fbpx
วิกิพีเดีย

สมการเชิงเส้น

สมการเชิงเส้น คือสมการที่แต่ละพจน์มีเพียงค่าคงตัว หรือเป็นผลคูณระหว่างค่าคงตัวกับตัวแปรยกกำลังหนึ่ง ซึ่งจะมีดีกรีของพหุนามเท่ากับ 0 หรือ 1 สมการเหล่านี้เรียกว่า "เชิงเส้น" เนื่องจากสามารถวาดกราฟของฟังก์ชันบนระบบพิกัดคาร์ทีเซียนได้เป็นเส้นตรง รูปแบบทั่วไปของสมการเชิงเส้นในตัวแปร x และ y คือ

ตัวอย่างกราฟของสมการเชิงเส้น

โดยที่ m คือค่าคงตัวที่แสดงความชันหรือเกรเดียนต์ของเส้นตรง และพจน์ b แสดงจุดที่เส้นตรงนี้ตัดแกน y สำหรับสมการที่มีพจน์ x2, y1/3, xy ฯลฯ ที่มีดีกรีมากกว่าหนึ่งไม่เรียกว่าเป็นสมการเชิงเส้น

ตัวอย่าง

สมการเหล่านี้ล้วนเป็นสมการเชิงเส้น

 
 

รูปแบบของสมการเชิงเส้นในสองมิติ

สมการเชิงเส้นที่ซับซ้อน อย่างเช่นตัวอย่างข้างบน สามารถเขียนใหม่โดยใช้กฎเกณฑ์ของพีชคณิตมูลฐานให้อยู่ในรูปแบบที่ง่ายขึ้น

ในสิ่งที่จะอธิบายต่อไปนี้ อักษรตัวใหญ่ใช้แทนค่าคงตัว (ที่ไม่ระบุจำนวน) ในขณะที่ x และ y คือตัวแปร

รูปแบบทั่วไป

 

เมื่อ A กับ B ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน สมการในรูปแบบนี้มักเขียนให้ A ≥ 0 เพื่อความสะดวกในการคำนวณ กราฟของสมการจะเป็นเส้นตรง และทุกๆ เส้นตรงสามารถนำเสนอให้อยู่ในรูปแบบข้างต้นนี้ได้ เมื่อ A ไม่เท่ากับ 0 ระยะตัดแกน x จะอยู่ที่ระยะ −C/A และเมื่อ B ไม่เท่ากับ 0 ระยะตัดแกน y จะอยู่ที่ระยะ −C/B ส่วนความชันของเส้นตรงนี้มีค่าเท่ากับ −A/B

เช่น

รูปแบบมาตรฐาน

 

เมื่อ A และ B ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน และทั้ง A, B, C จะต้องเป็นจำนวนเต็มที่มีตัวหารร่วมมากเท่ากับ 1 และมักเขียนให้ A ≥ 0 เพื่อความสะดวกเช่นกัน รูปแบบมาตรฐานนี้สามารถแปลงให้เป็นรูปแบบทั่วไปได้ไม่ยากนัก

เช่น 1. 2x - 3 = y

2. 2x - 3y = 14

3. -2x + 2y = 10

4. 6x + 4y = 14

5. 3x + 2y = 8

รูปแบบความชันและระยะตัดแกน

 

เมื่อ m แทนความชันของเส้นตรง และ b คือระยะตัดแกน y ซึ่งเป็นพิกัด y ของจุดที่เส้นตรงนั้นตัดผ่านแกน y ถ้าหากให้ค่า x = 0 เราจะเห็นสมการนี้อยู่ในรูปแบบ y = b

รูปแบบจุดและความชัน

 

เมื่อ m คือความชันของเส้นตรงและ (x1, y1) คือจุดใดๆ บนเส้นตรงนั้น ซึ่งสามารถเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบความชันและระยะตัดแกนได้โดยง่าย รูปแบบจุดและความชันแสดงให้เห็นถึงระยะทางระหว่างจุดสองจุดบนเส้นตรงนั้นในแนวแกน x และแกน y โดยมีจุด (x1, y1) เป็นจุดยืน

ในบางโอกาสเราอาจเห็นรูปแบบจุดและความชันอยู่ในรูปแบบนี้

 

แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าหาก x = x1 สมการนี้จะไม่มีความหมาย

รูปแบบระยะตัดแกน

 

เมื่อ E และ F ต้องไม่เป็นศูนย์ทั้งคู่ กราฟของสมการนี้จะมีระยะตัดแกน x เท่ากับ E และระยะตัดแกน y เท่ากับ F รูปแบบระยะตัดแกนสามารถแปลงให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐานได้โดยกำหนดให้ A = 1/E, B = 1/F และ C = 1

รูปแบบจุดสองจุด

 

เมื่อ ph กราฟนี้จะเป็นเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (h, k) และจุด (p, q) โดยมีความชันเท่ากับ m = (qk) / (ph) รูปแบบจุดสองจุดสามารถแปลงให้เป็นรูปแบบจุดและความชันได้ โดยการคำนวณหาค่าที่เจาะจงของความชันมาแทนที่ตำแหน่งของ m

รูปแบบอิงพารามิเตอร์

 

รูปแบบนี้เป็นสมการหลายชั้น (simultaneous equations) สองสมการในพจน์ของตัวแปรพารามิเตอร์ t ที่มีความชัน m = V/T โดยมีระยะตัดแกน x อยู่ที่ (VUWT) / V และระยะตัดแกน y อยู่ที่ (WTVU) / T

สมการรูปแบบนี้มีความสัมพันธ์กับรูปแบบจุดสองจุด เมื่อ T = ph, U = h, V = qk, และ W = k จะได้

 

ซึ่งในกรณีนี้ค่าของ t จะแปรผันตั้งแต่ 0 ที่จุด (h, k) ไปยัง 1 ที่จุด (p, q) ค่าของ t ที่อยู่ระหว่าง 0 กับ 1 ทำให้เกิดการประมาณค่าในช่วง (interpolation) ส่วนค่าอื่นของ t จะทำให้เกิดการประมาณค่านอกช่วง (extrapolation)

รูปแบบเส้นแนวฉาก

 

เมื่อ φ คือมุมเอียงของเส้นแนวฉาก และ p คือความยาวของเส้นแนวฉาก เส้นแนวฉากนี้คือระยะทางของส่วนของเส้นตรงที่สั้นที่สุด ที่เชื่อมระหว่างกราฟเส้นตรงของสมการเชิงเส้นกับจุดกำเนิด รูปแบบเส้นแนวฉากสามารถแปลงจากรูปแบบทั่วไปได้โดยหารสัมประสิทธิ์ทั้งหมดด้วย   และถ้าหาก C > 0 ให้คูณสัมประสิทธิ์ทั้งหมดด้วย −1 เพื่อให้ค่าคงตัวตัวสุดท้ายติดลบ รูปแบบนี้เรียกว่า รูปแบบมาตรฐานเฮสส์ ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ลุดวิก ออตโต เฮสส์ (Ludwig Otto Hesse)

กรณีพิเศษ

 

สมการนี้อยู่ในรูปแบบมาตรฐานเมื่อ A = 0 และ B = 1 หรือในรูปแบบความชันและระยะตัดแกนเมื่อความชัน m = 0 กราฟของสมการนี้จะเป็นเส้นตรงในแนวนอนโดยที่มีระยะตัดแกน y เท่ากับ F ถ้า F ≠ 0 กราฟนี้จะไม่มีระยะตัดแกน x แต่ถ้า F = 0 กราฟนี้จะมีระยะตัดแกน x เป็นจำนวนจริงทุกจำนวน

 

สมการนี้อยู่ในรูปแบบมาตรฐานเมื่อ A = 1 และ B = 0 กราฟของสมการนี้จะเป็นเส้นตรงในแนวดิ่งโดยที่มีระยะตัดแกน x เท่ากับ E ส่วนความชันนั้นไม่นิยาม ถ้า E ≠ 0 กราฟนี้จะไม่มีระยะตัดแกน y แต่ถ้า E = 0 กราฟนี้จะมีระยะตัดแกน y เป็นจำนวนจริงทุกจำนวน

  และ  

ในกรณีนี้ทั้งตัวแปรและและค่าคงตัวทั้งหมดถูกตัดออกไป เหลือไว้เพียงประพจน์ที่เป็นจริงอย่างชัดเจน สมการเหล่านี้จะเรียกว่าเป็นเอกลักษณ์ และไม่จำเป็นที่จะพิจารณาในรูปแบบกราฟ (เนื่องจากหมายถึงจุดทุกจุดบนระนาบ xy) ดังตัวอย่าง   นิพจน์ทั้งสองข้างของเครื่องหมายเท่ากับนั้นเท่ากันเสมอ ไม่ว่าค่าของ x และ y จะเป็นค่าใด

โปรดสังเกตว่าการปรับเปลี่ยนทางพีชคณิต อาจทำให้ประพจน์เกิดความเป็นเท็จ อาทิ 1 = 0 ซึ่งเราจะเรียกสมการนั้นว่าเป็น สมการที่ขัดแย้งกัน หมายความว่า ไม่ว่าค่าของ x และ y จะเป็นค่าใด สมการก็ยังเป็นเท็จอยู่เสมอและไม่สามารถวาดกราฟได้ ดังเช่นสมการนี้  

สมการเชิงเส้นที่มากกว่าสองตัวแปร

สมการเชิงเส้นสามารถมีตัวแปรได้มากกว่า 2 ตัว สมการเชิงเส้นทั่วไปที่มีจำนวนตัวแปร n ตัวสามารถเขียนได้ในรูปแบบ

 

ซึ่ง   เป็นสัมประสิทธิ์   คือตัวแปร และ b คือค่าคงตัว เมื่อเราต้องการเขียนสมการตัวแปรน้อยๆ เช่น 3 ตัว เราอาจแทนที่   ด้วยชื่อตัวแปรอื่นๆ เช่น   ได้ตามต้องการ

สมการดังกล่าวจะเป็นการนำเสนอระนาบเกิน n–1 มิติ (hyperplane) ในปริภูมิแบบยุคลิด n มิติ เช่นระนาบสองมิติในปริภูมิสามมิติ เป็นต้น

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Algebraic Equations at EqWorld.

สมการเช, งเส, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, อสมการท, แต, ละพจน, เพ,. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir smkarechingesn khuxsmkarthiaetlaphcnmiephiyngkhakhngtw hruxepnphlkhunrahwangkhakhngtwkbtwaeprykkalnghnung sungcamidikrikhxngphhunamethakb 0 hrux 1 smkarehlanieriykwa echingesn enuxngcaksamarthwadkrafkhxngfngkchnbnrabbphikdkharthiesiynidepnesntrng rupaebbthwipkhxngsmkarechingesnintwaepr x aela y khuxtwxyangkrafkhxngsmkarechingesn y m x c displaystyle y mx c dd odythi m khuxkhakhngtwthiaesdngkhwamchnhruxekrediyntkhxngesntrng aelaphcn b aesdngcudthiesntrngnitdaekn y sahrbsmkarthimiphcn x2 y1 3 xy l thimidikrimakkwahnungimeriykwaepnsmkarechingesn enuxha 1 twxyang 2 rupaebbkhxngsmkarechingesninsxngmiti 2 1 rupaebbthwip 2 2 rupaebbmatrthan 2 3 rupaebbkhwamchnaelarayatdaekn 2 4 rupaebbcudaelakhwamchn 2 5 rupaebbrayatdaekn 2 6 rupaebbcudsxngcud 2 7 rupaebbxingpharamietxr 2 8 rupaebbesnaenwchak 2 9 krniphiess 3 smkarechingesnthimakkwasxngtwaepr 4 duephim 5 aehlngkhxmulxuntwxyang aekikhsmkarehlanilwnepnsmkarechingesn dd 3 a 472 b 10 b 37 displaystyle 3a 472b 10b 37 dd 2 x y 5 7 x 4 y 3 displaystyle 2x y 5 7x 4y 3 dd rupaebbkhxngsmkarechingesninsxngmiti aekikhsmkarechingesnthisbsxn xyangechntwxyangkhangbn samarthekhiynihmodyichkdeknthkhxngphichkhnitmulthanihxyuinrupaebbthingaykhuninsingthicaxthibaytxipni xksrtwihyichaethnkhakhngtw thiimrabucanwn inkhnathi x aela y khuxtwaepr rupaebbthwip aekikh A x B y C 0 displaystyle Ax By C 0 dd emux A kb B imepnsunyphrxmkn smkarinrupaebbnimkekhiynih A 0 ephuxkhwamsadwkinkarkhanwn krafkhxngsmkarcaepnesntrng aelathuk esntrngsamarthnaesnxihxyuinrupaebbkhangtnniid emux A imethakb 0 rayatdaekn x caxyuthiraya C A aelaemux B imethakb 0 rayatdaekn y caxyuthiraya C B swnkhwamchnkhxngesntrngnimikhaethakb A Bechn rupaebbmatrthan aekikh A x B y C displaystyle Ax By C dd emux A aela B imepnsunyphrxmkn aelathng A B C catxngepncanwnetmthimitwharrwmmakethakb 1 aelamkekhiynih A 0 ephuxkhwamsadwkechnkn rupaebbmatrthannisamarthaeplngihepnrupaebbthwipidimyaknkechn 1 2x 3 y2 2x 3y 143 2x 2y 104 6x 4y 145 3x 2y 8 rupaebbkhwamchnaelarayatdaekn aekikh y m x b displaystyle y mx b dd emux m aethnkhwamchnkhxngesntrng aela b khuxrayatdaekn y sungepnphikd y khxngcudthiesntrngnntdphanaekn y thahakihkha x 0 eracaehnsmkarnixyuinrupaebb y b rupaebbcudaelakhwamchn aekikh y y 1 m x x 1 displaystyle y y 1 m cdot x x 1 dd emux m khuxkhwamchnkhxngesntrngaela x1 y1 khuxcudid bnesntrngnn sungsamarthepliynihxyuinrupaebbkhwamchnaelarayatdaeknidodyngay rupaebbcudaelakhwamchnaesdngihehnthungrayathangrahwangcudsxngcudbnesntrngnninaenwaekn x aelaaekn y odymicud x1 y1 epncudyuninbangoxkaseraxacehnrupaebbcudaelakhwamchnxyuinrupaebbni y y 1 x x 1 m displaystyle frac y y 1 x x 1 m dd aetxyangirktam thahak x x1 smkarnicaimmikhwamhmay rupaebbrayatdaekn aekikh x E y F 1 displaystyle frac x E frac y F 1 dd emux E aela F txngimepnsunythngkhu krafkhxngsmkarnicamirayatdaekn x ethakb E aelarayatdaekn y ethakb F rupaebbrayatdaeknsamarthaeplngihxyuinrupaebbmatrthanidodykahndih A 1 E B 1 F aela C 1 rupaebbcudsxngcud aekikh y k q k p h x h displaystyle y k frac q k p h x h dd emux p h krafnicaepnesntrngthilakphancud h k aelacud p q odymikhwamchnethakb m q k p h rupaebbcudsxngcudsamarthaeplngihepnrupaebbcudaelakhwamchnid odykarkhanwnhakhathiecaacngkhxngkhwamchnmaaethnthitaaehnngkhxng m rupaebbxingpharamietxr aekikh x T t U y V t W displaystyle begin aligned x amp Tt U y amp Vt W end aligned dd rupaebbniepnsmkarhlaychn simultaneous equations sxngsmkarinphcnkhxngtwaeprpharamietxr t thimikhwamchn m V T odymirayatdaekn x xyuthi VU WT V aelarayatdaekn y xyuthi WT VU Tsmkarrupaebbnimikhwamsmphnthkbrupaebbcudsxngcud emux T p h U h V q k aela W k caid x p h t h y q k t k displaystyle begin aligned x amp p h t h y amp q k t k end aligned dd sunginkrninikhakhxng t caaeprphntngaet 0 thicud h k ipyng 1 thicud p q khakhxng t thixyurahwang 0 kb 1 thaihekidkarpramankhainchwng interpolation swnkhaxunkhxng t cathaihekidkarpramankhanxkchwng extrapolation rupaebbesnaenwchak aekikh y sin ϕ x cos ϕ p 0 displaystyle y sin phi x cos phi p 0 dd emux f khuxmumexiyngkhxngesnaenwchak aela p khuxkhwamyawkhxngesnaenwchak esnaenwchaknikhuxrayathangkhxngswnkhxngesntrngthisnthisud thiechuxmrahwangkrafesntrngkhxngsmkarechingesnkbcudkaenid rupaebbesnaenwchaksamarthaeplngcakrupaebbthwipidodyharsmprasiththithnghmddwy A 2 B 2 displaystyle sqrt A 2 B 2 aelathahak C gt 0 ihkhunsmprasiththithnghmddwy 1 ephuxihkhakhngtwtwsudthaytidlb rupaebbnieriykwa rupaebbmatrthanehss sungtngkhunephuxepnekiyrtiaednkkhnitsastrchaweyxrmn ludwik xxtot ehss Ludwig Otto Hesse krniphiess aekikh y F displaystyle y F dd smkarnixyuinrupaebbmatrthanemux A 0 aela B 1 hruxinrupaebbkhwamchnaelarayatdaeknemuxkhwamchn m 0 krafkhxngsmkarnicaepnesntrnginaenwnxnodythimirayatdaekn y ethakb F tha F 0 krafnicaimmirayatdaekn x aettha F 0 krafnicamirayatdaekn x epncanwncringthukcanwn x E displaystyle x E dd smkarnixyuinrupaebbmatrthanemux A 1 aela B 0 krafkhxngsmkarnicaepnesntrnginaenwdingodythimirayatdaekn x ethakb E swnkhwamchnnnimniyam tha E 0 krafnicaimmirayatdaekn y aettha E 0 krafnicamirayatdaekn y epncanwncringthukcanwn y y displaystyle y y aela x x displaystyle x x dd inkrninithngtwaepraelaaelakhakhngtwthnghmdthuktdxxkip ehluxiwephiyngpraphcnthiepncringxyangchdecn smkarehlanicaeriykwaepnexklksn aelaimcaepnthicaphicarnainrupaebbkraf enuxngcakhmaythungcudthukcudbnranab xy dngtwxyang 2 x 4 y 2 x 2 y displaystyle 2x 4y 2 x 2y niphcnthngsxngkhangkhxngekhruxnghmayethakbnnethaknesmx imwakhakhxng x aela y caepnkhaidoprdsngektwakarprbepliynthangphichkhnit xacthaihpraphcnekidkhwamepnethc xathi 1 0 sungeracaeriyksmkarnnwaepn smkarthikhdaeyngkn hmaykhwamwa imwakhakhxng x aela y caepnkhaid smkarkyngepnethcxyuesmxaelaimsamarthwadkrafid dngechnsmkarni 3 x 2 3 x 5 displaystyle 3x 2 3x 5 smkarechingesnthimakkwasxngtwaepr aekikhsmkarechingesnsamarthmitwaepridmakkwa 2 tw smkarechingesnthwipthimicanwntwaepr n twsamarthekhiynidinrupaebb a 1 x 1 a 2 x 2 a n x n b displaystyle a 1 x 1 a 2 x 2 cdots a n x n b dd sung a 1 a 2 a n displaystyle a 1 a 2 a n epnsmprasiththi x 1 x 2 x n displaystyle x 1 x 2 x n khuxtwaepr aela b khuxkhakhngtw emuxeratxngkarekhiynsmkartwaeprnxy echn 3 tw eraxacaethnthi x 1 x 2 x 3 displaystyle x 1 x 2 x 3 dwychuxtwaeprxun echn x y z displaystyle x y z idtamtxngkarsmkardngklawcaepnkarnaesnxranabekin n 1 miti hyperplane inpriphumiaebbyukhlid n miti echnranabsxngmitiinpriphumisammiti epntnduephim aekikhesntrng smkarkalngsxng smkarkalngsam smkarkalngsi smkarkalnghaaehlngkhxmulxun aekikhAlgebraic Equations at EqWorld ekhathungcak https th wikipedia org w index php title smkarechingesn amp oldid 9353647, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม