fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาคาลาซ

ภาษาคาลาซ เป็นภาษาที่ใช้พูดในอัฟกานิสถานและอิหร่าน อยู่ในภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูด 42,000 เมื่อ พ.ศ. 2543

ภาษาคาลาซ
ประเทศที่มีการพูดอิหร่าน
ภูมิภาคทางตะวันออกเฉียงเหนือของอารัก ใน จังหวัดมาร์กาซี อิหร่าน
จำนวนผู้พูด42,107 คน (2543)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
เตอร์กิก
  • Arghu? Northern?
    • ภาษาคาลาซ
รหัสภาษา
ISO 639-2tut
ISO 639-3klj

สัทวิทยา

พยัญชนะ

หน่วยเสียงพยัญชนะ
  Labial consonant Alveolar consonant Palatal consonant หรือ
Postalveolar consonant
Velar consonant Uvular consonant Glottal consonant
Stop consonant และ
Affricate consonant
p b t d t͡ʃ d͡ʒ k ɡ q ɢ    
Fricative consonant f v s z ʃ ʒ x ɣ     h  
พยัญชนะนาสิก m n     ŋ        
Flap consonant     ɾ                
Lateral consonant     l                
Approximant consonant       j            

สระ

สระในภาษาคาลาซมีสามระดับคือ เสียงยาว (qn "เลือด"), เสียงกึ่งยาว(bʃ "หัว"), และเสียงสั้น(hat "ม้า"). บางสระจัดเป็นสระเช่นquo̯l "แขน".


ไวยากรณ์

นาม

โดยทั่วไปมีเครื่องหมายแสดงพหูพจน์และความเป็นเจ้าของ การกของนามได้แก่การกความเป็นเจ้าของ กรรมตรง กรรมรอง สถานที่ ablative เครื่องมือ และความเท่าเทียม รุปแบบของปัจจัยการกขึ้นกับการเปลี่ยนเสียงสระและพยัญชนะที่ตามมา ปัจจัยการกจะรวมกับปัจจัยแสดงความเป็นเจ้าของ ตารางต่อไปนี้ แสดงการลงท้ายของการกพื้นฐาน

การก ปัจจัย
ประธาน -
กรรมรอง -A, -KA
กรรมตรง -I, -NI
สถานที่ -čA
Ablative -dA
เครื่องมือ -lAn, -lA, -nA
Ablative -vāra


กริยา

คำกริยาผันตมรูปการกระทำ กาล จุดมุ่งหมายและรุปการปฏิเสธ กริยาจะประกอบด้วยรุปคำต่อไปนี้

รากศัพท์ + การกระทำ + ปฏิเสธ + กาล/จุดมุ่งหมาย + ข้อตกลง

การเรียงประโยค

เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา คำคุณศัพท์นำหน้านาม

คำศัพท์

ส่วนใหญ่มาจากภาษากลุ่มเตอร์กิก แต่มีคำยืมจากภาษาเปอร์เซียมาก รวมทั้งศัพท์จากภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ภาษาอาเซอรี

ตัวเลข

ส่วนใหญามาจากศัพท์ของภาษากลุ่มเตอร์กิก ยกเว้น "80" และ "90" มาจากภาษาเปอร์เซีย

อ้างอิง

  • Doerfer, Gerhard (1971). Khalaj Materials. Bloomington: Indiana University Press.
  • Doerfer, Gerhard (1998). Grammatik des Chaladsch. Wiesbaden: Harrassowitz.
  • Doerfer, Gerhard & Tezcan, Semih (1994). Folklore-Texte der Chaladsch. Wiesbaden: Harrassowitz.
  • Johanson, Lars & Csató, Éva Ágnes (1998). The Turkic Languages. London: Routledge

ภาษาคาลาซ, เป, นภาษาท, ใช, ดในอ, ฟกาน, สถานและอ, หร, าน, อย, ในภาษากล, มเตอร, เม, 2543ประเทศท, การพ, ดอ, หร, านภ, ภาคทางตะว, นออกเฉ, ยงเหน, อของอาร, ใน, งหว, ดมาร, กาซ, หร, านจำนวนผ, ด42, คน, 2543, ไม, พบว, นท, ตระก, ลภาษาเตอร, arghu, northern, รห, สภาษาiso, 2. phasakhalas epnphasathiichphudinxfkanisthanaelaxihran xyuinphasaklumetxrkik miphuphud 42 000 emux ph s 2543phasakhalaspraethsthimikarphudxihranphumiphakhthangtawnxxkechiyngehnuxkhxngxark in cnghwdmarkasi xihrancanwnphuphud42 107 khn 2543 imphbwnthi trakulphasaetxrkik Arghu Northern phasakhalasrhsphasaISO 639 2tutISO 639 3klj enuxha 1 sthwithya 1 1 phyychna 1 2 sra 2 iwyakrn 2 1 nam 2 2 kriya 2 3 kareriyngpraoykh 3 khasphth 3 1 twelkh 4 xangxingsthwithya aekikhphyychna aekikh hnwyesiyngphyychna Labial consonant Alveolar consonant Palatal consonant hruxPostalveolar consonant Velar consonant Uvular consonant Glottal consonantStop consonant aela Affricate consonant p b t d t ʃ d ʒ k ɡ q ɢ Fricative consonant f v s z ʃ ʒ x ɣ h phyychnanasik m n ŋ Flap consonant ɾ Lateral consonant l Approximant consonant j sra aekikh srainphasakhalasmisamradbkhux esiyngyaw qaːn eluxd esiyngkungyaw baˑʃ hw aelaesiyngsn hat ma bangsracdepnsraechnquo l aekhn iwyakrn aekikhnam aekikh odythwipmiekhruxnghmayaesdngphhuphcnaelakhwamepnecakhxng karkkhxngnamidaekkarkkhwamepnecakhxng krrmtrng krrmrxng sthanthi ablative ekhruxngmux aelakhwamethaethiym rupaebbkhxngpccykarkkhunkbkarepliynesiyngsraaelaphyychnathitamma pccykarkcarwmkbpccyaesdngkhwamepnecakhxng tarangtxipni aesdngkarlngthaykhxngkarkphunthan kark pccyprathan krrmrxng A KAkrrmtrng I NIsthanthi cAAblative dAekhruxngmux lAn lA nAAblative vara kriya aekikh khakriyaphntmrupkarkratha kal cudmunghmayaelarupkarptiesth kriyacaprakxbdwyrupkhatxipniraksphth karkratha ptiesth kal cudmunghmay khxtklng kareriyngpraoykh aekikh epnaebbprathan krrm kriya khakhunsphthnahnanamkhasphth aekikhswnihymacakphasaklumetxrkik aetmikhayumcakphasaepxresiymak rwmthngsphthcakphasaklumetxrkikthixyuiklekhiyng echn phasaxaesxri twelkh aekikh swnihyamacaksphthkhxngphasaklumetxrkik ykewn 80 aela 90 macakphasaepxresiyxangxing aekikhDoerfer Gerhard 1971 Khalaj Materials Bloomington Indiana University Press Doerfer Gerhard 1998 Grammatik des Chaladsch Wiesbaden Harrassowitz Doerfer Gerhard amp Tezcan Semih 1994 Folklore Texte der Chaladsch Wiesbaden Harrassowitz Johanson Lars amp Csato Eva Agnes 1998 The Turkic Languages London Routledgeekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasakhalas amp oldid 9353892, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม