fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาลิเชีย

ภาษาลิเชีย (อังกฤษ: Lycian language ออกเสียง Lycian) เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน กลุ่มอนาโตเลีย ใช้พูดในยุคเหล็กในบริเวณลิเชียในอนาโตเลีย (ตุรกีปัจจุบัน) คาดว่าสืบทอดมาจากภาษาฮิตไตน์หรือภาษาลูเวียหรือทั้งสองภาษา

ผู้พูด

ลิเซียครอบคลุมพื้นที่ระหว่างเมืองอันตัลยาและเฟติเยในปัจจุบันทางภาคใต้ของตุรกี โดยเฉพาะบริเวณจากอ่าวเฟติเยไปจนถึงอ่าวอันตัลยา เอกสารในสมัยอียิปต์โบราณได้กล่าวว่าในหมู่ของคนทะเลมีบริเวณที่เรียกว่าลิคาโอเนีย อยู่ในเขตภูเขาทางตะวันอออกระหว่างเมืองอันตัลยาและเมอร์ซินในปัจจุบัน

ลักษณะของภาษา

ภาษาลิเซียจัดเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนในกลึ่มย่อยลูเวียของกลุ่มภาษาอนาโตเลีย ในกลุ่มนี้มีอักษรรูปลิ่ม และอักษรเฮียโรกลิฟของภาษาลูเวีย ภาษาคาเรีย ภาษาซิเดติก และภาษาปิซิดิก ภาษาในกลุ่มย่อยนี้ใช้พูดในยุคเหล็กหรือเมื่อประมาณ 457 ปีก่อนพุทธศักราช ไม่มีหลักฐานกล่าวว่าในสมัยสงครามโทรจันมีผู้พูดภาษาลิเซีย ส่วนภาษาลูเวียนั้นมีประวัติย้อนกลับไปถึงตอนปลายของยุคทองแดง และมาตลอดจนถึงการล่มสลายของจักวรรดิฮิตไตต์ สมาชิกอื่นๆในกลุ่มนี้จัดเป็นภาษาลูกหลานของภาษาลิเซีย คาดว่าภาษาลิเซียเป็นภาษาตายในราวพุทธศตวรรษที่ 6 และถูกแทนที่ด้วยภาษากรีกโบราณ ภาษานี้เป็นที่รู้จักจากจารึก ซึ่งนักวิชาการแบ่งเป็น 2 สำเนียง คือภาษาลิเซียสำเนียงมาตรฐานหรือลิเซียเอ อีกสำเนียงเรียกว่าลิเซียบีหรือมิเลียนซึ่งแตกต่างกันทางด้านไวยากรณ์ ภาษาลิเซียมีอักษรเป็นของตนเองคืออักษรลิเชียซึ่งคล้ายกับอักษรกรีก โดยมีบางตัวยืมมาจากอักษรคาเรีย

อ้างอิง

  • Trevor R. Bryce, The Lycians, Vol. I, Copenhagen : Museum Tusculanum Press, 1986, pp. 68-71 (ISBN 87-7289-023-1)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ภาษาลิเชีย
  • Lycian Turkey
  • ไวยากรณ์ภาษาลิเชีย
  • Working group document on Lycian Language
  • Lycian text

ภาษาล, เช, งกฤษ, lycian, language, ออกเส, ยง, lycian, เป, นภาษาตระก, ลอ, นโด, โรเป, ยน, กล, มอนาโตเล, ใช, ดในย, คเหล, กในบร, เวณล, เช, ยในอนาโตเล, รก, จจ, คาดว, าส, บทอดมาจากภาษาฮ, ตไตน, หร, อภาษาล, เว, ยหร, อท, งสองภาษาภ, ภาคอนาโตเล, ยตะว, นตกเฉ, ยงใต, ญหายปร. phasaliechiy xngkvs Lycian language xxkesiyng Lycian epnphasatrakulxinod yuorepiyn klumxnaoteliy ichphudinyukhehlkinbriewnliechiyinxnaoteliy turkipccubn khadwasubthxdmacakphasahititnhruxphasaluewiyhruxthngsxngphasaphasaliechiyphumiphakhxnaoteliytawntkechiyngitsuyhaypraman ph s 443trakulphasaxinod yuorepiyn phasaklumxnaoteliyphasaluewiyphasaliechiyrabbkarekhiynxksrliechiyrhsphasaISO 639 3xlc enuxha 1 phuphud 2 lksnakhxngphasa 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunphuphud aekikhliesiykhrxbkhlumphunthirahwangemuxngxntlyaaelaeftieyinpccubnthangphakhitkhxngturki odyechphaabriewncakxaweftieyipcnthungxawxntlya exksarinsmyxiyiptobranidklawwainhmukhxngkhnthaelmibriewnthieriykwalikhaoxeniy xyuinekhtphuekhathangtawnxxxkrahwangemuxngxntlyaaelaemxrsininpccubnlksnakhxngphasa aekikhphasaliesiycdepnphasaklumxinod yuorepiyninklumyxyluewiykhxngklumphasaxnaoteliy inklumnimixksrruplim aelaxksrehiyorklifkhxngphasaluewiy phasakhaeriy phasasiedtik aelaphasapisidik phasainklumyxyniichphudinyukhehlkhruxemuxpraman 457 pikxnphuththskrach immihlkthanklawwainsmysngkhramothrcnmiphuphudphasaliesiy swnphasaluewiynnmiprawtiyxnklbipthungtxnplaykhxngyukhthxngaedng aelamatlxdcnthungkarlmslaykhxngckwrrdihititt smachikxuninklumnicdepnphasalukhlankhxngphasaliesiy khadwaphasaliesiyepnphasatayinrawphuththstwrrsthi 6 aelathukaethnthidwyphasakrikobran phasaniepnthiruckcakcaruk sungnkwichakaraebngepn 2 saeniyng khuxphasaliesiysaeniyngmatrthanhruxliesiyex xiksaeniyngeriykwaliesiybihruxmieliynsungaetktangknthangdaniwyakrn phasaliesiymixksrepnkhxngtnexngkhuxxksrliechiysungkhlaykbxksrkrik odymibangtwyummacakxksrkhaeriyxangxing aekikhTrevor R Bryce The Lycians Vol I Copenhagen Museum Tusculanum Press 1986 pp 68 71 ISBN 87 7289 023 1 aehlngkhxmulxun aekikhphasaliechiy Lycian Turkey iwyakrnphasaliechiy Working group document on Lycian Language Lycian textekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaliechiy amp oldid 9354156, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม