fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาอาหรับเลบานอน

ภาษาอาหรับเลบานอน (Lebanese Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในเลบานอนและเป็นสำเนียงย่อยของภาษาอาหรับเลอวานต์ ชาวมาโรไนต์ในบริเวณนั้นถือว่าภาษาอาหรับเลบานอนเป็นภาษาเอกเทศ

ภาษาอาหรับเลบานอน
ประเทศที่มีการพูดเลบานอน
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรอาหรับ
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการไม่มี
ผู้วางระเบียบไม่มี
รหัสภาษา
ISO 639-2ara
ISO 639-3apc

การเปลี่ยนแปลงจากภาษาอาหรับคลาสสิก

ภาษาอาหรับเลบานอนมีลักษณะหลายอย่างที่ใกล้เคียงกับภาษาอาหรับสมัยใหม่ ประโยคที่ใช้เป็นแบบง่าย ไม่มีเครื่องหมายมาลาและการก การใช้กริยาโดยกำหนดตามจำนวนและเพศเป็นเรื่องจำเป็นสำหรับประธานทุกตัว ภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาฝรั่งเศสมากและกลุ่มผู้มีการศึกษามักแทรกภาษาฝรั่งเศสเข้าไปในบทสนทนาซึ่งเป็นผลมาจากการที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสมาก่อน ความแตกต่างจากภาษาอาหรับคลาสสิกทั้งด้านคำศัพท์และสัทวิทยามีดังต่อไปนี้

  • ในภาษาอาหรับ, "มองไปข้างใน" เป็น /ʊnðˤʊr fɪdːaːχɪl/, หรือเพศหญิง, /ʊnðˤʊri fɪdːaːχɪl/. ส่วนในภาษาอาหรับเลบานอนที่ใช้ในซีเรียและปาเลสไตน์กลายเป็น /ʃuːf ʒʊwːɛ/, หรือเพศหญิงเป็น, /ʃuːfi ʒʊwːɛ/.
  • การออกเสียงภาษาอาหรับมาตรฐานที่เป็นภาษาเขียนและภาษาอาหรับเลบานอนที่เป็นภาษาพูดมีความแตกต่างกัน: กาแฟ (قهوة), ออกเสียง/qahwa/ ในภาษาอาหรับมาตรฐานแต่ออกเสียงเป็น /ʔahwe/ ในภาษาอาหรับเลบานอน อักษร Qaaf ไม่ออกเสียง และ taa marbuta เป็นเสียง /e/
  • โดยทั่วไป Qaaf มักจะไม่ออกเสียงและมักถูกแทนที่ด้วยฮัมซะหฺหรือเสียง/อ/ เช่น /daqiːqa/ (นาที) เป็น /daʔiːʔa/.
  • มีเพียงชาวดรูซในเลบานอนที่ยังออกเสียง Qaaf ได้เช่นเดียวกับชาวดรูซในซีเรีย และอิสราเอล
  • ภาษาอาหรับเลบานอนยังคงรักษาเสียงสระประสม /aɪ/ และ /aʊ/, ซึ่งกลายเป็นเสียง /e/ และ/o/ ในสำเนียงอื่น ต่อมาเสียงนี้ได้เปลี่ยนไปอีก /e/ เป็น /ai/, /a/ และ /I ส่วน /o/ เป็น /au/ และ /u/
  • มีคำศัพท์ที่มาจากภาษาอื่นเช่นกันคือภาษาอราเมอิก ภาษากรีก ภาษาฝรั่งเศส และภาษาตุรกี

การเปลี่ยนรูปตัวสะกด

ภาษาอาหรับเลบานอนมีการเขียนน้อย ยกเว้นในนิยายซึ่งมีการแสดงสำเนียงหรือบทกวีบางชนิดซึ่งไม่ใช้ภาษาอาหรับมาตรฐาน การตีพิมพ์เผยแพร่ในเลบานอน เช่นหนังสือพิมพ์ใช้ภาษาอาหรับมาตรฐาน การเขียนในภาษาอาหรับมีเพีงรูปแบบเดียว ในขณะที่มีการใช้ภาษาอาหรับแบบไม่เป็นทางการเช่นการสนทนาออนไลน์ อาจจะมีการผสมอักษรโรมันเข้าไป แต่การใช้อักษรโรมันในภาษาอาหรับไม่เป็นที่นิยมแพร่หลาย

อ้างอิง

  • Spoken Lebanese. Maksoud N. Feghali, Appalachian State University. Parkway Publishers, 1999 (ISBN 1-887905-14-6)
  • Michel T. Feghali, Syntaxe des parlers arabes actuels du Liban, Geuthner, Paris, 1928.
  • Elie Kallas, 'Atabi Lebnaaniyyi. Un livello soglia per l'apprendimento del neoarabo libanese, Cafoscarina, Venice, 1995.
  • Angela Daiana Langone, Btesem ente lebneni. Commedia in dialetto libanese di Yahya Jaber, Università degli Studi La Sapienza, Rome, 2004.
  • Jérome Lentin, "Classification et typologie des dialectes du Bilad al-Sham", in Matériaux Arabes et Sudarabiques n. 6, 1994, 11-43.
  • Plonka Arkadiusz, L’idée de langue libanaise d’après Sa‘īd ‘Aql, Paris, Geuthner, 2004, ISBN 2-7053-3739-3
  • Plonka Arkadiusz, "Le nationalisme linguistique au Liban autour de Sa‘īd ‘Aql et l’idée de langue libanaise dans la revue «Lebnaan» en nouvel alphabet", Arabica, 53 (4), 2006, 423-471.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Online Material for Learning Lebanese Arabic
  • Lebanese alphabet by Omniglot

ภาษาอาหร, บเลบานอน, lebanese, arabic, เป, นสำเน, ยงของภาษาอาหร, บท, ใช, ดในเลบานอนและเป, นสำเน, ยงย, อยของภาษาอาหร, บเลอวานต, ชาวมาโรไนต, ในบร, เวณน, นถ, อว, าเป, นภาษาเอกเทศประเทศท, การพ, ดเลบานอนตระก, ลภาษาแอโฟรเอช, แอต, ภาษากล, มเซม, กภาษากล, มเซม, กตะว, นต. phasaxahrbelbanxn Lebanese Arabic epnsaeniyngkhxngphasaxahrbthiichphudinelbanxnaelaepnsaeniyngyxykhxngphasaxahrbelxwant chawmaorintinbriewnnnthuxwaphasaxahrbelbanxnepnphasaexkethsphasaxahrbelbanxnpraethsthimikarphudelbanxntrakulphasaaexofrexchiaextik phasaklumesmitikphasaklumesmitiktawntkphasaklumesmitikklangphasaklumesmitikklangitphasaxahrbphasaxahrbelbanxnrabbkarekhiynxksrxahrbsthanphaphthangkarphasathangkarimmiphuwangraebiybimmirhsphasaISO 639 2araISO 639 3apc enuxha 1 karepliynaeplngcakphasaxahrbkhlassik 2 karepliynruptwsakd 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunkarepliynaeplngcakphasaxahrbkhlassik aekikhphasaxahrbelbanxnmilksnahlayxyangthiiklekhiyngkbphasaxahrbsmyihm praoykhthiichepnaebbngay immiekhruxnghmaymalaaelakark karichkriyaodykahndtamcanwnaelaephsepneruxngcaepnsahrbprathanthuktw phasaniidrbxiththiphlcakphasafrngessmakaelaklumphumikarsuksamkaethrkphasafrngessekhaipinbthsnthnasungepnphlmacakkarthiekhyepnxananikhmkhxngfrngessmakxn khwamaetktangcakphasaxahrbkhlassikthngdankhasphthaelasthwithyamidngtxipni inphasaxahrb mxngipkhangin epn ʊndˤʊr fɪdːaːxɪl hruxephshying ʊndˤʊri fɪdːaːxɪl swninphasaxahrbelbanxnthiichinsieriyaelapaelsitnklayepn ʃuːf ʒʊwːɛ hruxephshyingepn ʃuːfi ʒʊwːɛ karxxkesiyngphasaxahrbmatrthanthiepnphasaekhiynaelaphasaxahrbelbanxnthiepnphasaphudmikhwamaetktangkn kaaef قهوة xxkesiyng qahwa inphasaxahrbmatrthanaetxxkesiyngepn ʔahwe inphasaxahrbelbanxn xksr Qaaf imxxkesiyng aela taa marbuta epnesiyng e odythwip Qaaf mkcaimxxkesiyngaelamkthukaethnthidwyhmsah hruxesiyng x echn daqiːqa nathi epn daʔiːʔa miephiyngchawdrusinelbanxnthiyngxxkesiyng Qaaf idechnediywkbchawdrusinsieriy aelaxisraexl phasaxahrbelbanxnyngkhngrksaesiyngsraprasm aɪ aela aʊ sungklayepnesiyng e aela o insaeniyngxun txmaesiyngniidepliynipxik e epn ai a aela I swn o epn au aela u mikhasphththimacakphasaxunechnknkhuxphasaxraemxik phasakrik phasafrngess aelaphasaturkikarepliynruptwsakd aekikhphasaxahrbelbanxnmikarekhiynnxy ykewninniyaysungmikaraesdngsaeniynghruxbthkwibangchnidsungimichphasaxahrbmatrthan kartiphimphephyaephrinelbanxn echnhnngsuxphimphichphasaxahrbmatrthan karekhiyninphasaxahrbmiephingrupaebbediyw inkhnathimikarichphasaxahrbaebbimepnthangkarechnkarsnthnaxxniln xaccamikarphsmxksrormnekhaip aetkarichxksrormninphasaxahrbimepnthiniymaephrhlayxangxing aekikhSpoken Lebanese Maksoud N Feghali Appalachian State University Parkway Publishers 1999 ISBN 1 887905 14 6 Michel T Feghali Syntaxe des parlers arabes actuels du Liban Geuthner Paris 1928 Elie Kallas Atabi Lebnaaniyyi Un livello soglia per l apprendimento del neoarabo libanese Cafoscarina Venice 1995 Angela Daiana Langone Btesem ente lebneni Commedia in dialetto libanese di Yahya Jaber Universita degli Studi La Sapienza Rome 2004 Jerome Lentin Classification et typologie des dialectes du Bilad al Sham in Materiaux Arabes et Sudarabiques n 6 1994 11 43 Plonka Arkadiusz L idee de langue libanaise d apres Sa id Aql Paris Geuthner 2004 ISBN 2 7053 3739 3 Plonka Arkadiusz Le nationalisme linguistique au Liban autour de Sa id Aql et l idee de langue libanaise dans la revue Lebnaan en nouvel alphabet Arabica 53 4 2006 423 471 aehlngkhxmulxun aekikhOnline Material for Learning Lebanese Arabic Lebanese alphabet by Omniglotekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaxahrbelbanxn amp oldid 4728787, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม