fbpx
วิกิพีเดีย

กลุ่มภาษาเคียปชัก

กลุ่มภาษาเคียปชัก (Kypchak languages) หรือกลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นสาขาหลักของกลุ่มภาษาเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากกว่า 12 ล้านคน ในบริเวณตั้งแต่ลิทัวเนียถึงจีน

การแพร่กระจายของกลุ่มภาษาเคียปชัก

ลักษณะทางภาษาศาสตร์

ลักษณะร่วมกันของกลุ่มภาษาเคียปชักได้แก่

  • เปลี่ยนเสียงจากภาษาเตอร์กิกดั้งเดิม d เป็น j
  • ไม่มีเสียง h ที่ตำแหน่งต้นพยางค์ ยกเว้นภาษาคาลาซที่ยังเหลือลักษณะนี้
  • มีการเปลี่ยนเสียงสระบางตัว เปลี่ยนเสียง j ที่ต้นคำเป็น ʒ และมีการกล้ำเสียงที่พยางค์สุดท้าย

การจัดจำแนก

แบ่งได้เป็นสามกลุ่มคือ

  • กลุ่มภาษาเคียปชัด-โบลการ์ รวมภาษาบัศกีร์และภาษาตาตาร์
  • กลุ่มภาษาเคียปชัก-คูมาน รวมทั้งภาษาการาเชย์-บัลการ์ ภาษาคูเมียก ภาษาคาเรียม ภาษาเครียมชักและภาษาที่ตายแล้วอย่างภาษาคูมาน ภาษาอูรุมและภาษาตาตาร์ไครเมียมีพื้นฐานของภาษาเคียปชัก-คูมาน แต่ได้รับอิทธิพลจากภาษาโอคุซมาก
  • กลุ่มภาษาคาซัค-โนกาย ได้แก่ ภาษาการากัลปัก ภาษาคาซัคและภาษาโนกาย ภาษาคีร์กิซที่เป็นภาษาเขียนได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาเคียปชักมากโดยเฉพาะจากภาษาคาซัค แต่ปรากฏว่าภาษานี้อยู่อีกกลุ่มหนึ่ง

ภาษาอุซเบกสำเนียงเคียปชักเป็นกลุ่มภาษาเคียปชักที่ครั้งหนึ่งเคยใช้พูดในอุซเบกิสถาน และกลายเป็นสำเนียงกลางระหว่างภาษาอุซเบกกับภาษาคาซัค ภาษาของชาวมัมลุกในอียิปต์คล้ายจะเป็นกลุ่มภาษาเคียปชักซึ่งอาจะอยู่ในกลุ่มภาษาเคียปชัก-คูมาน

อ้างอิง

  • Johanson, Lars and Csató, Éva Ágnes (1998). The Turkic Languages. London: Routledge. ISBN 0-415-08200-5.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  • Menges, Karl H. (1995). The Turkic Languages and Peoples. Wiesbaden: Harrassowitz. ISBN 3-447-03533-1.

กล, มภาษาเค, ยปช, kypchak, languages, หร, อกล, มภาษาเตอร, กตะว, นตกเฉ, ยงเหน, งเป, นสาขาหล, กของกล, มภาษาเตอร, กท, ดมากกว, านคน, ในบร, เวณต, งแต, วเน, ยถ, งจ, นการแพร, กระจายของล, กษณะทางภาษาศาสตร, แก, ไขล, กษณะร, วมก, นของได, แก, เปล, ยนเส, ยงจากภาษาเตอร, กด,. klumphasaekhiypchk Kypchak languages hruxklumphasaetxrkiktawntkechiyngehnux sungepnsakhahlkkhxngklumphasaetxrkikthimiphuphudmakkwa 12 lankhn inbriewntngaetlithweniythungcinkaraephrkracaykhxngklumphasaekhiypchklksnathangphasasastr aekikhlksnarwmknkhxngklumphasaekhiypchkidaek epliynesiyngcakphasaetxrkikdngedim d epn j immiesiyng h thitaaehnngtnphyangkh ykewnphasakhalasthiyngehluxlksnani mikarepliynesiyngsrabangtw epliynesiyng j thitnkhaepn ʒ aelamikarklaesiyngthiphyangkhsudthaykarcdcaaenk aekikhaebngidepnsamklumkhux klumphasaekhiypchd oblkar rwmphasabskiraelaphasatatar klumphasaekhiypchk khuman rwmthngphasakaraechy blkar phasakhuemiyk phasakhaeriym phasaekhriymchkaelaphasathitayaelwxyangphasakhuman phasaxurumaelaphasatatarikhremiymiphunthankhxngphasaekhiypchk khuman aetidrbxiththiphlcakphasaoxkhusmak klumphasakhaskh onkay idaek phasakaraklpk phasakhaskhaelaphasaonkay phasakhirkisthiepnphasaekhiynidrbxiththiphlcakklumphasaekhiypchkmakodyechphaacakphasakhaskh aetpraktwaphasanixyuxikklumhnungphasaxusebksaeniyngekhiypchkepnklumphasaekhiypchkthikhrnghnungekhyichphudinxusebkisthan aelaklayepnsaeniyngklangrahwangphasaxusebkkbphasakhaskh phasakhxngchawmmlukinxiyiptkhlaycaepnklumphasaekhiypchksungxacaxyuinklumphasaekhiypchk khumanxangxing aekikhJohanson Lars and Csato Eva Agnes 1998 The Turkic Languages London Routledge ISBN 0 415 08200 5 CS1 maint multiple names authors list link Menges Karl H 1995 The Turkic Languages and Peoples Wiesbaden Harrassowitz ISBN 3 447 03533 1 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title klumphasaekhiypchk amp oldid 8695203, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม