fbpx
วิกิพีเดีย

ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต

ความแตกแยกระหว่างจีน-โซเวียต (อังกฤษ: Sino-Soviet split, รัสเซีย: Советско-китайский раскол, จีน: 中苏交恶) (1960-1989) เป็นความเสื่อมของความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน (PRC) และสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (USSR) ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากความแตกต่างจากการตีความแตกต่างกันของลัทธิมากซ์-เลนินซึ่งเป็นอิทธิพลในการปกครองของจีนและโซเวียต

ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต
ชื่อภาษาจีน
อักษรจีนตัวเต็ม中蘇交惡
อักษรจีนตัวย่อ中苏交恶
ชื่อภาษารัสเซีย
ภาษารัสเซียСоветско–китайский раскол
อักษรโรมันSovetsko–kitayskiy raskol

โดยทางสหภาพโซเวียต ได้มีผู้นำคนใหม่คือนีกีตา ครุชชอฟ ซึ่งมีนโยบายที่จะกำจัดความคิดแบบสตาลิน โดยการประณามขุดคุ้ยความโหดร้ายของสตาลินในการพูดที่รู้จักในชื่อ "สุนทรพจน์ลับ" และมีความคิดที่จะอยู่ร่วมกันกับกลุ่มชาติตะวันตก ทางด้านจีน เหมา เจ๋อตง ซึ่งยังมีความคิดแบบเดียวกับลัทธิมากซ์-เลนินแบบสตาลิน โดยเฉพาะระบบนารวมและการเผชิญหน้ากับชาติตะวันตก (การปฏิวัติโลก)

สาเหตุ

ปี 1958-1959 โดยเหมา เจ๋อตงไม่ไว้ใจสหภาพโซเวียตที่เป็นพันธมิตรของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ในปี 1959 ครุชชอฟ พบกับ ไอเซนฮาวร์ (1953-1961) เพื่อลดความตึงเครียดทางการเมืองกับโลกตะวันตก สหภาพโซเวียตได้สละความช่วยเหลือในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของจีนและไม่ได้เข้าข้างประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนในสงครามจีน-อินเดีย (1962)

เหมาคาดว่าการตอบโต้ในเชิงรุกจาก ครุชชอฟ ในอุบัติการณ์ยู-2 ที่เกิดขึ้นในปี 1960 จะทำให้โซเวียตเลิกคิดที่จะอยู่ร่วมกันกับกลุ่มชาติตะวันตก ครุชชอฟเรียกร้องคำขอโทษอย่างเป็นทางการจากประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ที่ประชุมสุดยอดปารีส 1960 แต่ไอเซนฮาวร์ปฏิเสธ เหมาและครุชชอฟตีความการกระทำเช่นนี้ว่า ไอเซนฮาวร์ปรามาสประเทศสังคมนิยมทั้งหมด จีนตอบโต้ด้วยเรียกร้องให้ ครุชชอฟ ใช้กองกำลังกระทำการต่อต้านการรุกรานของอเมริกา เมื่อ ครุชชอฟ ไม่ตอบสนองก็เกิดถกเถียงกันในที่ประชุมบูคาเรสต์ของโลกคอมมิวนิสต์และภาคีแรงงาน แต่ละฝ่ายต่างโจมตีอุดมการณ์ของอีกฝ่าย เหมาต่อกล่าวว่าเน้น ครุชชอฟ ว่า “คนที่อ่อนแอ” ครุชชอฟ โต้กลับ เหมา โดยกล่าวว่า “เป็นคนบ้าไร้สติ”

ในที่สุด ปี 1962 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหภาพโซเวียตก็ตัดความสัมพันธ์ เหมาวิพากษ์วิจารณ์ครุชชอฟ ในวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา (1962) ครุชชอฟตอบด้วยความโกรธว่าความคิดแบบเหมาจะนำไปสู่​​สงครามนิวเคลียร์ ในเวลาเดียวกันโซเวียตเข้าข้างอินเดียในสงครามจีน-อินเดีย (1962)

ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต ก็เริ่มตั้งแต่ตอนนั้น โดยโซเวียตตอบโต้โดยนำนักวิทยาศาสตร์และช่างเทคนิคโซเวียต 1,400 คนออกจากประเทศจีนที่นำไปสู่การยกเลิกโครงการมากกว่า 200 โครงการในจีน รวมถึงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์และการอวกาศ การถอนตัวจากประเทศจีนทำให้เกิดความล้มเหลวทางเศรษฐกิจจีน และแผนการก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้าล้มเหลว

ภายหลัง

 
แผนที่แสดงฝ่ายของพันธมิตรของโซเวียต (สีแดง) ฝ่ายของพันธมิตรของจีน (สีเหลือง) เป็นคอมมิวนิสต์แต่ไม่มีพันธมิตร (สีดำ)

หลังจากนั้นจีนก็ได้ปฏิวัติทางวัฒนธรรมกวาดล้างสิ่งที่ทำให้เกิดการหยุดชะงักและส่งผลกระทบต่อประเทศทางเศรษฐกิจและสังคม ต่อมาหลังจากฟื้นตัวขึ้นมา จีนได้แข่งขันความเป็นใหญ่กับโซเวียตในกลุ่มคอมมิวนิสต์สากล เกิดความขัดแย้งจนนำไปสู่สงครามชายแดนระหว่างจีน-โซเวียตซึ่งจบลงด้วยสถานะก่อนเริ่มสงคราม สหรัฐได้เข้ามาเปิดความสัมพันธ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเป็นการถ่วงดุลยุทธศาสตร์กับสหภาพโซเวียต

หลังยุคเหมาไปความสัมพันธ์จากความตึงเครียดก็เริ่มคลายลง ก่อนความสัมพันธ์จะกลับมาอีกครั้งในปี 1989 ในยุคของมีฮาอิล กอร์บาชอฟกับเติ้ง เสี่ยวผิง

อ้างอิง

  1. Chambers Dictionary of World History, B.P. Lenman, T. Anderson editors, Chambers: Edinburgh:2000. p. 769.
  2. David Wolff (7 July 2011). ""One Finger's Worth of Historical Events": New Russian and Chinese Evidence on the Sino-Soviet Alliance and Split, 1948-1959". Wilson Center. สืบค้นเมื่อ 24 February 2016.
  3. Mark, "Ideological radicalization," 49.

ความแตกแยกระหว, างจ, โซเว, ยต, ความแตกแยกระหว, างจ, โซเว, ยต, งกฤษ, sino, soviet, split, สเซ, Советско, китайский, раскол, 中苏交恶, 1960, 1989, เป, นความเส, อมของความส, มพ, นธ, ทางการท, ตระหว, างสาธารณร, ฐประชาชนจ, และสหภาพสาธารณร, ฐส, งคมน, ยมโซเว, ยต, ussr, งม,. khwamaetkaeykrahwangcin osewiyt xngkvs Sino Soviet split rsesiy Sovetsko kitajskij raskol cin 中苏交恶 1960 1989 epnkhwamesuxmkhxngkhwamsmphnththangkarthutrahwangsatharnrthprachachncin PRC aelashphaphsatharnrthsngkhmniymosewiyt USSR sungmisaehtuekidcakkhwamaetktangcakkartikhwamaetktangknkhxnglththimaks elninsungepnxiththiphlinkarpkkhrxngkhxngcinaelaosewiyt 1 ehma ecxtng aelanikita khruchchxfincin 1958 khwamaetkaeykrahwangcin osewiytchuxphasacinxksrcintwetm中蘇交惡xksrcintwyx中苏交恶karthxdesiyngphasacinklangmatrthanphinxinZhōngsu jiaoechuxphasarsesiyphasarsesiySovetsko kitajskij raskolxksrormnSovetsko kitayskiy raskolodythangshphaphosewiyt idmiphunakhnihmkhuxnikita khruchchxf sungminoybaythicakacdkhwamkhidaebbstalin odykarpranamkhudkhuykhwamohdraykhxngstalininkarphudthiruckinchux sunthrphcnlb aelamikhwamkhidthicaxyurwmknkbklumchatitawntk thangdancin ehma ecxtng sungyngmikhwamkhidaebbediywkblththimaks elninaebbstalin odyechphaarabbnarwmaelakarephchiyhnakbchatitawntk karptiwtiolk 1 saehtu aekikhpi 1958 1959 odyehma ecxtngimiwicshphaphosewiytthiepnphnthmitrkhxngpraethssatharnrthprachachncin 2 inpi 1959 khruchchxf phbkb ixesnhawr 1953 1961 ephuxldkhwamtungekhriydthangkaremuxngkbolktawntk shphaphosewiytidslakhwamchwyehluxinkarphthnaxawuthniwekhliyrkhxngcinaelaimidekhakhangpraethssatharnrthprachachncininsngkhramcin xinediy 1962 ehmakhadwakartxbotinechingrukcak khruchchxf inxubtikarnyu 2 thiekidkhuninpi 1960 cathaihosewiytelikkhidthicaxyurwmknkbklumchatitawntk khruchchxferiykrxngkhakhxothsxyangepnthangkarcakprathanathibdiixesnhawrthiprachumsudyxdparis 1960 aetixesnhawrptiesth ehmaaelakhruchchxftikhwamkarkrathaechnniwa ixesnhawrpramaspraethssngkhmniymthnghmd cintxbotdwyeriykrxngih khruchchxf ichkxngkalngkrathakartxtankarrukrankhxngxemrika emux khruchchxf imtxbsnxngkekidthkethiyngkninthiprachumbukhaerstkhxngolkkhxmmiwnistaelaphakhiaerngngan aetlafaytangocmtixudmkarnkhxngxikfay ehmatxklawwaenn khruchchxf wa khnthixxnaex khruchchxf otklb ehma odyklawwa epnkhnbairsti 3 inthisud pi 1962 praethssatharnrthprachachncinaelashphaphosewiytktdkhwamsmphnth ehmawiphakswicarnkhruchchxf inwikvtkarnkhipnawuthkhiwba 1962 khruchchxftxbdwykhwamokrthwakhwamkhidaebbehmacanaipsu sngkhramniwekhliyr inewlaediywknosewiytekhakhangxinediyinsngkhramcin xinediy 1962 khwamaetkaeykrahwangcin osewiyt kerimtngaettxnnn odyosewiyttxbotodynankwithyasastraelachangethkhnikhosewiyt 1 400 khnxxkcakpraethscinthinaipsukarykelikokhrngkarmakkwa 200 okhrngkarincin rwmthungkarphthnaxawuthniwekhliyraelakarxwkas karthxntwcakpraethscinthaihekidkhwamlmehlwthangesrsthkiccin aelaaephnkarkawkraoddiklipkhanghnalmehlwphayhlng aekikh aephnthiaesdngfaykhxngphnthmitrkhxngosewiyt siaedng faykhxngphnthmitrkhxngcin siehluxng epnkhxmmiwnistaetimmiphnthmitr sida hlngcaknncinkidptiwtithangwthnthrrmkwadlangsingthithaihekidkarhyudchangkaelasngphlkrathbtxpraethsthangesrsthkicaelasngkhm txmahlngcakfuntwkhunma cinidaekhngkhnkhwamepnihykbosewiytinklumkhxmmiwnistsakl ekidkhwamkhdaeyngcnnaipsusngkhramchayaednrahwangcin osewiytsungcblngdwysthanakxnerimsngkhram shrthidekhamaepidkhwamsmphnthkbsatharnrthprachachncinsungepnkarthwngdulyuththsastrkbshphaphosewiythlngyukhehmaipkhwamsmphnthcakkhwamtungekhriydkerimkhlaylng kxnkhwamsmphnthcaklbmaxikkhrnginpi 1989 inyukhkhxngmihaxil kxrbachxfkbeting esiywphingxangxing aekikh 1 0 1 1 Chambers Dictionary of World History B P Lenman T Anderson editors Chambers Edinburgh 2000 p 769 David Wolff 7 July 2011 One Finger s Worth of Historical Events New Russian and Chinese Evidence on the Sino Soviet Alliance and Split 1948 1959 Wilson Center subkhnemux 24 February 2016 Mark Ideological radicalization 49 bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastr ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamaetkaeykrahwangcin osewiyt amp oldid 9577860, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม