrngprasathkxdwyxith miaephnphngrupsiehliymcturs khnad 9 60 x 9 60 emtr sphaphcharudehluxephiyngswnthan sungpraman 1 80 emtr lksnakhxngthanbriewnmumthngsi miesakhnadihykxnunsungkhunmalksnaykekc phnngdanthisitsungepndanhnathaepnthanyxmummibnidthangkhunlng swnthanxiksamdanthiehlux trngkungklangthaepnbnidthangkhunsupratuhlxkodythangthisehnuxmirxngrxypunpnwapratuhlxknikxepnsumpradisthanrupekharph swnphnngsxngkhangkhxngbnidthaepnkrxbsiehliymphunphaewalngipsungkhngpradblwdlaypunpnphayinxakharkxepnhxngrupsiehliymctursthmxddwyhinthrayeriyngepnchnkhunipaelwchabpunkhawepnphun thdcakaenwhinthraykxxithlxmrxbxikchnhnungxiththiichkxsrangmilksnaepnxithkxnihymiaeklbkhawpn epnxithaebbthiichinwthnthrrmthwarwdi kxsxnkhunmaodyimsxpunaelapradblwdlaypunpncakkarkhudaetngemuxpi ph s 2542 phbchinswnlwdlaypunpncanwnmak aelachinswnphraphuththruphinthray 1 102 106 thaihsnnisthanwaepnsasnsthanenuxnginsasnaphuththobransthanhmayelkh 7 xacepnxakharthrngprasathaebbxinediyitinwthnthrrmthwarwdi 3 171 milksnakhlaykhlungkbobransthanbancaela hmayelkh 3 thiemuxngyarng cnghwdpttani 10 3 4 obransthanhmayelkh 8 aekikh thitngobransthanhmayelkh 8 obransthanhmayelkh 8 miaephnphngrupwngklm khnadesnphansunyklang 7 70 emtr sphaphcharudehluxephiyngswnthan sungpraman 0 50 emtr snnisthanwasrangkhunrawphuththstwrrsthi 12 15kxdwyxithkxnihymiaeklbkhawpn epnxithaebbthiichinwthnthrrmthwarwdi kxsxnkhunmaodyimsxpunaelwchabpunpidphnng kxepnphnngxakharthrngklmhnapraman 0 70 emtr lxmrxbaeknklangthithmthrayaelakxnhinsimwngkhnadelksnnisthanwaobransthanhmayelkh 8 khngepnecdiythrngklm lksnaaephnphngkhlaykbecdiythanklmthiemuxngkhubw cnghwdrachburi 9 52 54 obransthanhmayelkh 9 aekikh thitngobransthanhmayelkh 9 obransthanhmayelkh 9 miaephnphngrupsiehliymphunpha khnad 4 10 x 8 10 emtr sphaphcharudehluxephiyngswnthan sungpraman 0 70 emtr mithangekha xxkdanthisit snnisthanwasrangkhunrawphuththstwrrsthi 12 15kxdwyxithkxnihymiaeklbkhawpn epnxithaebbthiichinwthnthrrmthwarwdi kxsxnkhunmaodyimsxpunaelwchabpunpidphnng kxepnphnngxakharrupsiehliymphunpha hnapraman 0 70 emtr lxmrxbaeknklangthithmthrayaelakxnhinsimwngkhnadelksnnisthanwaobransthanhmayelkh 9 khngepnsasnsthanpraephthwihar lksnaaephnphngkhlaykbsakwiharthiemuxngkhubw cnghwdrachburi 9 46 51 phranxn wdthrrmckresmaram aekikh dubthkhwamhlkthi wdthrrmckresmaram phraphktrkhxngphranxnmilksnaepnehliym prakxbdwyaephnhinsiaephnsxnkn thitngwdthrrmckresmaram phranxn wdthrrmckresmaram epnphranxnhinthraythimikhnadihythiphbinpraethsithy srangdwykxnhinthrayaedngkhnadihyhlaykxnprakxbknkhuntamaenwthisehnuxit mikarslkhinthrayihepnrupthrngphranxn sphaphodyrwmcharud khwamyawtlxdxngkhphranxnpraman 13 3 emtr sung 2 8 emtr nxntaaekhngkhwa phraesiyrhnipthangthisit phinphraphktripthangthistawnxxk 11 12 swnphraphktrprakxbdwydwyhinthraysiaephnsxnkn phraphktrkhxnkhangehliym phrakhnngslkepnsnnuntxknepnpikka phraentrehluxbtalng phranasikkhxnkhangkwang mumphraoxsthchikhunaeymphrasrwl phraskkhmwdepnknhxysphaphaetkcharud danhlngphraesiyrslkoklniwxyangkhraw miechphaaphrahtththirxngrbphraesiyr swnphrasxepnhinklm esnphasunyklang 90 esntiemtr phrawrkayprakxbdwyhinthraykhnadihyyawtlxdepnaephnediywkn pccubnmikarkhlumphakhlumswnphrawrkay swnphranaphilngmathungkhxphrabathaetkhkcharudswnphrabaththngsxngkhangchidtidesmxkn misphaphdiepnrupphrabathaelafaphrabathchdecn mikarkxaethnxithhnunswnphrakhnxngxngkhphra rupaebbsilpakhxngphraphuththisyasnnikhngidrbxiththiphlkhxngsilpaaebbthwarwdipapnkbsilpaphunemuxng xayurawphuththstwrrsthi 15bnthit liwchychay aelakhna klawwakhtikarsrangphraphuththisyasnkhxngemuxngesmani ehmuxnkbphraphuththisyasnemuxngopolnnaruwa klawkhux hnphraesiyripthangthisit aelasrangphraphuththisyasnphayinkhnthkudithiepnxakharaekhb 13 206 209obranwtthuthikhnphbphayinbriewnphranxnthisakhy khux thrrmckrhinthrayhruxesmathrrmckr phbxyuebuxnghnaphraphktrphraphuththisyasn khnadesnphasunyklang 1 2 emtr esnphasunyklangdumlx 31 esntiemtr epnthrrmckraebbthub aekaslkepnrupsiknglx txnlangkhxngthrrmckrmilayslkhnakalhruxphnsbdi lksnathangsilpkrrmethiybidkbthrrmckrthiphbcakemuxngnkhrpthm nacasrangkhuninewlaediywkbphraphuththisyasnaelaemuxngesma 11 12 karkhudaetngkhxngkrmsilpakryngphbhlkthanephimetimkhuxkwanghmxbaelaesaesmathrrmckr xacaesdngihehnwaaetedimesmathrrmckrchinnikhngtngxyubnhwesa mikwanghmxbxyudanhna aelawangxyudanhnaphranxn 11 12 phranxn thadwyhinthray idrbxiththiphlkhxngsilpaaebbthwarwdipapnkbsilpaphunemuxngprawti aekikhkarsuksa aekikh emuxngesmaepnemuxngobrankhnadihy idrbkarklawthunginphusnicobrankhdithngithyaelatangchati odymikarklawthungkhrngaerkinrchsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw 1 4 5 dngni khuxinpi ph s 2428 nksarwcchawfrngess exetiyn aexmxnieyr idekhamasarwcthangobrankhdiinpraethsithy odybnthukiwwa emuxngesmaepnemuxnginsmyxanackrekhmrobran miaephnphngepnrupsiehliymphunpha txmainpi ph s 2472 emuxkhrngsmedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaph esdcpraphashwemuxngmnthlxisan idthrngsnnisthanekiywkbemuxngobraninekhtxaephxsungeniniwwa epnthitngkhxngemuxngnkhrrachsimaeka odymiemuxngsxngemuxngtngxyuiklknkhux emuxngesma sungxyuthangfngdanthisehnuxkhxnglatakhxng aelaemuxngokhramaprathitngxyuthangfngthisitkhxng latakhxng hangknpraman 3 4 kiolemtr txmainsmyxyuthyatxnplay smysmedcphranarayn cungidyayemuxngmatngxyuinbriewntwcnghwdnkhrrachsimainpccubnphrxmkb nachuxemuxngthngsxngkhuxemuxngesma aelaemuxngokhramapurahruxokhrachmarwmknepnchuxemuxngihm namwa nkhrrachsima 3 105inpi ph s 2479 krmsilpakridprakaskhunthaebiynobransthanenuxthipraman 2 475 ir txmainpi ph s 2533 hnwysilpakrthi 6 karsarwcephuxthaphngaelapkhmudekhtobransthanemuxngesma phrxmkbidthakarkhudhlumthdsxbthangobrankhdi khnad 3 x 3 emtr ephuxsuksaladbkarxyuxasykhxngmnusyaelayukhsmy canwn 1 hlum inbriewnemuxngchninthangthistawntkechiyngitkhxngemuxng aelainpi ph s 2542 sanknganobrankhdiaelaphiphithphnthsthanaehngchatithi 9 nkhrrachsima idthakarkhudaetngesrimkhwammnkhngobransthan canwn 9 hlngphayinemuxngesma rahwangeduxnmithunayn knyayn 2542sucitt wngseths idechuxwaemuxngesmakhuxemuxngradkhxngphxkhunphaemuxng odyidklawwa xyangemuxngesma emuxngradkhxngphxkhunphaemuxngincaruksuokhthy swnsungeninkhux emuxngokhracheka 14 phthnakardanwthnthrrm aekikh phlkarsuksahlkthanthangobrankhdithiemuxngesmaidkhxsrupwa chumchnobranaehngnimikarxyuxasytxenuxngmatngaetsmyaerkerimprawtisastr aelamikhwamsmphnththangwthnthrrmkbchumchnobraninphumiphakhxun odysamarthaebngphthnakarthangwthnthrrmkhxngemuxngesmaidepn 3 rayadngni 3 157 182 2 109 110 15 140 147 rayathi 1 phuththstwrrsthi 10 11 aekikh phbhlkthanwamichumchnekhamatngthinthanerimaerk odyepnchumchnthimiphthnakarthangwthnthrrmsubtxmacakchumchninwthnthrrmsmykxnprawtisastrtxnplaythixasyxyubriewnlumaemnamul hlkthanthangobrankhdisakhythiaesdngthungwthnthrrmthismphnthkbchumchnobranrwmsmybriewnlumaemnamulaelachumchnobranbriewnlumaemnaecaphraya aelalumaemnalphburi pask idaek phachnadinephaaebbsidakhdmnhruxaebbphimayda sungepnrupaebbphachnadinephathiphbaephrhlayinchumchnobranbriewnlumaemnamultxnbnaelaphbkaraephrkracayipyngchumchnbriewnlumaemnaecaphraya aelalumaemnalphburi pask phachnadinephaaebbrxyexd sungepnphachnadinephathiphbhnaaennbriewntxnklangkhxngaemnamul rayathi 2 phuththstwrrsthi 12 15 aekikh epnchwngthichumchnmikarxyuxasyxyanghnaaenn mihlkthanaesdngthungkarrbxiththiphlwthnthrrmthwarwdicakphakhklangxyangednchd khux karnbthuxsasnaphuthth khux nikayethrwathaelamhayan inchwngewlanichumchnidsrangsasnsthanaelasasnwtthuenuxnginsasnaphuththkhunthngphayinemuxngchninaelachnnxk idaek ecdiy wihar ibesmahinthray phraphuththrup aelathrrmckrsila sungepnrupaebbsilpkrrmthiidrbxiththiphlsilpathwarwdiphsmsilpaphunemuxng swnhlkthanobrankhdixunthisakhy xathi hmxnamiphwy sungepnrupaebbthiehmuxnkbthiphbinchumchnobransmythwarwdiinphakhklangkhxngpraethsithy lukpdaekwsiediyw takhndinepha ebiydinepha hmxmisn epntn rayathi 3 phuththstwrrsthi 15 18 aekikh chumchnobranaehngniidrbxiththiphlwthnthrrmekhmrekhamaphsmphsankbwthnthrrmthwarwdi enuxngcakphbhlkthankhxngsthaptykrrmaelapratimakrrminwthnthrrmrwmaebbekhmr aelamirxngrxykarprbepliynphuththsthanepnethwsthan sungepnhlkthanthiaesdngwasasnaphrahmnerimekhamamibthbathaethnthisasnaphuthth sxdkhlxngkbhlkthansilacarukthiphbinemuxngesma nxkcakniyngpraktrupaebbphachnadinephaaebbekhmrhruxekhruxngekhluxbaebbekhmraethnthiphachnadinephainwthnthrrmthwarwdisungepnrupaebbphachnadinephathiphbaephrhlayinchumchnobranthiidrbxiththiphlwthnthrrmekhmrthnginphakhtawnxxkechiyngehnuxaelaphakhklangkhxngpraethsithy inchwngewlanimikarkhyaychumchnkhunipthangthisehnuxkhxngemuxngchninaelamikarkhudkhunarupsiehliymkhuninswnkhxngemuxngthikhyayxxkip hlkthanthiaesdngthungkartidtxsmphnthkbchumchnobrannxkphumiphakhthiphbinchwngewlani khux ekhruxngthwycinsmyrachwngssngaelahywn hlngcakphuththstwrrsthi 18 epntnip emuxngesmacungthukthingrangxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 hck puranrks rayngankarkhudaetngephuxkarburnaobransthanemuxngesma tablesma xaephxsungenin cnghwdnkhrrachsima raynganesnxtxsanknganobrankhdiaelaphiphithphnthaehngchatithi 9 cnghwdnkhrrachsima 2542 2 0 2 1 2 2 myuri wirapraesrith sricnasa rthxisrathirabsung sankphimphmtichn 2545 3 0 3 1 3 2 3 3 3 4 3 5 3 6 3 7 3 8 ekhmika hwngsukh phthnakarthangwthnthrrminlumaemnamul krnisuksaaehlngobrankhdiemuxngesma xaephxsungenin cnghwdnkhrrachsima withyaniphnthpriyyasilpsastrmhabnthit obrankhdismyprawtisastr bnthitwithyaly mhawithyalysilpakr 2543 4 0 4 1 4 2 krmsilpakr carukinpraethsithy elm 3 xksrkhxm phuththstwrrsthi 15 16 krungethph hxsmudaehngchati krmsilpakr 2529 prakaskrmsilpakr eruxng kahndcanwnaelakhxbekhtobransthansahrbchati PDF rachkiccanuebksa 69 60 3283 30 knyayn 2495 Check date values in date help suriywuthi sukhswsdi silparwmaebbekhmrinpraethsithy phumihlngthangpyya rupaebbthangsilpkrrm krungethph mtichn 2537 7 0 7 1 7 2 skdichy saysingh silpathwarwdi krungethph emuxngobran 2547 8 0 8 1 8 2 sanknganobrankhdiaelaphiphithphnthaehngchatithi 2 suphrrnburi obrankhdiemuxngxuthxng nnthburi orngphimphshmitrphrinting 2545 9 0 9 1 9 2 smskdi rtnkul obrankhdiemuxngkhubw krungethph krmsilpakr 2535 phrthiphy phnthuokwith karsuksawiekhraahobransthanemuxngyarng suksakrniklumobransthanbancaela xaephxyarng cnghwdpttani wnnikhxngobrankhdiithy 2547 11 0 11 1 11 2 thnngskdi haywngs phranxnwdthrrmckresmaram silpakr 2534 12 0 12 1 12 2 thwch punonthk esma emuxng chumchnobran saranukrmwthnthrrmithyphakhxisan elm 11 2542 bnthit liwchychay aelakhna raynganphlkarwicyeruxngkarpradisthanphraphuththsasnacaklngkathwipindinaednpraethsithysmywthnthrrmthwarwdi krungethph smaphnth 2553 phxkhunphaemuxng hayipihn phmechuxwathanmaepnkstriyxyuthya khrrkhchy sucitt thxdnxng emuxngesma thaphisucnhlakpmprawtisastr chlit chykhrrchit emuxngesmakhuxsunyklangsricnasa sricnasa rthxisrathirabsung sankphimphmtichn 2545 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title emuxngesma amp oldid 9358382, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม