fbpx
วิกิพีเดีย

จักรวรรดิโรมันตะวันตก

จักรวรรดิโรมันตะวันตก (อังกฤษ: Western Roman Empire) หมายถึงครึ่งตะวันตกของจักรวรรดิโรมันหลังจากการแบ่งโดยไดโอคลีเชียนในปี ค.ศ. 285 อีกครึ่งหนึ่งเป็นจักรวรรดิโรมันตะวันออกที่ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์

จักรวรรดิโรมันตะวันตก

IMPERIVM·ROMANVM·PARS·OCCIDENTALIS
ค.ศ. 395ค.ศ. 476
Chi Rho
Tremissis depicting Julius Nepos (ค. 474)
คำขวัญSenatus Populusque Romanus
จักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ. 395
สถานะการแบ่งแยกจักรวรรดิโรมัน
เมืองหลวงมิลาน
(ค.ศ. 286-ค.ศ. 402)

ราเวนนา
(ค.ศ. 402-ค.ศ. 455, ค.ศ. 473-ค.ศ. 476)

โรม
(ค.ศ. 455-ค.ศ. 473)
ภาษาทั่วไปละติน
ศาสนา
ศาสนาของโรมัน และต่อมาคริสต์ศาสนา
การปกครองอัตตาธิปไตย,
จตุรธิปไตย
(ค.ศ. 395-313)
จักรพรรดิ 
• ค.ศ. 395–423
โฮโนริอัส
• ค.ศ. 475-476
โรมิวลัส ออกัสตัส
กงสุล 
• ค.ศ. 395
เฟลวิอัส อันนิซิอัส เฮอร์โมเจนิอานัส โอลิบริอัส, เฟลวิอัส อันนิซิอัส โพรบินัส
• ค.ศ. 476
บาซิลิสคัส, เฟลวิอัส อาร์มาตัส
สภานิติบัญญัติสภาซีเนตโรมัน
ยุคประวัติศาสตร์ปลายยุคโบราณ
ค.ศ. 395
4 กันยายน ค.ศ. 476
พื้นที่
3952,000,000 ตารางกิโลเมตร (770,000 ตารางไมล์)
สกุลเงินฟอลลิส สำหรับสำริด
ซิลิคา สำหรับเงิน
โซลิดัส สำหรับทอง
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชอาณาจักรโอโดเซอร์
จักรวรรดิแฟรงค์
บริเวณซอยซองส์
บริเตนสมัยหลังโรมัน
ราชอาณาจักรวิสิกอธ
ราชอาณาจักรเบอร์กันดี
ราชอาณาจักรซูบิค
ราชอาณาจักรแห่งชนแวนดาล

โรมยุติความเป็นเมืองหลวงลงหลังจากการแบ่งแยก ในปี ค.ศ. 286 เมืองหลวงของจักรวรรดิโรมันตะวันตกย้ายไปตั้งอยู่ที่เมดิโอลานัม (ปัจจุบันคือมิลาน) และย้ายอีกครั้งไปยังราเวนนาในปี ค.ศ. 402

หลังจากการแยกตัวแล้ว จักรวรรดิโรมันก็รุ่งเรืองอยู่เป็นช่วง ๆ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 5 หลังจากระบบการปกครองแบบของจักรพรรดิไดโอคลีเชียน และการรวมตัวโดยจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 และจักรพรรดิจูเลียนเดอะอโพลเตท จักรพรรดิธีโอโดเซียสที่ 1 ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายที่ทรงปกครองจักรวรรดิโรมันที่รวมตัวกัน แต่หลังจากการเสด็จสวรรคตของพระองค์ในปี ค.ศ. 395 จักรวรรดิโรมันก็แยกตัวกันอย่างเด็ดขาด จักรวรรดิโรมันตะวันตกสิ้นสุดลงเมื่อโรมิวลัส ออกัสตัสสละราชสมบัติโดยการบีบบังคับของโอเดเซอร์เมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 476 และอย่างเป็นทางการหลังจากการเสด็จสวรรคตของจักรพรรดิจูเลียส เนโพส (Julius Nepos) ในปี ค.ศ. 480

แม้ว่าจะได้รับการกู้คืนโดยจักรวรรดิโรมันตะวันออก จักรวรรดิโรมันตะวันตกก็มิได้ฟื้นตัวขึ้นอีก เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสมัยประวัติศาสตร์ของยุโรปก็เข้าสู่สมัยต่อมาที่เรียกว่ายุคกลางหรือที่เรียกกันว่ายุคมืด อุดมการณ์และชื่อของจักรวรรดิโรมันตะวันตกได้รับการรื้อฟื้นมาใช้เป็นจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1806

เบื้องหลัง

เมื่อสาธารณรัฐโรมันขยายตัวมาจนถึงจุดที่รัฐบาลกลางในกรุงโรมไม่สามารถปกครองดินแดนที่อยู่ไกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะปัญหาในด้านการติดต่อและการคมนาคมเพราะระยะทางที่ไกลจากจุดหมายต่าง ๆ ภายในจักรวรรดิ ข่าวสารการรุกราน, การปฏิวัติ, ความหายนะทางธรรมชาติ หรือโรคระบาดใช้การสื่อสารทางเรือหรือโดยระบบการสื่อสารโรมัน (Cursus publicus) ที่ใช้เวลานานกว่าจะมาถึงกรุงโรม หรือคำสั่งจากโรมไปยังดินแดนต่าง ๆ ฉะนั้นข้าหลวงโรมัน (Roman Governor) ในจังหวัดอาณานิคมก็มักจะปกครองในนามของสาธารณรัฐโรมันโดยปริยาย

ก่อนหน้าที่จะตั้งตัวเป็นจักรวรรดิ ดินแดนของสาธารณรัฐโรมันเป็นการปกครองของระบบสามประมุขครั้งที่สอง (Second Triumvirate) ที่แบ่งระหว่างอ็อคเตเวียน, มาร์ค แอนโทนี และมาร์กุส ไอมิลิอุส แลปิดุส

มาร์ค แอนโทนีครอบครองจังหวัดทางตะวันออก: จังหวัดอาเคีย (Achaea), จังหวัดมาเซโดเนีย และ บริเวณเอพิรัส (ทางตอนเหนือของกรีซ), บิธิเนีย (Bithynia), พอนทัส (Pontus) และจังหวัดในเอเชียของโรมัน (ตุรกีปัจจุบัน), ซีเรีย, ไซปรัส, และไซเรนาอิคา (Cyrenaica) ดินแดนเหล่านี้เดิมพิชิตมาโดยอเล็กซานเดอร์มหาราช ฉะนั้นผู้ครอบครองบริเวณนั้นจึงมีเชื้อสายกรีก บริเวณทั้งหมดโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ๆ รับวัฒนธรรมกรีกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมท้องถิ่น ภาษาที่ใช้จึงเป็นภาษาทางราชการ

อ็อคเตเวียนได้จังหวัดทางตะวันตก: จังหวัดโรมันอิตาเลีย (อิตาลีปัจจุบัน), กอล (ฝรั่งเศสปัจจุบัน), กาลเลียเบลจิคา (ส่วนหนึ่งของเบลเยียม, เนเธอร์แลนด์ และ ลักเซมเบิร์กปัจจุบัน) และ ฮิลปาเนีย (สเปนและโปรตุเกสปัจจุบัน) และรวมทั้งอาณานิคมกรีกและคาร์เธจในบริเวณริมฝั่งทะเล

แลปิดุสได้รับดินแดนในอาฟริกาประมาณทางตอนเหนือของตูนิเซีย แต่อ็อคเตเวียนยึดอาฟริกาจากแลปิดุส และเพิ่มอาณานิคมซิลิคา (ซิซิลีปัจจุบัน) เข้ามาอยู่ในอำนาจการปกครอง

เมื่อได้รับชัยชนะต่อมาร์ค แอนโทนีแล้ว อ็อคเตเวียนก็รวมดินแดนต่าง ๆ ก่อตั้งเป็นจักรวรรดิโรมัน แม้ว่าจักรวรรดิโรมันจะมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองหลายอย่างแต่กระนั้นก็ยังประสบกับกระบวนการการเป็นโรมัน (Romanization) ทางตะวันออกเป็นวัฒนธรรมกรีกที่มีอิทธิพล และทางตะวันตกวัฒนธรรมละตินซึ่งทั้งสองวัฒนธรรมก็อยู่คู่กันอย่างมีประสิทธิภาพในรูปของการปกครองอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งทางการเมืองและทางการทหาร

อ้างอิง

  1. Taagepera, Rein (1979). "Size and Duration of Empires: Growth-Decline Curves, 600 B.C. to 600 A.D". Social Science History. 3 (3/4): 24. doi:10.2307/1170959.

ดูเพิ่ม

กรวรรด, โรม, นตะว, นตก, บทความน, างอ, งคร, สต, กราช, คร, สต, ทศวรรษ, คร, สต, ศตวรรษ, งเป, นสาระสำค, ญของเน, อหา, งกฤษ, western, roman, empire, หมายถ, งคร, งตะว, นตกของจ, กรวรรด, โรม, นหล, งจากการแบ, งโดยไดโอคล, เช, ยนในป, กคร, งหน, งเป, นจ, กรวรรด, โรม, นตะว, . bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha ckrwrrdiormntawntk xngkvs Western Roman Empire hmaythungkhrungtawntkkhxngckrwrrdiormnhlngcakkaraebngodyidoxkhliechiyninpi kh s 285 xikkhrunghnungepnckrwrrdiormntawnxxkthipccubnepnthiruckknodythwipwackrwrrdiibaesnithnckrwrrdiormntawntkIMPERIVM ROMANVM PARS OCCIDENTALISkh s 395 kh s 476Chi Rho Tremissis depicting Julius Nepos kh 474 khakhwy Senatus Populusque Romanusckrwrrdiormntawntkin kh s 395sthanakaraebngaeykckrwrrdiormnemuxnghlwngmilan kh s 286 kh s 402 raewnna kh s 402 kh s 455 kh s 473 kh s 476 orm kh s 455 kh s 473 phasathwiplatinsasnasasnakhxngormn aelatxmakhristsasnakarpkkhrxngxttathipity cturthipity kh s 395 313 ckrphrrdi kh s 395 423ohonrixs kh s 475 476ormiwls xxkstskngsul kh s 395eflwixs xnnisixs ehxromecnixans oxlibrixs eflwixs xnnisixs ophrbins kh s 476basiliskhs eflwixs xarmatssphanitibyytisphasientormnyukhprawtisastrplayyukhobran swrrkhtkhxngckrphrrdiethxxdxsixusthi 1kh s 395 karpldormiwls xxksts4 knyayn kh s 476phunthi395 1 2 000 000 tarangkiolemtr 770 000 tarangiml skulenginfxllis sahrbsarid silikha sahrbengin oslids sahrbthxngkxnhna thdipckrwrrdiormn rachxanackroxodesxrckrwrrdiaefrngkhbriewnsxysxngsbrietnsmyhlngormnrachxanackrwisikxthrachxanackrebxrkndirachxanackrsubikhrachxanackraehngchnaewndalormyutikhwamepnemuxnghlwnglnghlngcakkaraebngaeyk inpi kh s 286 emuxnghlwngkhxngckrwrrdiormntawntkyayiptngxyuthiemdioxlanm pccubnkhuxmilan aelayayxikkhrngipyngraewnnainpi kh s 402hlngcakkaraeyktwaelw ckrwrrdiormnkrungeruxngxyuepnchwng rahwangkhriststwrrsthi 3 thungkhriststwrrsthi 5 hlngcakrabbkarpkkhrxngaebbkhxngckrphrrdiidoxkhliechiyn aelakarrwmtwodyckrphrrdikhxnsaetntinthi 1 aelackrphrrdicueliynedxaxophletth ckrphrrdithioxodesiysthi 1 thrngepnckrphrrdixngkhsudthaythithrngpkkhrxngckrwrrdiormnthirwmtwkn aethlngcakkaresdcswrrkhtkhxngphraxngkhinpi kh s 395 ckrwrrdiormnkaeyktwknxyangeddkhad ckrwrrdiormntawntksinsudlngemuxormiwls xxkstsslarachsmbtiodykarbibbngkhbkhxngoxedesxremuxwnthi 4 knyayn kh s 476 aelaxyangepnthangkarhlngcakkaresdcswrrkhtkhxngckrphrrdicueliys enophs Julius Nepos inpi kh s 480aemwacaidrbkarkukhunodyckrwrrdiormntawnxxk ckrwrrdiormntawntkkmiidfuntwkhunxik emuxckrwrrdiormntawntklmsmyprawtisastrkhxngyuorpkekhasusmytxmathieriykwayukhklanghruxthieriykknwayukhmud xudmkarnaelachuxkhxngckrwrrdiormntawntkidrbkarruxfunmaichepnckrwrrdiormnxnskdisiththi cnkrathngmasinsudlnginpi kh s 1806ebuxnghlng aekikhemuxsatharnrthormnkhyaytwmacnthungcudthirthbalklanginkrungormimsamarthpkkhrxngdinaednthixyuiklidxyangmiprasiththiphaph odyechphaapyhaindankartidtxaelakarkhmnakhmephraarayathangthiiklcakcudhmaytang phayinckrwrrdi khawsarkarrukran karptiwti khwamhaynathangthrrmchati hruxorkhrabadichkarsuxsarthangeruxhruxodyrabbkarsuxsarormn Cursus publicus thiichewlanankwacamathungkrungorm hruxkhasngcakormipyngdinaedntang channkhahlwngormn Roman Governor incnghwdxananikhmkmkcapkkhrxnginnamkhxngsatharnrthormnodypriyaykxnhnathicatngtwepnckrwrrdi dinaednkhxngsatharnrthormnepnkarpkkhrxngkhxngrabbsampramukhkhrngthisxng Second Triumvirate thiaebngrahwangxxkhetewiyn markh aexnothni aelamarkus ixmilixus aelpidusmarkh aexnothnikhrxbkhrxngcnghwdthangtawnxxk cnghwdxaekhiy Achaea cnghwdmaesodeniy aela briewnexphirs thangtxnehnuxkhxngkris bithieniy Bithynia phxnths Pontus aelacnghwdinexechiykhxngormn turkipccubn sieriy isprs aelaisernaxikha Cyrenaica dinaednehlaniedimphichitmaodyxelksanedxrmharach channphukhrxbkhrxngbriewnnncungmiechuxsaykrik briewnthnghmdodyechphaainemuxngihy rbwthnthrrmkrikekhaepnswnhnungkhxngwthnthrrmthxngthin phasathiichcungepnphasathangrachkar satharnrthormn kxnkarphichitkhxngxxkhetewiyn xxkhetewiynidcnghwdthangtawntk cnghwdormnxitaeliy xitalipccubn kxl frngesspccubn kaleliyeblcikha swnhnungkhxngebleyiym enethxraelnd aela lkesmebirkpccubn aela hilpaeniy sepnaelaoprtuekspccubn aelarwmthngxananikhmkrikaelakharethcinbriewnrimfngthaelaelpidusidrbdinaedninxafrikapramanthangtxnehnuxkhxngtuniesiy aetxxkhetewiynyudxafrikacakaelpidus aelaephimxananikhmsilikha sisilipccubn ekhamaxyuinxanackarpkkhrxngemuxidrbchychnatxmarkh aexnothniaelw xxkhetewiynkrwmdinaedntang kxtngepnckrwrrdiormn aemwackrwrrdiormncamiwthnthrrmthiepnexklksnkhxngtnexnghlayxyangaetkrannkyngprasbkbkrabwnkarkarepnormn Romanization thangtawnxxkepnwthnthrrmkrikthimixiththiphl aelathangtawntkwthnthrrmlatinsungthngsxngwthnthrrmkxyukhuknxyangmiprasiththiphaphinrupkhxngkarpkkhrxngxyangepnxnhnungxnediywknthngthangkaremuxngaelathangkarthharxangxing aekikh Taagepera Rein 1979 Size and Duration of Empires Growth Decline Curves 600 B C to 600 A D Social Science History 3 3 4 24 doi 10 2307 1170959 duephim aekikhckrwrrdiormn ckrwrrdiormnxnskdisiththi bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title ckrwrrdiormntawntk amp oldid 9404536, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม