fbpx
วิกิพีเดีย

ลูนา 1

ลูนา 1 (อี-1 ซีรีส์) ซึ่งในขณะนั้นรู้จักกันในชื่อ เมชตา (รัสเซีย: Мечта; "ความฝัน"), E-1 หมายเลข 4 เป็นยานอวกาศลำแรกที่เดินทางไปถึงบริเวณใกล้เคียงของดวงจันทร์ และเป็นลำแรกในโครงการลูนาของโซเวียตที่สามารถปล่อยขึ้นไปในทิศทางเดียวกับดวงจันทร์ได้สำเร็จ ลูนา 1 ซึ่งภารกิจเป็นยานปะทะดวงจันทร์ แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากการจุดจรวดท่อนบนที่ผิดเวลาในระหว่างการปล่อย ทำให้พลาดเป้าจากดวงจันทร์ โดยเป็นยานอวกาศลำแรกที่ออกจากวงโคจรรอบโลก ลูนา 1 บินผ่านดวงจันทร์ด้วยระยะใกล้สุด 5,900 กิโลเมตร (มากกว่าสามเท่าของขนาดรัศมีดวงจันทร์) และกลายเป็นยานอวกาศที่อยู่ในวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นลำแรก ถูกขนานนามว่าเป็น "ดาวเคราะห์ดวงใหม่" และเปลี่ยนชื่อเป็นเมชตา และยังถูกเรียกว่าเป็น "First Cosmic Rocket" จากความสำเร็จในการหลุดพ้นแรงดึงดูดโลก

เมชตา
Мечта
แบบจำลองในพิพิธภัณฑ์
ประเภทภารกิจยานปะทะดวงจันทร์
ผู้ดำเนินการสหภาพโซเวียต
Harvard designation1959 Mu 1
COSPAR ID1959-012A
SATCAT no.112
ระยะภารกิจประมาณ 62 ชั่วโมง
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตОКБ-1
มวลขณะส่งยาน361 กิโลกรัม (796 ปอนด์)
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น2 มกราคม 1959 16:41:21 UTC
จรวดนำส่งลูนา 8K72
ฐานส่งไบโคนูร์ 1/5
สิ้นสุดภารกิจ
ติดต่อครั้งสุดท้าย5 มกราคม 1959
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงโคจรรอบดวงอาทิตย์
กึ่งแกนเอก1.146 หน่วยดาราศาสตร์
ความเยื้อง0.14767
ระยะใกล้สุด0.9766 หน่วยดาราศาสตร์
ระยะไกลสุด1.315 หน่วยดาราศาสตร์
อินคลิเนชั่น0.01 องศา
คาบการโคจร450 วัน
วันที่ใช้อ้างอิง1 มกราคม 1959, 19:00:00 UTC
บินผ่าน ดวงจันทร์ (ปะทะล้มเหลว)
เข้าใกล้สุด4 มกราคม 1959
ระยะห่าง5,995 กิโลเมตร (3,725 ไมล์)
โครงการลูนา
← ลูนา E-1 หมายเลข 3
ลูนา E-1A หมายเลข 1 →
 

ขณะเดินทางผ่านแถบรังสีแวนอัลเลนชั้นนอก เครื่องมือตรวจวัดรังสีของยานสามารถตรวจจับอนุภาคพลังงานสูงปริมาณเล็กน้อยที่มีอยู่ในวงแหวนชั้นนอก ค่าที่ได้จากการตรวจวัดดังกล่าวทำให้ได้ข้อมูลใหม่เกี่ยวกับแถบรังสีของโลกและอวกาศ ปรากฏว่าดวงจันทร์ไม่มีสนามแม่เหล็กที่สามารถตรวจพบได้ นอกจากนี้ ลูนา 1 ยังเป็นครั้งแรกที่มีการสังเกตและตรวจวัดลมสุริยะโดยตรง ความเข้มข้นของพลาสมาที่ถูกเปลี่ยนเป็นไอออนดังกล่าววัดปริมาณได้ราว 700 อนุภาคต่อ ลบ.ซม. ที่ระดับความสูง 20,000-25,000 กิโลเมตร และ 300 ถึง 400 อนุภาคต่อ ลบ.ซม. ที่ระดับความสูง 100,000-150,000 กิโลเมตร ลูนา 1 ยังได้มีการติดต่อทางวิทยุเป็นครั้งแรกจากระยะทางครึ่งล้านกิโลเมตรจากพื้นโลก

ชุดขับดันลูนา 1 Blok E ส่วนบนและการจัดวางสัมภาระยานปะทะดวงจันทร์

อ้างอิง

  1. Siddiqi, Asif A (2018). "Beyond Earth: A Chronicle of Deep Space Exploration, 1958–2016" (PDF). The NASA history series (second ed.). Washington, DC: NASA History Program Office. p. 11. ISBN 978-1-62683-042-4. LCCN 2017059404.
  2. "Luna Ye-1". Gunter's Space Page. สืบค้นเมื่อ November 9, 2019.
  3. "Luna 1". NASA Space Science Data Coordinated Archive.
  4. Siddiqi 2018, p. 11.
  5. "Luna 1 Launch and Trajectory Information". NASA Space Science Data Coordinated Archive. สืบค้นเมื่อ 2018-05-02.
  6. David Darling (2003). The complete book of spaceflight: from Apollo 1 to zero gravity. John Wiley and Sons. p. 244. ISBN 0471056499.
  7. Cormack, Lesley B. (2012). A History of Science in Society: From Philosophy to Utility (2nd ed.). University of Toronto Press. p. 342. ISBN 978-1-4426-0446-9.
  8. Brian Harvey (2007). Russian planetary exploration: history, development, legacy, prospects. Springer. p. 26. ISBN 0387463437.
  9. David Darling. "Luna". Internet Encyclopedia of Science.
  10. "Luna 1". NASA National Space Science Data Center. สืบค้นเมื่อ 4 August 2007.
  11. . Yearbook of the Great Soviet Encyclopedia (ภาษาRussian). Moscow: Sovetskaya Enciklopediya. 1959. ISSN 0523-9613. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2008-03-21.CS1 maint: unrecognized language (link)

แหล่งข้อมูลอื่น

  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ลูนา 1
  • Zarya – Luna - Exploring the Moon


นา, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, งในขณะน, นร, กก, นในช, เมชตา, สเซ, Мечта, ความฝ, หมายเลข, เป, นยานอวกาศลำแรกท, เด, นทา. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudluna 1 xi 1 siris sunginkhnannruckkninchux emchta rsesiy Mechta khwamfn E 1 hmayelkh 4 6 epnyanxwkaslaaerkthiedinthangipthungbriewniklekhiyngkhxngdwngcnthr aelaepnlaaerkinokhrngkarlunakhxngosewiytthisamarthplxykhunipinthisthangediywkbdwngcnthridsaerc luna 1 sungpharkicepnyanpathadwngcnthr aetxyangirktamenuxngcakkarcudcrwdthxnbnthiphidewlainrahwangkarplxy thaihphladepacakdwngcnthr odyepnyanxwkaslaaerkthixxkcakwngokhcrrxbolk luna 1 binphandwngcnthrdwyrayaiklsud 5 900 kiolemtr makkwasamethakhxngkhnadrsmidwngcnthr aelaklayepnyanxwkasthixyuinwngokhcrrxbdwngxathityepnlaaerk thukkhnannamwaepn dawekhraahdwngihm aelaepliynchuxepnemchta 7 aelayngthukeriykwaepn First Cosmic Rocket cakkhwamsaercinkarhludphnaerngdungdudolkemchtaMechtaaebbcalxnginphiphithphnthpraephthpharkicyanpathadwngcnthr 1 phudaeninkarshphaphosewiytHarvard designation1959 Mu 1 2 COSPAR ID1959 012A 3 SATCAT no 112 3 rayapharkicpraman 62 chwomng 4 khxmulyanxwkasphuphlitOKB 1mwlkhnasngyan361 kiolkrm 796 pxnd erimtnpharkicwnthisngkhun2 mkrakhm 1959 16 41 21 UTCcrwdnasngluna 8K72thansngibokhnur 1 5sinsudpharkictidtxkhrngsudthay5 mkrakhm 1959lksnawngokhcrrabbxangxingokhcrrxbdwngxathitykungaeknexk1 146 hnwydarasastrkhwameyuxng0 14767rayaiklsud0 9766 hnwydarasastrrayaiklsud1 315 hnwydarasastrxinkhlienchn0 01 xngsakhabkarokhcr450 wnwnthiichxangxing1 mkrakhm 1959 19 00 00 UTC 5 binphan dwngcnthr pathalmehlw ekhaiklsud4 mkrakhm 1959rayahang5 995 kiolemtr 3 725 iml okhrngkarluna luna E 1 hmayelkh 3luna E 1A hmayelkh 1 khnaedinthangphanaethbrngsiaewnxlelnchnnxk ekhruxngmuxtrwcwdrngsikhxngyansamarthtrwccbxnuphakhphlngngansungprimanelknxythimixyuinwngaehwnchnnxk khathiidcakkartrwcwddngklawthaihidkhxmulihmekiywkbaethbrngsikhxngolkaelaxwkas praktwadwngcnthrimmisnamaemehlkthisamarthtrwcphbid nxkcakni luna 1 yngepnkhrngaerkthimikarsngektaelatrwcwdlmsuriyaodytrng 8 9 10 khwamekhmkhnkhxngphlasmathithukepliynepnixxxndngklawwdprimanidraw 700 xnuphakhtx lb sm thiradbkhwamsung 20 000 25 000 kiolemtr aela 300 thung 400 xnuphakhtx lb sm thiradbkhwamsung 100 000 150 000 kiolemtr 11 luna 1 yngidmikartidtxthangwithyuepnkhrngaerkcakrayathangkhrunglankiolemtrcakphunolk chudkhbdnluna 1 Blok E swnbnaelakarcdwangsmpharayanpathadwngcnthrxangxing aekikh Siddiqi Asif A 2018 Beyond Earth A Chronicle of Deep Space Exploration 1958 2016 PDF The NASA history series second ed Washington DC NASA History Program Office p 11 ISBN 978 1 62683 042 4 LCCN 2017059404 Luna Ye 1 Gunter s Space Page subkhnemux November 9 2019 3 0 3 1 Luna 1 NASA Space Science Data Coordinated Archive Siddiqi 2018 p 11 Luna 1 Launch and Trajectory Information NASA Space Science Data Coordinated Archive subkhnemux 2018 05 02 David Darling 2003 The complete book of spaceflight from Apollo 1 to zero gravity John Wiley and Sons p 244 ISBN 0471056499 Cormack Lesley B 2012 A History of Science in Society From Philosophy to Utility 2nd ed University of Toronto Press p 342 ISBN 978 1 4426 0446 9 Brian Harvey 2007 Russian planetary exploration history development legacy prospects Springer p 26 ISBN 0387463437 David Darling Luna Internet Encyclopedia of Science Luna 1 NASA National Space Science Data Center subkhnemux 4 August 2007 Soviet Space Rocket Yearbook of the Great Soviet Encyclopedia phasaRussian Moscow Sovetskaya Enciklopediya 1959 ISSN 0523 9613 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2008 03 21 CS1 maint unrecognized language link aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb luna 1 Zarya Luna Exploring the Moonekhathungcak https th wikipedia org w index php title luna 1 amp oldid 8995525, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม