fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาผู้ไท

ภาษาผู้ไท (เขียน ภูไท ก็มี) เป็นภาษาในตระกูลภาษาขร้า-ไท มีผู้พูดจำนวนไม่น้อย กระจัดกระจายในภูมิภาคต่าง ๆ ของไทยและลาว เข้าใจว่า ผู้พูดภาษาผู้ไทมีถิ่นที่อยู่ดั้งเดิมอยู่ในเมือง นาน้อยอ้อยหนู ยังเป็นที่ถกเถียงกันว่า เมืองนาน้อยอ้อยหนู อันเป็นถิ่นฐานดั้งเดิมของผู้ไทอยู่ทีไหน เพราะมีเมืองนาน้อยอ้อยหนูอยู่ถึงสามแห่ง แห่งแรกอยู่เขตสิบสองปันนา แห่งที่สองคือตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแถงแคว้น 12 จุไทหรือปัจจุบันคือจังหวัดเดียนเบียนฟู และแห่งที่สามอยู่ห่างจากเมืองลอของเวียดนามประมาณ 10 กิโลเมตร

ผู้ไท
ผู้ไท
ประเทศที่มีการพูดประเทศไทย, ประเทศลาว และประเทศเวียดนาม
จำนวนผู้พูด866,000 คน  (2545–2549)
ตระกูลภาษา
รหัสภาษา
ISO 639-3pht

ชาวไทดำกับผู้ไทเป็นคนละชาติพันธุ์กัน นักภาษาศาสตร์สันนิษฐานว่า อพยพแยกจากกันนานกว่า 1,500 ปีมาแล้ว ในปัจจุบัน มีการจัดให้ภาษาผู้ไทเป็นกลุ่มย่อยของภาษาไทดำซึ่งไม่ถูกต้อง ผู้ไทอพยพจากนาน้อยอ้อยหนูไปอยู่ที่เมืองวังอ่างคำ ซึ่งคือเมืองวีระบุรีในแขวงสุวรรณเขต ประเทศลาว ก่อนอพยพมาอยู่ในดินแดนประเทศไทยเมื่อไม่ถึง 200 ปีมานี้ ผู้ไทที่อพยพมาอยู่ฝั่งขวาแม่น้ำโขงมีจำนวนไม่น้อย แต่ผู้ไทซึ่งอยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงแถบแขวงสุวรรณเขตและแขวงคำม่วนในลาว ก็ยังมีประปราย มักจะเรียกผู้ไททั้งสองกลุ่มนี้รวม ๆ กันว่า "ผู้ไทสองฝั่งโขง"

ความเป็นมาของชาวผู้ไทในสยาม

เมื่อ พ.ศ. 2369 (ก่อนสงครามเจ้าอนุวงศ์) ตรงกับในสมัยรัชกาลที่ 3 ที่เมืองวังมีความวุ่นวาย เกิดขัดแย้งภายในของกลุ่มผู้ไท ที่มีเมืองวังเป็นเมืองหลัก ได้มีไทครัวผู้ไทกลุ่มหนึ่งอพยพมาตั้งบ้านเรือนในฝั่งขวาแม่น้ำโขง มีนายไพร่ รวม 2,648 คน ต่อมาได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านบุ่งหวาย ในปี พ.ศ. 2373 พระสุนทรราชวงษา เจ้าเมืองยโสธร ว่าราชการอยู่เมืองนครพนมได้มีใบบอกขอตั้งบ้านดงหวายเป็นเมือง "เรณูนคร" ต่อมา ร.3 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกบ้านบุ่งหวาย ขึ้นเป็นเมืองเรณูนคร และตั้งให้ ท้าวสาย หัวหน้าไทครัวผู้ไทเป็น "พระแก้วโกมล" เจ้าเมืองเรณูนคร คนแรก ขึ้นเมืองนครพนม(ในปี พ.ศ. 2387) ซึ่งคือท้องที่ อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนมในปัจจุบันนั่นเอง (จากเอกสาร ร.3 จ.ศ.1206 เลขที่ 58 หอสมุดแห่งชาติ) ชาวผู้ไทเรณูนคร จึงเป็นชาวผู้ไทกลุ่มแรกที่อพยพมาอยู่ในเขตฝั่งขวาแม่น้ำโขง (หมายถึงผู้ไทที่เป็นบรรพบุรุษของคนผู้ไทในอิสานปัจจุบัน) นอกจากนี้พระสุนทรราชวงษายังมีการกวาดต้อนชาวเผ่าอื่นๆนอกจากเผ่าภูไท เช่น ไทยย้อ ไทข่า ไทกะเลิง ไทเเสก ไทพวน ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะถูกบีบบังคับให้พลัดพรากจากบ้านเกิดเมืองนอนเเละญาติพี่น้องให้ไปตั้งถิ่นฐานใหม่ที่อีสานตอนบน เช่น ในพื้นที่จังหวัด นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ เนื่องด้วยเจ้านายเชื้อสายพระวอพระตามีความต้องการในอำนาจมาก ต้องการได้ความดีความชอบจากพระมหากษัตริย์กรุงสยาม ซึ่งเป็นเหตุให้ชนเผ่ากลุ่มน้อยหลายกลุ่มที่ถูกกวาดต้อนหรือถูกกดขี่ข่มเหงโดยเจ้านายอีสานสายดังกล่าวจึงไม่ค่อยมีความพอใจเเละยังมีความเคียดเเค้นเป็นอย่างมาก อีกทั้งเจ้านายกลุ่มเดียวกันนี้เองที่เป็นผู้ริเริ่มเเละมักนิยมตีข่าหรือจับชาวไทข่า จนส่งกลายเป็นวัฒนธรรมตีข่าอันโหดร้าย ท่ารุณที่เป็นที่นิยมเเพร่หลายไปในกลุ่มเจ้านายลาวอีสานที่จับนำตัวไปส่งส่วนกลางไปเป็นเเรงงานทาส

หลังจากนั้น ในปี พ.ศ. 2387 ผู้ไทจากเมืองวังอ่างคำและเมืองใกล้เคียง ก็อพยพตามมา เป็นกลุ่มที่ 2 แล้วไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เมืองพรรณานิคม (จังหวัดสกลนคร) เมืองหนองสูง (จังหวัดมุกดาหาร) เมืองกุดสิมนารายณ์ (อำเภอเขาวงและอำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์)ตามลำดับ โดยผู้ไทกลุ่มจากเมืองกะป๋องได้อพยพมาตั้งที่เมืองวาริชภูมิเป็นกลุ่มผู้ไทที่ข้ามมาฝั่งขวาแม่น้ำโขงกลุ่มล่าสุด (ในปี พ.ศ. 2420 ในสมัยรัชกาลที่ 5)

ผู้พูดภาษาผู้ไท

ผู้พูดภาษาผู้ไทในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณจังหวัดภาคอีสานตอนบน ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ นครพนม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด และสกลนคร นอกจากนี้ยังมีอีกเล็กน้อยในจังหวัดอำนาจเจริญ อุดรธานี ยโสธร และบึงกาฬ โดยในแต่ละท้องถิ่นจะมีสำเนียงและคำศัพท์ที่แตกต่างกันไป เป็นที่น่าสังเกตว่า ภาษาผู้ไทแม้จะกระจายอยู่ในแถบอีสาน แต่สำเนียงและคำศัพท์นั้นแตกต่างกับภาษาไทยถิ่นอีสานโดยทั่วไปอย่างมาก อย่างไรก็ตามยังมีคำยืมจากภาษาถิ่นอีสานอยู่ในภาษาผู้ไทบ้างเป็นธรรมดา แต่ก็ไม่นับว่ามาก ด้วยเหตุนี้ ชาวไทยที่พูดภาษาอีสานจึงไม่สามารถพูดหรือฟังภาษาผู้ไทอย่างเข้าใจโดยตลอด แต่ชาวผู้ไทส่วนใหญ่มักจะพูดภาษาอีสานได้

ลักษณะของภาษา

ด้วยภาษาผู้ไทเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท จึงมีลักษณะเด่นร่วมกับภาษาไทยด้วย นั่นคือ

  • เป็นภาษาคำโดด มักเป็นคำพยางค์เดียว
  • เป็นภาษามีวรรณยุกต์
  • โครงสร้างประโยคแบบเดียวกัน คือ "ประธาน กริยา กรรม" (SVO) ไม่ผันรูปตามโครงสร้างประโยค

หน่วยเสียง

หน่วยเสียงพยัญชนะ

ฐานกรณ์ของเสียง ริมฝีปากล่าง-ฟัน ริมฝีปาก โคนฟัน เพดานส่วนแข็ง เพดานส่วนอ่อน ช่วงคอ
เสียงหยุด (ไม่ก้อง) - /ป/ /ต/ /จ/ /ก/ /อ/
เสียงหยุด (ไม่ก้อง) - /พ/ /ท/ - /ค/ -
เสียงหยุด (ก้อง) - /บ/ /ด/ - - -
เสียงขึ้นจมูก - /ม/ /น/ /ญ/ /ง/ -
เสียงเสียดแทรก /ฟ/ /ซ/ - - - /ฮ/
กึ่งสระ /ว/ - - /ย/ - -
ลอดข้างลิ้น - /ล/ - - - -

ในที่นี้ขออธิบายเฉพาะเสียงที่แตกต่างจากภาษาไทยมาตรฐาน ดังนี้

  • /ญ/ เป็นหน่วยเสียงพิเศษ ที่ไม่พบในภาษาไทยภาคกลาง และถิ่นใต้ แต่พบได้ในภาษาไทยถิ่นอีสาน และเหนือ

หน่วยเสียงสระ

ภาษาผู้ไทมีสระเดี่ยว 9 ตัว หรือ 18 ตัวหากนับสระเสียงยาวด้วย โดยทั่วไปมีลักษณะของเสียงคล้ายกับสระในภาษาไทยถิ่นอื่น (เพื่อความสะดวก ในที่นี้ใช้อักษร อ ประกอบสระ เพื่อให้เขียนง่าย)

สระสูง อิ, อี อึ, อือ อุ, อู
สระกลาง เอะ, เอ เออะ, เออ โอะ, โอ
สระต่ำ แอะ,แอ อะ,อา เอาะ, ออ

อนึ่ง ในภาษาผู้ไทไม่ใช้สระประสม จะใช้แต่สระเดี่ยวข้างบนนี้ ตัวอย่างคำที่ภาษาไทยกลางเป็นสระประสม แต่ภาษาผู้ไทใช้สระเดี่ยว

ภาษาไทยกลาง ภาษาผู้ไท
/หัว/ /โห/
/สวน/ /โสน/
/เสีย/ /เส/
/เขียน/ /เขน/
/เสือ/ /เสอ/
/มะเขือ/ /มะเขอ/

หน่วยเสียงวรรณยุกต์

หน่วยเสียงวรรณยุกต์ในภาษาผู้ไท มีด้วยกัน 5 หน่วย

พยางค์

พยางค์ในภาษาผู้ไทมักจะเป็นพยางค์อย่างง่าย ดังนี้

  • เมื่อประสมด้วยสระเสียงยาว พยางค์อาจประกอบด้วยพยัญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ โดยจะมีพยัญชนะตัวสะกดหรือไม่ก็ได้
  • เมื่อมีสระเสียงสั้น พยางค์ประกอบด้วยพยัญชนะต้น สระ, วรรณยุกต์ และพยัญชนะตัวสะกด

ลักษณะเด่นของภาษาผู้ไท

ภาษาผู้ไทมีลักษณะเด่นดังนี้ 1. พยัญชนะ "ข,ฆ" /k/ ในภาษาไทยและลาว-อีสานบางคำ ออกเสียงเป็น ห, ฮ /h/ เช่น

ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท
แขน แหน เข็ม เห็ม ขัน (ขันน๊อต) หัน ขา หา ของ หอง
ขน หน เข้า เห้า ขอด ฮอด ขอน (ขอนไม้) หอน ขึ้น หึ้น
ฆ่า ฮ่า ขาด หาด เขี้ยว (ฟัน) แห้ว ขัดข้อง (ยุ่งเหยิง) ห้อง ข้อ ห้อ
ขาย หาย เขา (สัตว์) เหา เขียว แหว ขาว หาว

2. เสียงสระ "ใ" ออกเสียงเป็น "เออ" และสระ "ไ" บางคำก็ออกเสียงเป็น "เออ" เช่น

ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท
ใกล้ เค่อ ไหน (ไส "ลาว") เซอ, ซิเลอ, เนอเฮอ, ตะเลอ ใต้ เต้อ ใช้ เซ้อ ใน เนอ, เด้อ
ใจ เจ๋อ ใหม่ เมอ ไต เต๋อ ใส่ เส่อ ให้ เห้อ
ใคร (ไผ "ลาว") เพอ ใหญ่ เญอ บวม (ไค่ "ลาว") เค้อ ใบ เบ๋อ

3. ภาษาผู้ไทไม่มีสระผสม เอือ อัว เอีย ใช้แต่เพียงสระเดี่ยว เช่นเดียวกับภาษาไทลื้อ ไทขืน เช่น

ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท ภาษาไทย ภาษาภูไท
เขียด เขด เรือ เฮอ เรียน เฮน, สอน บ่วง (ช้อน) โบ่ง ม้วน โม้น
เกวียน เก๋น สวน โสน เขี่ย เข่ เลี้ยว เล้ว เมีย เม
เหยียบ เหย่บ เงื่อน เงิ้น เปลื้อน เปิ้น หนวด โนด ผัว โผ


4. คำที่ใช้สระเสียงยาวแล้วสะกดด้วย "ก" จะเปลี่ยนเป็นสระเสียงสั้น ไม่ออกเสียง "ก" เช่นเดียวกับภาษาไทถิ่นใต้ฝั่งตะวันตก และภาษาไทดำ ไทขาว พวน เช่น

 *ลูก = ลุ *บอก = เบ๊าะ *แตก = แต๊ะ *ตอก = เต๊าะ *ลอก = เลาะ, ลู่น *หนอก = เนาะ *ยาก = ญ๊ะ *ฟาก,ฝั่ง = ฟ๊ะ *หลีก = ลิ *ปีก = ปิ๊ *ราก =ฮะ *กาก=ก๊ะ *อยาก = เยอะ *เลือก = เลอะ *น้ำเมือก = น้ำเมอะ *น้ำมูก = ขี้มุ *ผูก = พุ *หยอก = เยาะ *หมอก = เมาะ *ดอกไม้ = เด๊าะไม้ *ศอก = เซาะ *หนวก = โนะ *ถูก(ถืก ในภาษาลาว) = ทึ 

5. ภาษาผู้ไทใช้คำที่แสดงถึงการปฏิเสธว่า มี,หมี่ หรือเมื่อพูดเร็วก็จะออกเสียงเป็น มิ เช่นเดียวกับภาษาไทยโบราณ ภาษาจ้วง (bou,mi) และภาษาลื้อบางแห่ง เช่น

 *ไม่ได้ = มีได้ *ไม่บอก = มีเบ๊าะ *ไม่รู้ = มีฮู้, มีฮู้จัก,มีจัก,จัก *ไม่เห็น = มีเห็น *ไม่พูดไม่จา = มีเว้ามีจา *ไม่ไป = มีไป *ไม่เข้าใจ = มีเฮ่าเจ๋อ 

6. คำถามจะใช้แตกต่างจากภาษาไทยดังนี้

 *อะไร = เผอ,ผะเหลอ,ผิเหลอ *ทำไม,เพราะอะไร = เอ็ดเผอ,เป๋นเผอ *ไหน = เซอ,ซิเลอ,เน้อเฮอ *ใคร = เผ่อ,ผู้เลอ *เท่าไหร่,แค่ไหน = ท้อเลอ,ฮาวเลอ,ค้าเลอ *อย่างไร = แนวเลอ,สะเลอ,ซิเลอ *เมื่อไหร่ = บาดเลอ,ญามเลอ,มื่อเลอ *ไหม,หรือปล่าว = เบาะ,ยูเบาะ,ยูติ๊ *ล่ะ = เด๋ 

7. คำว่า จัก หรือ จะ ในภาษาไทย ภาษาผู้ไท

 จะใช้คำว่า หละ เช่น *เธอจะไปไหน = เจ้าหละไปซิเลอ *ฉันกำลังจะพูด = ข้อยทมหละเว้า *เขาจะคุยกันเรื่องอะไร = เขาหละแอ่นเด๋วเลิ้งเผอ 

___(ข้อ 8 เป็นต้นไปเป็นเพียงปลีกย่อย)___

8. บางคำมีการออกเสียงต่างจากภาษาไทย ดังนี้

 1) ค เป็น ซ เช่น คง = ซง, ครก = ซก 2) ด เป็น ล เช่น = สะดุ้ง (เครื่องมือ หาปลาชนิดหนึ่ง) = จะลุ่ง 3) อะ เป็น เอะ เช่น มัน (หัวมัน) = เม็น, มันแกว = เม็นเพา-โหเอ็น, มันเทศ = เม็นแกว 4) เอะ เป็น อิ เช่น เล่น=ดิ้น, เด็กน้อย=ดิกน้อย, เหล็กไล (ตะปู)=ลิ๊กไล 5) เอีย เป็น แอ เช่น เหี่ยว = แห่ว, เขี้ยว = แห้ว, เหยี่ยว = แหลว, เตี้ย = แต๊, เขียว = แหว 6) สระเสียงสั้นในภาษาไทยบางคำกลายเป็นสระเสียงยาวในภาษาผู้ไท เช่น ลิง = ลีง, ก้อนหิน = มะขี้หีน, ผิงไฟ = ฝีงไฟ 7) อิ เป็น อึ เช่น กลิ่น = กึ่น คิด = คึด/ฮึด 

9. คำเฉพาะถิ่น เป็นคำที่มีใช้เฉพาะในภาษาผู้ไท และอาจมีใช้ร่วมกับภาษาอื่นที่เคยมีวัฒนธรรมร่วมกัน เช่น

 *ดวงตะวัน = ตะเง็น, ขี้โก๊ *ดวงเดือน = โต๊ต่าน, เดิ๋น, ต๊อ *ประตูหน้าต่าง = ตู่บอง,ปะตู่บอง, ป่องเย่ม *ขี้โม้ = ขี้จะหาว *ขึ้นรา = ตึกเหนา *น้ำหม่าข้าว = น้ำโม๊ะ *สวย = ซับ,งาม *ตระหนี่,ขี้เหนียว = อีด, ขี้อีด, ขี้ถี่ *ประหยัด = ติ้กไต้, ตั๊กไต้ *หัวเข่า = โหโค้ย *ลูกอัณฑะ = มะขะหลำ *หัวใจ = เจ๋อ,โหเจ๋อ *หน้าอก = เอิ๊ก,อ๋าง *เหงือก = เฮ๊อะ *ตาตุ่ม = ปอเผอะ,ปอมเผอะ *ท้ายทอย = ง้อนด้น,กะด้น *หน้าผาก = หน้าแก่น,หน้าผะ *เอว = โซ่ง,กะโท้ย,แอ๋ว *ถ่านก่อไฟ = ก่อมี่,ขี้ก่อมี่ *พูดคุย,สนทนา = แอ่น,เว้าจ๋า *เกลี้ยกล่อม = โญะ, เญ๊า *หัน = ปิ่น,(ภาษาลาวว่า งวก) *ย้ายข้าง = อวาย, ว้าย (ภาษาลาวว่า อ่วย) *ขอร้อง,วิงวอน = แอ่ว,แอบ *กันนักกันหนา = กะดักกะด้อ *มาก,ยิ่ง = แฮง,กะดักกะด้อ-กะด้อ,หลาย *ไม่ใช่ = มิแม้น *จริง = เพิ้ง,แท้ *นึกว่า = ตื่อหวะ, กะเด๋วหวะ, เด๋วหวะ *พะวงใจ = ง้อ,คึดง้อ *อุทานไม่พอใจ = เยอ! เยอะ! *ไปโดยไม่หันกลับมา = ไปกิ่นๆ, ไปกี่ดี่ๆ *สั้น = สั้น, กิ๊ด, ขิ้น *ยาว = ญ๊าว, สาง *ปิด = ปิด, อัด, ฮี, กึด, งับ *เปิด = เปิด, ไข, อ้า *อวด = โอด,เอ้ *ขวด = โขด *ถั่ว = โถ่ *ถั่วฝักยาว = โถ่ฟั้กญ๊าว *กระดุม = มะติ่ง *ตุ้มหู = ด๊อก *ถุงย่าม = ถง *ก่อไฟ = ดังไฟ *เกลือ = เก๋อ *มะเขือ = มะเขอ *โรงเรียน = โรงเรน,โฮงเฮน *เรือน = เฮิน *กล้วย = โก้ย *กุ้ง = จุ้ง *มุ้ง = สุ้ด *วิ่ง = แล่น,เต้น *กลับบ้าน = เมอบ้าน,เมอเฮิน *รอคอย = คอง,คองถ้า *ล้างหน้า = โส่ยหน้า *ปวดหัว = เจ๊บโห *ปลาไหล = เหย่น, ป๋าเหย่น *ไส้เดือน = ไส้เดิ๋น,ขี้เดิ๋น *ผีเสื้อ = แมงกะเบ้อ *เหนือ(ทิศ) = เหนอ *เสื้อ = เส้อ *โกหก = ขี้โตะ *มองไม่เห็น(มืด) = มิเห็นฮุ้ง 

อ้างอิง

  1. ผู้ไท at Ethnologue (18th ed., 2015)

ภาษาผ, ไท, เข, ยน, ไท, เป, นภาษาในตระก, ลภาษาขร, ไท, ดจำนวนไม, อย, กระจ, ดกระจายในภ, ภาคต, าง, ของไทยและลาว, เข, าใจว, ดม, นท, อย, งเด, มอย, ในเม, อง, นาน, อยอ, อยหน, งเป, นท, ถกเถ, ยงก, นว, เม, องนาน, อยอ, อยหน, นเป, นถ, นฐานด, งเด, มของผ, ไทอย, ไหน, เพราะม, . phasaphuith ekhiyn phuith kmi epnphasaintrakulphasakhra ith miphuphudcanwnimnxy kracdkracayinphumiphakhtang khxngithyaelalaw ekhaicwa phuphudphasaphuithmithinthixyudngedimxyuinemuxng nanxyxxyhnu yngepnthithkethiyngknwa emuxngnanxyxxyhnu xnepnthinthandngedimkhxngphuithxyuthiihn ephraamiemuxngnanxyxxyhnuxyuthungsamaehng aehngaerkxyuekhtsibsxngpnna aehngthisxngkhuxtawnxxkechiyngitkhxngemuxngaethngaekhwn 12 cuithhruxpccubnkhuxcnghwdediynebiynfu aelaaehngthisamxyuhangcakemuxnglxkhxngewiydnampraman 10 kiolemtrphuithphuithpraethsthimikarphudpraethsithy praethslaw aelapraethsewiydnamcanwnphuphud866 000 khn 2545 2549 1 trakulphasakhra ith ithithtawntkechiyngitlaw phuithphuithrhsphasaISO 639 3phtchawithdakbphuithepnkhnlachatiphnthukn nkphasasastrsnnisthanwa xphyphaeykcakknnankwa 1 500 pimaaelw inpccubn mikarcdihphasaphuithepnklumyxykhxngphasaithdasungimthuktxng phuithxphyphcaknanxyxxyhnuipxyuthiemuxngwngxangkha sungkhuxemuxngwiraburiinaekhwngsuwrrnekht praethslaw kxnxphyphmaxyuindinaednpraethsithyemuximthung 200 pimani phuiththixphyphmaxyufngkhwaaemnaokhngmicanwnimnxy aetphuithsungxyufngsayaemnaokhngaethbaekhwngsuwrrnekhtaelaaekhwngkhamwninlaw kyngmiprapray mkcaeriykphuiththngsxngklumnirwm knwa phuithsxngfngokhng enuxha 1 khwamepnmakhxngchawphuithinsyam 2 phuphudphasaphuith 3 lksnakhxngphasa 4 hnwyesiyng 4 1 hnwyesiyngphyychna 4 2 hnwyesiyngsra 4 3 hnwyesiyngwrrnyukt 5 phyangkh 6 lksnaednkhxngphasaphuith 7 xangxingkhwamepnmakhxngchawphuithinsyam aekikhemux ph s 2369 kxnsngkhramecaxnuwngs trngkbinsmyrchkalthi 3 thiemuxngwngmikhwamwunway ekidkhdaeyngphayinkhxngklumphuith thimiemuxngwngepnemuxnghlk idmiithkhrwphuithklumhnungxphyphmatngbaneruxninfngkhwaaemnaokhng minayiphr rwm 2 648 khn txmaidtngbaneruxnxyuthibanbunghway inpi ph s 2373 phrasunthrrachwngsa ecaemuxngyosthr warachkarxyuemuxngnkhrphnmidmiibbxkkhxtngbandnghwayepnemuxng ernunkhr txma r 3 idthrngphrakrunaoprdekla ykbanbunghway khunepnemuxngernunkhr aelatngih thawsay hwhnaithkhrwphuithepn phraaekwokml ecaemuxngernunkhr khnaerk khunemuxngnkhrphnm inpi ph s 2387 sungkhuxthxngthi xaephxernunkhr cnghwdnkhrphnminpccubnnnexng cakexksar r 3 c s 1206 elkhthi 58 hxsmudaehngchati chawphuithernunkhr cungepnchawphuithklumaerkthixphyphmaxyuinekhtfngkhwaaemnaokhng hmaythungphuiththiepnbrrphburuskhxngkhnphuithinxisanpccubn nxkcakniphrasunthrrachwngsayngmikarkwadtxnchawephaxunnxkcakephaphuith echn ithyyx ithkha ithkaeling itheesk ithphwn l sungswnihymkcathukbibbngkhbihphldphrakcakbanekidemuxngnxneelayatiphinxngihiptngthinthanihmthixisantxnbn echn inphunthicnghwd nkhrphnm mukdahar sklnkhr kalsinthu enuxngdwyecanayechuxsayphrawxphratamikhwamtxngkarinxanacmak txngkaridkhwamdikhwamchxbcakphramhakstriykrungsyam sungepnehtuihchnephaklumnxyhlayklumthithukkwadtxnhruxthukkdkhikhmehngodyecanayxisansaydngklawcungimkhxymikhwamphxiceelayngmikhwamekhiydeekhnepnxyangmak xikthngecanayklumediywknniexngthiepnphurierimeelamkniymtikhahruxcbchawithkha cnsngklayepnwthnthrrmtikhaxnohdray tharunthiepnthiniymeephrhlayipinklumecanaylawxisanthicbnatwipsngswnklangipepneerngnganthashlngcaknn inpi ph s 2387 phuithcakemuxngwngxangkhaaelaemuxngiklekhiyng kxphyphtamma epnklumthi 2 aelwiptngbaneruxnxyuthiemuxngphrrnanikhm cnghwdsklnkhr emuxnghnxngsung cnghwdmukdahar emuxngkudsimnarayn xaephxekhawngaelaxaephxkuchinarayn cnghwdkalsinthu tamladb odyphuithklumcakemuxngkapxngidxphyphmatngthiemuxngwarichphumiepnklumphuiththikhammafngkhwaaemnaokhngklumlasud inpi ph s 2420 insmyrchkalthi 5 phuphudphasaphuith aekikhphuphudphasaphuithinpraethsithyswnihyxyuinbriewncnghwdphakhxisantxnbn idaek cnghwdkalsinthu nkhrphnm mukdahar rxyexd aelasklnkhr nxkcakniyngmixikelknxyincnghwdxanacecriy xudrthani yosthr aelabungkal odyinaetlathxngthincamisaeniyngaelakhasphththiaetktangknip epnthinasngektwa phasaphuithaemcakracayxyuinaethbxisan aetsaeniyngaelakhasphthnnaetktangkbphasaithythinxisanodythwipxyangmak xyangirktamyngmikhayumcakphasathinxisanxyuinphasaphuithbangepnthrrmda aetkimnbwamak dwyehtuni chawithythiphudphasaxisancungimsamarthphudhruxfngphasaphuithxyangekhaicodytlxd aetchawphuithswnihymkcaphudphasaxisanidlksnakhxngphasa aekikhdwyphasaphuithepnphasainklumphasaith cungmilksnaednrwmkbphasaithydwy nnkhux epnphasakhaodd mkepnkhaphyangkhediyw epnphasamiwrrnyukt okhrngsrangpraoykhaebbediywkn khux prathan kriya krrm SVO imphnruptamokhrngsrangpraoykhhnwyesiyng aekikhhnwyesiyngphyychna aekikh thankrnkhxngesiyng rimfipaklang fn rimfipak okhnfn ephdanswnaekhng ephdanswnxxn chwngkhxesiynghyud imkxng p t c k x esiynghyud imkxng ph th kh esiynghyud kxng b d esiyngkhuncmuk m n y ng esiyngesiydaethrk f s h kungsra w y lxdkhanglin l inthinikhxxthibayechphaaesiyngthiaetktangcakphasaithymatrthan dngni y epnhnwyesiyngphiess thiimphbinphasaithyphakhklang aelathinit aetphbidinphasaithythinxisan aelaehnuxhnwyesiyngsra aekikh phasaphuithmisraediyw 9 tw hrux 18 twhaknbsraesiyngyawdwy odythwipmilksnakhxngesiyngkhlaykbsrainphasaithythinxun ephuxkhwamsadwk inthiniichxksr x prakxbsra ephuxihekhiynngay srasung xi xi xu xux xu xusraklang exa ex exxa exx oxa oxsrata aexa aex xa xa exaa xxxnung inphasaphuithimichsraprasm caichaetsraediywkhangbnni twxyangkhathiphasaithyklangepnsraprasm aetphasaphuithichsraediyw phasaithyklang phasaphuith hw oh swn osn esiy es ekhiyn ekhn esux esx maekhux maekhx hnwyesiyngwrrnyukt aekikh hnwyesiyngwrrnyuktinphasaphuith midwykn 5 hnwyphyangkh aekikhphyangkhinphasaphuithmkcaepnphyangkhxyangngay dngni emuxprasmdwysraesiyngyaw phyangkhxacprakxbdwyphyychnatn sra aelawrrnyukt odycamiphyychnatwsakdhruximkid emuxmisraesiyngsn phyangkhprakxbdwyphyychnatn sra wrrnyukt aelaphyychnatwsakdlksnaednkhxngphasaphuith aekikhphasaphuithmilksnaedndngni 1 phyychna kh kh k inphasaithyaelalaw xisanbangkha xxkesiyngepn h h h echn phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuithaekhn aehn ekhm ehm khn khnnxt hn kha ha khxng hxngkhn hn ekha eha khxd hxd khxn khxnim hxn khun hunkha ha khad had ekhiyw fn aehw khdkhxng yungehying hxng khx hxkhay hay ekha stw eha ekhiyw aehw khaw haw2 esiyngsra i xxkesiyngepn exx aelasra i bangkhakxxkesiyngepn exx echn phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuithikl ekhx ihn is law esx sielx enxehx taelx it etx ich esx in enx edxic ecx ihm emx it etx is esx ih ehxikhr iph law ephx ihy eyx bwm ikh law ekhx ib ebx3 phasaphuithimmisraphsm exux xw exiy ichaetephiyngsraediyw echnediywkbphasaithlux ithkhun echn phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuith phasaithy phasaphuithekhiyd ekhd erux ehx eriyn ehn sxn bwng chxn obng mwn omnekwiyn ekn swn osn ekhiy ekh eliyw elw emiy emehyiyb ehyb enguxn engin epluxn epin hnwd ond phw oph4 khathiichsraesiyngyawaelwsakddwy k caepliynepnsraesiyngsn imxxkesiyng k echnediywkbphasaiththinitfngtawntk aelaphasaithda ithkhaw phwn echn luk lu bxk ebaa aetk aeta txk etaa lxk elaa lun hnxk enaa yak ya fak fng fa hlik li pik pi rak ha kak ka xyak eyxa eluxk elxa naemuxk naemxa namuk khimu phuk phu hyxk eyaa hmxk emaa dxkim edaaim sxk esaa hnwk ona thuk thuk inphasalaw thu 5 phasaphuithichkhathiaesdngthungkarptiesthwa mi hmi hruxemuxphuderwkcaxxkesiyngepn mi echnediywkbphasaithyobran phasacwng bou mi aelaphasaluxbangaehng echn imid miid imbxk miebaa imru mihu mihuck mick ck imehn miehn imphudimca miewamica imip miip imekhaic miehaecx 6 khathamcaichaetktangcakphasaithydngni xair ephx phaehlx phiehlx thaim ephraaxair exdephx epnephx ihn esx sielx enxehx ikhr ephx phuelx ethaihr aekhihn thxelx hawelx khaelx xyangir aenwelx saelx sielx emuxihr badelx yamelx muxelx ihm hruxplaw ebaa yuebaa yuti la ed 7 khawa ck hrux ca inphasaithy phasaphuith caichkhawa hla echn ethxcaipihn ecahlaipsielx chnkalngcaphud khxythmhlaewa ekhacakhuykneruxngxair ekhahlaaexnedwelingephx khx 8 epntnipepnephiyngplikyxy 8 bangkhamikarxxkesiyngtangcakphasaithy dngni 1 kh epn s echn khng sng khrk sk 2 d epn l echn sadung ekhruxngmux haplachnidhnung calung 3 xa epn exa echn mn hwmn emn mnaekw emnepha ohexn mneths emnaekw 4 exa epn xi echn eln din edknxy diknxy ehlkil tapu likil 5 exiy epn aex echn ehiyw aehw ekhiyw aehw ehyiyw aehlw etiy aet ekhiyw aehw 6 sraesiyngsninphasaithybangkhaklayepnsraesiyngyawinphasaphuith echn ling ling kxnhin makhihin phingif fingif 7 xi epn xu echn klin kun khid khud hud 9 khaechphaathin epnkhathimiichechphaainphasaphuith aelaxacmiichrwmkbphasaxunthiekhymiwthnthrrmrwmkn echn dwngtawn taengn khiok dwngeduxn ottan edin tx pratuhnatang tubxng patubxng pxngeym khiom khicahaw khunra tukehna nahmakhaw naoma swy sb ngam trahni khiehniyw xid khixid khithi prahyd tikit tkit hwekha ohokhy lukxntha makhahla hwic ecx ohecx hnaxk exik xang ehnguxk ehxa tatum pxephxa pxmephxa thaythxy ngxndn kadn hnaphak hnaaekn hnapha exw osng kaothy aexw thankxif kxmi khikxmi phudkhuy snthna aexn ewaca ekliyklxm oya eya hn pin phasalawwa ngwk yaykhang xway way phasalawwa xwy khxrxng wingwxn aexw aexb knnkknhna kadkkadx mak ying aehng kadkkadx kadx hlay imich miaemn cring ephing aeth nukwa tuxhwa kaedwhwa edwhwa phawngic ngx khudngx xuthanimphxic eyx eyxa ipodyimhnklbma ipkin ipkidi sn sn kid khin yaw yaw sang pid pid xd hi kud ngb epid epid ikh xa xwd oxd ex khwd okhd thw oth thwfkyaw othfkyaw kradum mating tumhu dxk thungyam thng kxif dngif eklux ekx maekhux maekhx orngeriyn orngern ohngehn eruxn ehin klwy oky kung cung mung sud wing aeln etn klbban emxban emxehin rxkhxy khxng khxngtha langhna osyhna pwdhw ecboh plaihl ehyn paehyn iseduxn isedin khiedin phiesux aemngkaebx ehnux this ehnx esux esx okhk khiota mxngimehn mud miehnhungxangxing aekikhwiilwrrn khnisthannth phasaphuith orngphimphmhawithyalythrrmsastr krungethph 2520 thyylksn ichysukh mxlelxrrph and Asger Mollerup phasaphuith ephuxsukhphaph phuith ithy xngkvs 2556 Archived 2017 06 29 thi ewyaebkaemchchin phasaphuith Archived 2019 12 01 thi ewyaebkaemchchin karsuksaepriybethiybphasaphuithinpraethsithyaelapraethslaw Phutai Language Archived 2019 12 01 thi ewyaebkaemchchin A comparative study of the Phutai in Thailand and Laos P D R okhrngkarxnurksaelafunfukhunkhakhxngphasaphuith Archived 2019 11 18 thi ewyaebkaemchchin In Search for the Phutais Archived 2019 09 15 thi ewyaebkaemchchin Mo Yao Archived 2019 11 10 thi ewyaebkaemchchin Phutai Healing About Some Linguistic Variations in Phu Tai lingkesiy phuith at Ethnologue 18th ed 2015 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaphuith amp oldid 9840298, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม