fbpx
วิกิพีเดีย

กลุ่มภาษาคอเคซัสใต้

กลุ่มภาษาคอเคซัสใต้ (อังกฤษ: South Caucasian languages) เป็นภาษาที่มีผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในจอร์เจีย มีบางส่วนอยู่ในตุรกี อิหร่าน รัสเซีย และอิสราเอล ผู้พูดกลุ่มภาษานี้มีราว 5.2 ล้านคนทั่วโลก เป็นกลุ่มภาษาที่มีประวัติความเป็นมาเก่าแก่กลุ่มหนึ่ง มีจุดกำเนิดย้อนหลังไปถึง 5,457 ปีก่อนพุทธศักราช กลุ่มภาษานี้ไม่มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนกับกลุ่มภาษาใดๆ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรก (จารึกอับบา อันโตนี เขียนด้วยอักษรจอร์เจียโบราณในยุคราชวงศ์จอร์เจีย ใกล้เบธเลเฮ็ม) มีอายุราว พ.ศ. 938

การจัดจำแนก

  • ภาษาจอร์เจีย ได้แก่
    • ภาษาจอร์เจีย มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ 4.1 ล้านคน โดยอยู่ในจอร์เจียราว 3.9 ล้านคน และราว 50,000 คนในตุรกีและอิหร่าน
    • ภาษายิวจอร์เจีย มีผู้พูดราว 80,000 คน โดยมี 60,000 คนอยู่ในอิสราเอลและ 20,000 คนอยู่ในจอร์เจีย บางครั้งถือเป็นสำเนียงของภาษาจอร์เจีย
  • กลุ่มภาษาซานได้แก่
    • ภาษาเมเกรเลีย มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ 80,000 คนเมื่อ พ.ศ. 2532 ส่วนใหญ่อยู่ในซาเมเกรโลในจอร์เจียตะวันตกและในตำบลกาลีของอับฮาเซียตะวันออก ผู้อพยพชาวเมเกรเลียจากอับฮาเซียปัจจุบันอยู่ในตบิลิซ๊และที่อื่นๆในจอร์เจีย
    • ภาษาลาซ มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ 220,000 คนใน พ.ศ. 2523 ส่วนใหญ่อยู่รอบๆทะเลดำในตุรกีตะวันออกเฉียงเหนือ และมีราว 30,000 คนในอัดยารา จอร์เจีย
    • ภาษาสวาน มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 15,000 คนในเขตภูเขาทางตะวันออกเฉียงเหนือของสวาเนติ, จอร์เจีย

กลุ่มย่อยของภาษาเหล่านี้มีความสัมพันธ์กัน ในกรณีของภาษาเมเกรเลียและภาษาลาซ บางครั้งรวมกันเป็นภาษาซาน เชื่อกันว่าภาษาในกลุ่มนี้แยกตัวออกจากภาษาคาร์ทเวเลียดั้งเดิม ซึ่งน่าจะเคยใช้พูดในจอร์เจียและทางเหนือของตุรกีตั้งแต่เมื่อราว 2,457 – 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช เมื่อดูจากระดับของความเปลี่ยนแปลง คาดว่าภาษาสวานเป็นภาษาที่แยกตัวออกมาเมื่อ ราว 1,457 ปีก่อนพุทธศักราชหรือก่อนหน้านี้ ในขณะที่ภาษาเมเกรเลียและภาษาลาซแยกตัวออกจากภาษาจอร์เจียในอีก 1,000 ปีต่อมา จากนั้นอีกราว 500 ปี ภาษาเมเกรเลียและภาษาลาซจึงแยกออกจากกัน

ภาษายิวจอร์เจียถือว่าเป็นสำเนียงของภาษาจอร์เจีย ซึ่งมีคำยืมจากภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิกเป็นจำนวนมาก

การเชื่อมต่อระดับสูง

ไม่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มภาษาอื่นแม้แต่กับกลุ่มภาษาคอเคซัสเหนือ นักภาษาศาสตร์บางคนจัดให้อยู่ในตระกูลภาษานอสตราติกแต่การยอมรับความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลนี้กับกลุ่มภาษาคอเคซัสใต้ยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่ เนื่องจากภาษาในกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กับภาษาบาสก์โดยฌพาะระบบการกจึงมีนักภาษาศาสตร์บางท่านกล่าวว่าภาษาทั้งสองนี้อาจมีบรรพบุรุษร่วมกัน

อย่างไรก็ตาม พบความใกล้เคียงทางสัทวิทยาที่เกิดจากการติดต่อกับภาษาในบริเวณใกล้เคียง เช่นการยืมคำระหว่างกันได้มาก รวมทั้งได้รับอิทธิพลทางไวยากรณ์ระหว่างกันด้วย

สถานะทางสังคมและวัฒนธรรม

ภาษาจอร์เจียเป็นภาษาราชการของจอร์เจีย มีผู้ใช้ 90% ของประชากรทั้งหมดและยังเป็นภาษาเขียนหลักและภาษาทางธุรกิจด้วย เขียนด้วยอักษรจอร์เจียที่มีประวัติย้อนหลังไปถึง พ.ศ. 1043

ภาษาเมเกรเลียเขียนด้วยอักษรจอร์เจียตั้งแต่ พ.ศ. 2407 โดยเฉพาะในช่วงจาก พ.ศ. 2473 – 2480 และหลังจาก พ.ศ. 2532 ภาษาลาซเริ่มมีการใช้เป็นภาษาเขียนตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 2470 – 2480 และปัจจุบันในตุรกีเขียนด้วยอักษรละติน ผู้พูดภาษาลาซในปัจจุบันลดน้อยลงโดยหันไปใช้ภาษาตุรกีแทน

อ้างอิง

  1. Ethnologue entry about the Kartvelian language family
  2. The Geography of Ethnic Violence: Identity, Interests, Monica Duffy Toft, pp 91-93
  3. Language in Danger, Andrew Dalby, p 38
  4. A Guide to the World's Languages: Classification, Merritt Ruhlen, p 72
  5. The Georgians, David Marshal Lang, p 154

แหล่งข่อมูลอื่น

กล, มภาษาคอเคซ, สใต, เน, อหาในบทความน, าสม, โปรดปร, บปร, งข, อม, ลให, เป, นไปตามเหต, การณ, จจ, นหร, อล, าส, หน, าอภ, ปรายประกอบ, งกฤษ, south, caucasian, languages, เป, นภาษาท, ดส, วนใหญ, อย, ในจอร, เจ, บางส, วนอย, ในต, รก, หร, าน, สเซ, และอ, สราเอล, ดกล, มภาษา. enuxhainbthkhwamnilasmy oprdprbprungkhxmulihepniptamehtukarnpccubnhruxlasud duhnaxphiprayprakxbklumphasakhxekhssit xngkvs South Caucasian languages epnphasathimiphuphudswnihyxyuincxreciy mibangswnxyuinturki xihran rsesiy aelaxisraexl 1 phuphudklumphasanimiraw 5 2 lankhnthwolk epnklumphasathimiprawtikhwamepnmaekaaekklumhnung micudkaenidyxnhlngipthung 5 457 pikxnphuththskrach 2 klumphasaniimmikhwamsmphnthxyangchdecnkbklumphasaid 3 hlkthanthiepnlaylksnxksrkhrngaerk carukxbba xnotni ekhiyndwyxksrcxreciyobraninyukhrachwngscxreciy iklebthelehm mixayuraw ph s 938 4 5 enuxha 1 karcdcaaenk 2 karechuxmtxradbsung 3 sthanathangsngkhmaelawthnthrrm 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunkarcdcaaenk aekikhphasacxreciy idaek phasacxreciy miphuphudepnphasaaem 4 1 lankhn odyxyuincxreciyraw 3 9 lankhn aelaraw 50 000 khninturkiaelaxihran phasayiwcxreciy miphuphudraw 80 000 khn odymi 60 000 khnxyuinxisraexlaela 20 000 khnxyuincxreciy bangkhrngthuxepnsaeniyngkhxngphasacxreciy klumphasasanidaek phasaemekreliy miphuphudepnphasaaem 80 000 khnemux ph s 2532 swnihyxyuinsaemekrolincxreciytawntkaelaintablkalikhxngxbhaesiytawnxxk phuxphyphchawemekreliycakxbhaesiypccubnxyuintbilisaelathixunincxreciy phasalas miphuphudepnphasaaem 220 000 khnin ph s 2523 swnihyxyurxbthaeldainturkitawnxxkechiyngehnux aelamiraw 30 000 khninxdyara cxreciy phasaswan miphuphudepnphasaaemraw 15 000 khninekhtphuekhathangtawnxxkechiyngehnuxkhxngswaenti cxreciyklumyxykhxngphasaehlanimikhwamsmphnthkn inkrnikhxngphasaemekreliyaelaphasalas bangkhrngrwmknepnphasasan echuxknwaphasainklumniaeyktwxxkcakphasakhartheweliydngedim sungnacaekhyichphudincxreciyaelathangehnuxkhxngturkitngaetemuxraw 2 457 1 457 pikxnphuththskrach emuxducakradbkhxngkhwamepliynaeplng khadwaphasaswanepnphasathiaeyktwxxkmaemux raw 1 457 pikxnphuththskrachhruxkxnhnani inkhnathiphasaemekreliyaelaphasalasaeyktwxxkcakphasacxreciyinxik 1 000 pitxma caknnxikraw 500 pi phasaemekreliyaelaphasalascungaeykxxkcakknphasayiwcxreciythuxwaepnsaeniyngkhxngphasacxreciy sungmikhayumcakphasahibruaelaphasaxraemxikepncanwnmakkarechuxmtxradbsung aekikhimmikhwamekiywkhxngkbklumphasaxunaemaetkbklumphasakhxekhssehnux nkphasasastrbangkhncdihxyuintrakulphasanxstratikaetkaryxmrbkhwamsmphnthrahwangphasatrakulnikbklumphasakhxekhssityngepnthiotaeyngknxyu enuxngcakphasainklumnimikhwamsmphnthkbphasabaskodychphaarabbkarkcungminkphasasastrbangthanklawwaphasathngsxngnixacmibrrphburusrwmknxyangirktam phbkhwamiklekhiyngthangsthwithyathiekidcakkartidtxkbphasainbriewniklekhiyng echnkaryumkharahwangknidmak rwmthngidrbxiththiphlthangiwyakrnrahwangkndwysthanathangsngkhmaelawthnthrrm aekikhphasacxreciyepnphasarachkarkhxngcxreciy miphuich 90 khxngprachakrthnghmdaelayngepnphasaekhiynhlkaelaphasathangthurkicdwy ekhiyndwyxksrcxreciythimiprawtiyxnhlngipthung ph s 1043phasaemekreliyekhiyndwyxksrcxreciytngaet ph s 2407 odyechphaainchwngcak ph s 2473 2480 aelahlngcak ph s 2532 phasalaserimmikarichepnphasaekhiyntngaetchwng ph s 2470 2480 aelapccubninturkiekhiyndwyxksrlatin phuphudphasalasinpccubnldnxylngodyhnipichphasaturkiaethnxangxing aekikh Ethnologue entry about the Kartvelian language family The Geography of Ethnic Violence Identity Interests Monica Duffy Toft pp 91 93 Language in Danger Andrew Dalby p 38 A Guide to the World s Languages Classification Merritt Ruhlen p 72 The Georgians David Marshal Lang p 154aehlngkhxmulxun aekikhLazuri Nena The Language of the Laz by Silvia Kutscher The Arnold Chikobava Institute of Linguistics Georgian Academy of Sciences Archived 2004 04 20 thi ewyaebkaemchchin Arthur Holmer The Iberian Caucasian Connection in a Typological Perspective Archived 2008 04 06 thi ewyaebkaemchchin Atlas of the Caucasian Language Kartvelian family Map Caucasian languages Archived 2006 03 10 thi ewyaebkaemchchin Kevin Tuite Universite de Montreal The rise and fall and revival of the Ibero Caucasian hypothesis text on lineekhathungcak https th wikipedia org w index php title klumphasakhxekhssit amp oldid 9558000, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม