fbpx
วิกิพีเดีย

ไอโซมอลทูโลส

ไอโซมอลทูโลส (อังกฤษ: Isomaltulose) คือคาร์โบไฮเดรต (carbohydrate) ประเภทไดแซคคาไรด์ (disaccharide) ที่ประกอบด้วยกลูโคสและฟรุกโตสอย่างละ 1 โมเลกุล ต่อกันด้วยพันธะไกลโคซิดิกชนิดแอลฟา-1,6 (alpha-1,6-glycosidic bond) ซึ่งสามารถพบได้น้อยในธรรมชาติ เช่น น้ำผึ้ง และน้ำอ้อย เป็นต้น ไอโซมอลทูโลสถูกพัฒนาและผลิตขึ้นครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2547

ไอโซมอลทูโลส
ชื่อตาม IUPAC 6-O-α-D-Glucopyranosyl-D-fructose
ชื่ออื่น พาลาติโนส
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [13718-94-0][CAS]
PubChem 83686
EC number 237-282-1
ChemSpider ID 75509
คุณสมบัติ
สูตรโมเลกุล C12H22O11
มวลโมเลกุล 342.3 g mol−1
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

คุณสมบัติ

ไอโซมอลทูโลสผลิตจากน้ำตาลทรายที่ผ่านกระบวนการทางชีวภาพโดยใช้เอนไซม์ ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีของน้ำตาลซูโครส ส่งผลให้พันธะระหว่างโมเลกุลของกลูโคสและฟรุกโตสแข็งแรงมากขึ้น จากโครงสร้างนี้ทำให้ไอโซมอลทูโลสถูกย่อยและดูดซึมได้ช้าภายในระบบทางเดินอาหารของร่างกาย และมีรสชาติหวานน้อยกว่าน้ำตาลทรายครึ่งหนึ่ง เมื่อรับประทานแล้วส่งผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่าเมื่อเทียบกับการบริโภคน้ำตาลทรายและกลูโคสอย่างชัดเจน ทำให้ได้ค่าดัชนีน้ำตาลเท่ากับ 38 ดังนั้นไอโซมอลทูโลสจึงถูกจัดเป็นอาหารที่อยู่ในกลุ่มดัชนีน้ำตาลต่ำ (low GI) ซึ่งมีคุณสมบัติในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้คงที่สม่ำเสมอกว่าคาร์โบไฮเดรตชนิดอี่น การให้พลังงานที่สม่ำเสมอของไอโซมอลทูโลสนี้ช่วยให้สมองและกล้ามเนื้อทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ อีกทั้งเพิ่มการเผาผลาญพลังงานจากไขมันในร่างกาย และไม่ทําให้ฟันผุ

ไอโซมอลทูโลสสามารถทนต่อความเป็นกรด-ด่างที่ pH มากกว่า 3.0 และทนอุณหภูมิในการแปรรูปสูงถึง 120 องศาเซลเซียส โดยโครงสร้างไม่สลายตัว ปัจจุบันไอโซมอลทูโลสผ่านการรับรองโดยองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (FDA) ว่าสามารถใช้เติมลงไปในอาหารได้อย่างปลอดภัย (Generally Recognized as Safe ; GRAS) สำหรับประเทศไทยไอโซมอลทูโลสถูกจัดอยู่ในหมวดอาหารทั่วไปโดยสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา อีกทั้งยังได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอาหาร และอาหารเพื่อสุขภาพหรืออาหารชนิดใหม่จากองค์การอาหารและยาในหลายประเทศ  เช่น ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เป็นต้น

แหล่งพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต

ไอโซมอลทูโลส จัดเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายสามารถย่อยและดูดซึมได้สมบูรณ์ในลำไส้เล็ก โดยเอนไซม์ที่ชื่อว่าไอโซมอลเทส (isomaltase) ที่อยู่บนผนังลำไส้เล็ก ซึ่งเอนไซม์จะย่อยพันธะไกลโคซิดิกชนิดแอลฟา-1,6 ของน้ำตาลไอโซมอลทูโลส ได้เป็นโมเลกุลกลูโคสและฟรุกโตสและถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดซึ่งเหมือนกับผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยน้ำตาลทราย

ด้วยคุณสมบัติการเป็นคาร์โบไฮเดรต ไอโซมอลทูโลสให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อน้ำหนัก 1 กรัม เทียบเท่ากับพลังงานจากน้ำตาลทราย หรือข้าวแป้งทั่วไป

ให้พลังงานอย่างต่อเนื่องยาวนาน

จากการศึกษาพบว่าไอโซมอลทูโลสจะถูกย่อยด้วยเอนไซม์ไอโซมอลเทส ซึ่งกระบวนการย่อยนี้จะช้ากว่าการย่อยน้ำตาลทรายด้วยเอนไซม์ซูเครส (sucrase) ถึง 4.5 เท่า ทำให้ไอโซมอลทูโลสถูกสลายเป็นพลังงานให้แก่ร่างกายอย่างช้า ๆ สม่ำเสมอและยาวนาน

ส่งผลต่อระดับน้ำตาลและระดับอินซูลินในเลือดในระดับต่ำ

ระดับน้ำตาลและอินซูลินในเลือดหลังการรับประทานไอโซมอลทูโลสต่ำกว่าการทานน้ำตาลทรายและกลูโคสทั่วไป จากการศึกษาในคนไทยพบว่าไอโซมอลทูโลสมีค่าดัชนีน้ำตาลเท่ากับ 38 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำตาลทรายและกลูโคสที่มีค่าดัชนีน้ำตาลเท่ากับ 65 และ 100 ตามลำดับ พบว่าไอโซมอลทูโลสส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดค่อย ๆ เพิ่มขึ้น และไม่ส่งผลให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (hyperglycemia) เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำตาลทรายและกลูโคส

อินซูลิน คือฮอร์โมนทีหลั่งจากตับอ่อน ทำหน้าที่เก็บน้ำตาลในเลือดเข้าสู่เนื้อเยื่อต่าง ๆ เพื่อเผาผลาญเป็นพลังงานแก่ร่างกาย และช่วยรักษาสมดุลของระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งการศึกษาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 พบว่า หลังจากรับประทานไอโซมอลทูโลส ร่างกายหลั่งอินซูลินน้อยกว่าอย่างชัดเจนเมื่อเทียบกับการรับประทานน้ำตาลทราย แสดงให้เห็นว่าไอโซมอลทูโลสส่งผลให้ตับอ่อนทำงานหนักน้อยกว่าน้ำตาลทราย และช่วยชะลอความเสี่ยงการเป็นเบาหวานอันเนื่องมาจากความเสื่อมของตับอ่อน

ไอโซมอลทูโลสส่งผลเพิ่มการหลั่งฮอร์โมนอินครีตินชนิด GLP-1 มากขึ้นถึง 2 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับการทานน้ำตาลทรายทั่วไป ซึ่ง GLP-1 เป็นฮอร์โมนที่มีบทบาทสำคัญในการรักษาระดับน้ำตาลในเลือด โดยการดึงน้ำตาลเข้าสู่เซลล์ และลดการปลดปล่อยน้ำตาลเข้าสู่กระแสเลือด

เพิ่มการเผาผลาญไขมันในร่างกาย

เนื่องจากไอโซมอลทูโลสถูกย่อยและดูดซึมเข้าสู่ร่างกายอย่างช้า  และผลจากการที่ร่างกายหลั่งอินซูลินออกมาน้อยลง ทำให้อัตราการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตเป็นพลังงานในร่างกายลดลง จากกลไกเหล่านี้จึงส่งผลให้ร่างกายมีการนำไขมันที่ถูกเก็บไว้ในเซลล์ไขมันออกมาเผาผลาญเป็นพลังงานแทน ซึ่งอัตราการเผาผลาญไขมันที่เกิดขึ้นนี้ สูงกว่าอัตราการเผาผลาญเมื่อทานน้ำตาลทรายทั่วไปถึงร้อยละ 20 ทั้งนี้เมื่อกรดไขมันในเลือดและเซลล์ไขมันถูกดึงไปสลายเป็นพลังงาน ส่งผลให้ระดับไตรกลีเซอไรด์ลดลง และลดการสะสมไขมันในตับและเซลล์ไขมันในร่างกาย

เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง

อัตราการดูดซึมน้ำตาลเข้าสู่ร่างกายมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของสมอง ด้วยคุณสมบัติของไอโซมอลทูโลสที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำทำให้ร่างกายดูดซึมเข้าสู่ร่างกายช้า งานวิจัยในเด็กอายุ 5-11 ปี พบว่าการรับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของไอโซมอลทูโลสมีส่วนช่วยเสริมความจำและทำให้อารมณ์ดีขึ้น ภายหลังจากการทานอาหารเช้า 3 ชั่วโมง เมื่อเปรียบเทียบกับอาหารที่มีส่วนประกอบของน้ำตาลทราย

ไม่ทำให้ฟันผุ

ไอโซมอลทูโลสไม่ทำให้ฟันผุ เนื่องจากจุลินทรีย์ในช่องปากไม่สามารถย่อยสลายไอโซมอลทูโลสได้ จึงไม่ก่อให้เกิดการสร้างคราบพลัคและกรดมาทําลายสารเคลือบฟัน ที่เป็นต้นเหตุหลักของฟันผุ

การนำไปใช้ในผลิตภัณฑ์อาหาร

ไอโซมอลทูโลสถูกใช้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มหลากหลายชนิด เช่น ขนมหวานเบเกอรี่ ขนมเด็ก น้ำผลไม้ เครื่องดื่มสำหรับผู้ออกกำลังกาย เครื่องดื่มชูกำลัง อาหารเสริมสูตรดื่ม ผลิตภัณฑ์ทดแทนมื้ออาหาร อาหารทางการแพทย์ และผลิตภัณฑ์สำหรับออกกำลังกาย เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ (Functional Food) เป็นอาหารทางเลือกที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำสำหรับผู้บริโภคที่ต้องการควบคุมอาหาร ควบคุมะระดับน้ำตาลในเลือด และลดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน เป็นต้น

อ้างอิง

  1. Siddiqui, I. R.; Furgala, B. (January 1967). "Isolation and Characterization of Oligosaccharides from Honey. Part I. Disaccharides". Journal of Apicultural Research (ภาษาอังกฤษ). 6 (3): 139–145. doi:10.1080/00218839.1967.11100174. ISSN 0021-8839.
  2. ผศ. ดร. วันทนีย์ เกรียงสินยศ. (2553) การศึกษาค่าดัชนีน้ำตาล การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำตาลและการเผาผลาญสารอาหารเพื่อนำไปใช้เป็นพลังงานภายหลังการรับประทานน้ำตาลไอโซมอลตูโลส. มหาวิทยาลัยมหิดล, สถาบันโภชนาการ.
  3. Sentko, Anke; Willibald-Ettle, Ingrid (2012-07-16), O'Donnell, Kay; Kearsley, Malcolm W. (บ.ก.), "Isomaltulose", Sweeteners and Sugar Alternatives in Food Technology, Wiley-Blackwell, pp. 397–415, doi:10.1002/9781118373941.ch18, ISBN 978-1-118-37394-1, สืบค้นเมื่อ 2021-03-03
  4. Nutrition, Center for Food Safety and Applied (2020-08-04). "GRAS Notice Inventory". FDA (ภาษาอังกฤษ).
  5. Winger, Ray (September 2003). "Australia New Zealand Food Standards Code". Food Control. 14 (6): 355. doi:10.1016/s0956-7135(03)00044-6. ISSN 0956-7135.
  6. Lina, B.A.R.; Jonker, D.; Kozianowski, G. (October 2002). "Isomaltulose (Palatinose®): a review of biological and toxicological studies". Food and Chemical Toxicology (ภาษาอังกฤษ). 40 (10): 1375–1381. doi:10.1016/S0278-6915(02)00105-9.
  7. Lyn O'Brien Nabors (2012). Alternative sweeteners (4th ed.). Boca Raton, FL: CRC Press. ISBN 1-4398-4615-4. OCLC 760056415.
  8. Ang, Meidjie; Linn, Thomas (2014-10-01). "Comparison of the effects of slowly and rapidly absorbed carbohydrates on postprandial glucose metabolism in type 2 diabetes mellitus patients: a randomized trial". The American Journal of Clinical Nutrition (ภาษาอังกฤษ). 100 (4): 1059–1068. doi:10.3945/ajcn.113.076638. ISSN 0002-9165.
  9. Maeda, Aya; Miyagawa, Jun-ichiro; Miuchi, Masayuki; Nagai, Etsuko; Konishi, Kosuke; Matsuo, Toshihiro; Tokuda, Masaru; Kusunoki, Yoshiki; Ochi, Humihiro; Murai, Kazuki; Katsuno, Tomoyuki (May 2013). "Effects of the naturally-occurring disaccharides, palatinose and sucrose, on incretin secretion in healthy non-obese subjects". Journal of Diabetes Investigation (ภาษาอังกฤษ). 4 (3): 281–286. doi:10.1111/jdi.12045. PMC 4015665. PMID 24843667.
  10. Keyhani-Nejad, Farnaz; Barbosa Yanez, Renate Luisa; Kemper, Margrit; Schueler, Rita; Pivovarova-Ramich, Olga; Rudovich, Natalia; Pfeiffer, Andreas F.H. (March 2020). "Endogenously released GIP reduces and GLP-1 increases hepatic insulin extraction". Peptides (ภาษาอังกฤษ). 125: 170231. doi:10.1016/j.peptides.2019.170231.
  11. Sridonpai, Pimnapanut; Komindr, Surat; Kriengsinyos, Wantanee (March 2016). "Impact of Isomaltulose and Sucrose Based Breakfasts on Postprandial Substrate Oxidation and Glycemic/Insulinemic Changes in Type-2 Diabetes Mellitus Subjects". Journal of the Medical Association of Thailand = Chotmaihet Thangphaet. 99 (3): 282–289. ISSN 0125-2208. PMID 27276739.
  12. König, Daniel; Theis, Stephan; Kozianowski, Gunhild; Berg, Aloys (June 2012). "Postprandial substrate use in overweight subjects with the metabolic syndrome after isomaltulose (Palatinose™) ingestion". Nutrition (ภาษาอังกฤษ). 28 (6): 651–656. doi:10.1016/j.nut.2011.09.019.
  13. Young, Hayley; Benton, David (September 2015). "The effect of using isomaltulose (Palatinose™) to modulate the glycaemic properties of breakfast on the cognitive performance of children". European Journal of Nutrition (ภาษาอังกฤษ). 54 (6): 1013–1020. doi:10.1007/s00394-014-0779-8. ISSN 1436-6207. PMC 4540784. PMID 25311061.
  14. Hamada, Shigeyuki (2002-01-01). "Role of sweeteners in the etiology and prevention of dental caries". Pure and Applied Chemistry. 74 (7): 1293–1300. doi:10.1351/pac200274071293. ISSN 1365-3075.

ไอโซมอลท, โลส, งกฤษ, isomaltulose, อคาร, โบไฮเดรต, carbohydrate, ประเภทไดแซคคาไรด, disaccharide, ประกอบด, วยกล, โคสและฟร, กโตสอย, างละ, โมเลก, อก, นด, วยพ, นธะไกลโคซ, กชน, ดแอลฟา, alpha, glycosidic, bond, งสามารถพบได, อยในธรรมชาต, เช, ำผ, และน, ำอ, อย, เป, นต,. ixosmxlthuols xngkvs Isomaltulose khuxkharobihedrt carbohydrate praephthidaeskhkhaird disaccharide thiprakxbdwykluokhsaelafrukotsxyangla 1 omelkul txkndwyphnthaiklokhsidikchnidaexlfa 1 6 alpha 1 6 glycosidic bond sungsamarthphbidnxyinthrrmchati echn naphung aelanaxxy epntn 1 ixosmxlthuolsthukphthnaaelaphlitkhunkhrngaerkinpraethsithyemuxpi ph s 2547ixosmxlthuolschuxtam IUPAC 6 O a D Glucopyranosyl D fructosechuxxun phalationselkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 13718 94 0 CAS PubChem 83686EC number 237 282 1ChemSpider ID 75509khunsmbtisutromelkul C12H22O11mwlomelkul 342 3 g mol 1hakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPasthaniyxy ekhmi enuxha 1 khunsmbti 1 1 aehlngphlngngancakkharobihedrt 1 2 ihphlngnganxyangtxenuxngyawnan 1 3 sngphltxradbnatalaelaradbxinsulinineluxdinradbta 1 4 ephimkarephaphlayikhmninrangkay 1 5 ephimprasiththiphaphkarthangankhxngsmxng 1 6 imthaihfnphu 2 karnaipichinphlitphnthxahar 3 xangxingkhunsmbti aekikhixosmxlthuolsphlitcaknatalthraythiphankrabwnkarthangchiwphaphodyichexnism thaihekidkarepliynaeplngokhrngsrangthangekhmikhxngnatalsuokhrs sngphlihphntharahwangomelkulkhxngkluokhsaelafrukotsaekhngaerngmakkhun cakokhrngsrangnithaihixosmxlthuolsthukyxyaeladudsumidchaphayinrabbthangedinxaharkhxngrangkay aelamirschatihwannxykwanatalthraykhrunghnung emuxrbprathanaelwsngphltxradbnatalineluxdnxykwaemuxethiybkbkarbriophkhnatalthrayaelakluokhsxyangchdecn thaihidkhadchninatalethakb 38 dngnnixosmxlthuolscungthukcdepnxaharthixyuinklumdchninatalta low GI sungmikhunsmbtiinkarkhwbkhumradbnatalineluxdihkhngthismaesmxkwakharobihedrtchnidxin 2 karihphlngnganthismaesmxkhxngixosmxlthuolsnichwyihsmxngaelaklamenuxthanganidxyangmiprasiththiphaphmakyingkhun chwyldkhwamesiyngtxkarekidorkhebahwanaelaphawaaethrksxntang xikthngephimkarephaphlayphlngngancakikhmninrangkay aelaimthaihfnphu 3 ixosmxlthuolssamarththntxkhwamepnkrd dangthi pH makkwa 3 0 aelathnxunhphumiinkaraeprrupsungthung 120 xngsaeslesiys odyokhrngsrangimslaytw pccubnixosmxlthuolsphankarrbrxngodyxngkhkarxaharaelayaaehngshrthxemrika FDA wasamarthichetimlngipinxaharidxyangplxdphy Generally Recognized as Safe GRAS 4 sahrbpraethsithyixosmxlthuolsthukcdxyuinhmwdxaharthwipodysankngankhnakrrmkarxaharaelaya xikthngyngidrbkarkhunthaebiynepnxahar aelaxaharephuxsukhphaphhruxxaharchnidihmcakxngkhkarxaharaelayainhlaypraeths echn yipun shphaphyuorp xxsetreliyaelaniwsiaelnd 5 epntn aehlngphlngngancakkharobihedrt aekikh ixosmxlthuols cdepnkharobihedrtthirangkaysamarthyxyaeladudsumidsmburninlaiselk odyexnismthichuxwaixosmxleths isomaltase thixyubnphnnglaiselk sungexnismcayxyphnthaiklokhsidikchnidaexlfa 1 6 khxngnatalixosmxlthuols idepnomelkulkluokhsaelafrukotsaelathukdudsumekhasukraaeseluxdsungehmuxnkbphlitphnththiidcakkaryxynatalthray 6 dwykhunsmbtikarepnkharobihedrt ixosmxlthuolsihphlngngan 4 kiolaekhlxritxnahnk 1 krm ethiybethakbphlngngancaknatalthray hruxkhawaepngthwip ihphlngnganxyangtxenuxngyawnan aekikh cakkarsuksaphbwaixosmxlthuolscathukyxydwyexnismixosmxleths sungkrabwnkaryxynicachakwakaryxynatalthraydwyexnismsuekhrs sucrase thung 4 5 etha 7 thaihixosmxlthuolsthukslayepnphlngnganihaekrangkayxyangcha smaesmxaelayawnan sngphltxradbnatalaelaradbxinsulinineluxdinradbta aekikh radbnatalaelaxinsulinineluxdhlngkarrbprathanixosmxlthuolstakwakarthannatalthrayaelakluokhsthwip cakkarsuksainkhnithyphbwaixosmxlthuolsmikhadchninatalethakb 38 sungemuxepriybethiybkbnatalthrayaelakluokhsthimikhadchninatalethakb 65 aela 100 tamladb phbwaixosmxlthuolssngphlihradbnatalineluxdkhxy ephimkhun aelaimsngphlihekidphawanatalineluxdsung hyperglycemia emuxepriybethiybkbnatalthrayaelakluokhs 2 xinsulin khuxhxromnthihlngcaktbxxn thahnathiekbnatalineluxdekhasuenuxeyuxtang ephuxephaphlayepnphlngnganaekrangkay aelachwyrksasmdulkhxngradbnatalineluxd sungkarsuksainphupwyebahwanchnidthi 2 phbwa hlngcakrbprathanixosmxlthuols rangkayhlngxinsulinnxykwaxyangchdecnemuxethiybkbkarrbprathannatalthray 8 aesdngihehnwaixosmxlthuolssngphlihtbxxnthanganhnknxykwanatalthray aelachwychalxkhwamesiyngkarepnebahwanxnenuxngmacakkhwamesuxmkhxngtbxxnixosmxlthuolssngphlephimkarhlnghxromnxinkhritinchnid GLP 1 makkhunthung 2 etha emuxepriybethiybkbkarthannatalthraythwip sung GLP 1 epnhxromnthimibthbathsakhyinkarrksaradbnatalineluxd odykardungnatalekhasuesll aelaldkarpldplxynatalekhasukraaeseluxd 9 10 ephimkarephaphlayikhmninrangkay aekikh enuxngcakixosmxlthuolsthukyxyaeladudsumekhasurangkayxyangcha aelaphlcakkarthirangkayhlngxinsulinxxkmanxylng thaihxtrakarephaphlaykharobihedrtepnphlngnganinrangkayldlng cakklikehlanicungsngphlihrangkaymikarnaikhmnthithukekbiwinesllikhmnxxkmaephaphlayepnphlngnganaethn sungxtrakarephaphlayikhmnthiekidkhunni sungkwaxtrakarephaphlayemuxthannatalthraythwipthungrxyla 20 11 thngniemuxkrdikhmnineluxdaelaesllikhmnthukdungipslayepnphlngngan sngphlihradbitrkliesxirdldlng aelaldkarsasmikhmnintbaelaesllikhmninrangkay 12 ephimprasiththiphaphkarthangankhxngsmxng aekikh xtrakardudsumnatalekhasurangkaymiphltxprasiththiphaphkarthangankhxngsmxng dwykhunsmbtikhxngixosmxlthuolsthimikhadchninataltathaihrangkaydudsumekhasurangkaycha nganwicyinedkxayu 5 11 pi phbwakarrbprathanxaharthimiswnprakxbkhxngixosmxlthuolsmiswnchwyesrimkhwamcaaelathaihxarmndikhun phayhlngcakkarthanxaharecha 3 chwomng emuxepriybethiybkbxaharthimiswnprakxbkhxngnatalthray 13 imthaihfnphu aekikh ixosmxlthuolsimthaihfnphu enuxngcakculinthriyinchxngpakimsamarthyxyslayixosmxlthuolsid cungimkxihekidkarsrangkhrabphlkhaelakrdmathalaysarekhluxbfn thiepntnehtuhlkkhxngfnphu 14 karnaipichinphlitphnthxahar aekikhixosmxlthuolsthukichxyangaephrhlayinxutsahkrrmxaharaelaekhruxngdumhlakhlaychnid echn khnmhwanebekxri khnmedk naphlim ekhruxngdumsahrbphuxxkkalngkay ekhruxngdumchukalng xaharesrimsutrdum phlitphnththdaethnmuxxahar xaharthangkaraephthy aelaphlitphnthsahrbxxkkalngkay epntn xikthngyngepnswnprakxbkhxngphlitphnthxaharsukhphaph Functional Food epnxaharthangeluxkthimikhadchninataltasahrbphubriophkhthitxngkarkhwbkhumxahar khwbkhumaradbnatalineluxd aelaldkhwamesiyngtxorkheruxrngtang echn orkhebahwan orkhkhwamdnolhitsungaelaorkhxwn epntn 3 xangxing aekikh Siddiqui I R Furgala B January 1967 Isolation and Characterization of Oligosaccharides from Honey Part I Disaccharides Journal of Apicultural Research phasaxngkvs 6 3 139 145 doi 10 1080 00218839 1967 11100174 ISSN 0021 8839 2 0 2 1 phs dr wnthniy ekriyngsinys 2553 karsuksakhadchninatal karepliynaeplngradbnatalaelakarephaphlaysarxaharephuxnaipichepnphlngnganphayhlngkarrbprathannatalixosmxltuols mhawithyalymhidl sthabnophchnakar 3 0 3 1 Sentko Anke Willibald Ettle Ingrid 2012 07 16 O Donnell Kay Kearsley Malcolm W b k Isomaltulose Sweeteners and Sugar Alternatives in Food Technology Wiley Blackwell pp 397 415 doi 10 1002 9781118373941 ch18 ISBN 978 1 118 37394 1 subkhnemux 2021 03 03 Nutrition Center for Food Safety and Applied 2020 08 04 GRAS Notice Inventory FDA phasaxngkvs Winger Ray September 2003 Australia New Zealand Food Standards Code Food Control 14 6 355 doi 10 1016 s0956 7135 03 00044 6 ISSN 0956 7135 Lina B A R Jonker D Kozianowski G October 2002 Isomaltulose Palatinose a review of biological and toxicological studies Food and Chemical Toxicology phasaxngkvs 40 10 1375 1381 doi 10 1016 S0278 6915 02 00105 9 Lyn O Brien Nabors 2012 Alternative sweeteners 4th ed Boca Raton FL CRC Press ISBN 1 4398 4615 4 OCLC 760056415 Ang Meidjie Linn Thomas 2014 10 01 Comparison of the effects of slowly and rapidly absorbed carbohydrates on postprandial glucose metabolism in type 2 diabetes mellitus patients a randomized trial The American Journal of Clinical Nutrition phasaxngkvs 100 4 1059 1068 doi 10 3945 ajcn 113 076638 ISSN 0002 9165 Maeda Aya Miyagawa Jun ichiro Miuchi Masayuki Nagai Etsuko Konishi Kosuke Matsuo Toshihiro Tokuda Masaru Kusunoki Yoshiki Ochi Humihiro Murai Kazuki Katsuno Tomoyuki May 2013 Effects of the naturally occurring disaccharides palatinose and sucrose on incretin secretion in healthy non obese subjects Journal of Diabetes Investigation phasaxngkvs 4 3 281 286 doi 10 1111 jdi 12045 PMC 4015665 PMID 24843667 Keyhani Nejad Farnaz Barbosa Yanez Renate Luisa Kemper Margrit Schueler Rita Pivovarova Ramich Olga Rudovich Natalia Pfeiffer Andreas F H March 2020 Endogenously released GIP reduces and GLP 1 increases hepatic insulin extraction Peptides phasaxngkvs 125 170231 doi 10 1016 j peptides 2019 170231 Sridonpai Pimnapanut Komindr Surat Kriengsinyos Wantanee March 2016 Impact of Isomaltulose and Sucrose Based Breakfasts on Postprandial Substrate Oxidation and Glycemic Insulinemic Changes in Type 2 Diabetes Mellitus Subjects Journal of the Medical Association of Thailand Chotmaihet Thangphaet 99 3 282 289 ISSN 0125 2208 PMID 27276739 Konig Daniel Theis Stephan Kozianowski Gunhild Berg Aloys June 2012 Postprandial substrate use in overweight subjects with the metabolic syndrome after isomaltulose Palatinose ingestion Nutrition phasaxngkvs 28 6 651 656 doi 10 1016 j nut 2011 09 019 Young Hayley Benton David September 2015 The effect of using isomaltulose Palatinose to modulate the glycaemic properties of breakfast on the cognitive performance of children European Journal of Nutrition phasaxngkvs 54 6 1013 1020 doi 10 1007 s00394 014 0779 8 ISSN 1436 6207 PMC 4540784 PMID 25311061 Hamada Shigeyuki 2002 01 01 Role of sweeteners in the etiology and prevention of dental caries Pure and Applied Chemistry 74 7 1293 1300 doi 10 1351 pac200274071293 ISSN 1365 3075 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ixosmxlthuols amp oldid 9469365, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม