fbpx
วิกิพีเดีย

สหภาพโซเวียตในสงครามโลกครั้งที่สอง

สหภาพโซเวียตลงนามในกติกาสัญญาไม่รุกรานกันกับนาซีเยอรมนีเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 1939 นอกเหนือจากข้อกำหนดของการไม่รุกราน กติกาสัญญาได้รวมถึงพิธีสารลับที่แบ่งดินแดนของโรมาเนีย โปแลนด์ ลิทัวเนีย ลัตเวีย เอสโตเนีย เบลารุส ยูเครน และฟินแลนด์ เข้าสู่ "เขตอิทธิพล" ของเยอรมันและโซเวียตโดยคาดว่าจะมีศักยภาพ "ดินแดนและการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง" ของประเทศเหล่านี้ โจเซฟ สตาลิน และ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้เสนอข้อเสนอภายหลังการเข้าสู่ฝ่ายอักษะของสหภาพโซเวียต

ทหารโซเวียตที่แนวหน้าในช่วงการล้อมเลนินกราด
"ผู้ยิ่งใหญ่ทั้งสาม" ที่การประชุมยัลตา (แถวนั่งจากซ้ายไปขวา) วินสตัน เชอร์ชิลล์ แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน

เยอรมนีบุกครองโปแลนด์เมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 เปิดฉากสู่สงครามโลกครั้งที่สอง สตาลินรอจนถึงวันที่ 17 กันยายนก่อนจะเริ่มการบุกครองโปแลนด์ของตัวเอง ส่วนหนึ่งของแคว้นคาเรเลียและซัลลาของฟินแลนด์ถูกผนวกโดยสหภาพโซเวียตหลังจากสงครามฤดูหนาว ตามด้วยการผนวกเอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และบางส่วนของโรมาเนีย (เบสซาราเบีย, นอร์เทิร์นบูโควินา และ Hertza region) ในปี 1989 สหภาพโซเวียตได้ยอมรับการดำรงอยู่ของพิธีสารลับของกติกาสัญญาระหว่างเยอรมนี - โซเวียตเกี่ยวกับเขตการปกครองตามแผนของดินแดนเหล่านี้ การบุกครองบูโควินาละเมิดกติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ ขณะที่มันเป็นไปไกลกว่าเขตอิทธิพลของโซเวียตที่เห็นด้วยกับฝ่ายอักษะ

ในวันที่ 22 มิถุนายน 1941 ฮิตเลอร์ได้เริ่มต้นรุกรานสหภาพโซเวียต สตาลินมั่นใจว่าเครื่องจักรสงครามสัมพันธมิตรทั้งหมดจะหยุดเยอรมนี และจากแผนให้ยืม-เช่าจากตะวันตก โซเวียตได้หยุดกองกำลังแวร์มัคท์ประมาณ 30 กิโลเมตรจากกรุงมอสโก ในอีกสี่ปีต่อมา สหภาพโซเวียตได้ต่อต้านการโจมตีของฝ่ายอักษะ เช่นที่ยุทธการที่สตาลินกราด และ ยุทธการที่คูสค์ และรุกไปข้างหน้าเพื่อชัยชนะในการรุกขนาดใหญ่ของสหภาพโซเวียต เช่นที่การรุกวิสตูลา–โอเดอร์

การต่อสู้ของโซเวียตส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่แนวรบด้านตะวันออก ซึ่งรวมถึงสงครามต่อเนื่องกับฟินแลนด์ แต่ก็บุกครองอิหร่าน (สิงหาคม 1941) โดยร่วมมือกับอังกฤษ และยังได้โจมตีญี่ปุ่น (สิงหาคม 1945) ซึ่งโซเวียตมีสงครามชายแดนก่อนหน้านี้จนถึงปี 1939

สตาลินได้พบกับ วินสตัน เชอร์ชิล และ แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ในการประชุมที่เตหะราน และเริ่มพูดถึงสองแนวรบของสงครามกับเยอรมนีและอนาคตของยุโรปหลังสงคราม ในที่สุดยุทธการที่เบอร์ลินก็จบลงไปในเดือนเมษายน 1945 การต่อต้านการรุกรานของเยอรมนีและการรุกไปสู่ชัยชนะในตะวันออกต้องแลกกับการสูญเสียอย่างมหาศาลสำหรับสหภาพโซเวียต ซึ่งได้สูญเสียจำนวนทหารมากที่สุดในสงคราม โดยที่สหภาพโซเวียตสูญเสียมากกว่า 20 ล้านคน

อ้างอิง

  1. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2015-12-08. สืบค้นเมื่อ 2018-09-17.
  2. Goldman 2012, pp. 163–64.
  3. Brackman, Roman. The Secret File of Joseph Stalin: A Hidden Life (Psychology Press, 2001) p. 341, ISBN 978-0-71465-050-0
  4. Pearson, Clive (December 2008). "Stalin as War Leader". History Review 62. History Today. สืบค้นเมื่อ December 5, 2017.

สหภาพโซเว, ยตในสงครามโลกคร, งท, สอง, สหภาพโซเว, ยตลงนามในกต, กาส, ญญาไม, กรานก, นก, บนาซ, เยอรมน, เม, อว, นท, งหาคม, 1939, นอกเหน, อจากข, อกำหนดของการไม, กราน, กต, กาส, ญญาได, รวมถ, งพ, สารล, บท, แบ, งด, นแดนของโรมาเน, โปแลนด, วเน, ตเว, เอสโตเน, เบลาร, เครน, แ. shphaphosewiytlngnaminktikasyyaimrukranknkbnasieyxrmniemuxwnthi 23 singhakhm 1939 nxkehnuxcakkhxkahndkhxngkarimrukran ktikasyyaidrwmthungphithisarlbthiaebngdinaednkhxngormaeniy opaelnd lithweniy ltewiy exsoteniy eblarus yuekhrn aelafinaelnd ekhasu ekhtxiththiphl khxngeyxrmnaelaosewiytodykhadwacamiskyphaph dinaednaelakarepliynaeplngthangkaremuxng khxngpraethsehlani 1 ocesf stalin aela xdxlf hitelxridesnxkhxesnxphayhlngkarekhasufayxksakhxngshphaphosewiytthharosewiytthiaenwhnainchwngkarlxmelninkrad phuyingihythngsam thikarprachumylta aethwnngcaksayipkhwa winstn echxrchill aefrngklin orsewlt aelaocesf stalin eyxrmnibukkhrxngopaelndemuxwnthi 1 knyayn 1939 epidchaksusngkhramolkkhrngthisxng stalinrxcnthungwnthi 17 knyaynkxncaerimkarbukkhrxngopaelndkhxngtwexng 2 swnhnungkhxngaekhwnkhaereliyaelasllakhxngfinaelndthukphnwkodyshphaphosewiythlngcaksngkhramvduhnaw tamdwykarphnwkexsoteniy ltewiy lithweniy aelabangswnkhxngormaeniy ebssaraebiy nxrethirnbuokhwina aela Hertza region inpi 1989 shphaphosewiytidyxmrbkardarngxyukhxngphithisarlbkhxngktikasyyarahwangeyxrmni osewiytekiywkbekhtkarpkkhrxngtamaephnkhxngdinaednehlani 1 karbukkhrxngbuokhwinalaemidktikasyyaomoltxf ribebnthrxph khnathimnepnipiklkwaekhtxiththiphlkhxngosewiytthiehndwykbfayxksa 3 inwnthi 22 mithunayn 1941 hitelxriderimtnrukranshphaphosewiyt stalinmnicwaekhruxngckrsngkhramsmphnthmitrthnghmdcahyudeyxrmni 4 aelacakaephnihyum echacaktawntk osewiytidhyudkxngkalngaewrmkhthpraman 30 kiolemtrcakkrungmxsok inxiksipitxma shphaphosewiytidtxtankarocmtikhxngfayxksa echnthiyuththkarthistalinkrad aela yuththkarthikhuskh aelarukipkhanghnaephuxchychnainkarrukkhnadihykhxngshphaphosewiyt echnthikarrukwistula oxedxrkartxsukhxngosewiytswnihyekidkhunthiaenwrbdantawnxxk sungrwmthungsngkhramtxenuxngkbfinaelnd aetkbukkhrxngxihran singhakhm 1941 odyrwmmuxkbxngkvs aelayngidocmtiyipun singhakhm 1945 sungosewiytmisngkhramchayaednkxnhnanicnthungpi 1939stalinidphbkb winstn echxrchil aela aefrngklin di orsewlt inkarprachumthietharan aelaerimphudthungsxngaenwrbkhxngsngkhramkbeyxrmniaelaxnakhtkhxngyuorphlngsngkhram inthisudyuththkarthiebxrlinkcblngipineduxnemsayn 1945 kartxtankarrukrankhxngeyxrmniaelakarrukipsuchychnaintawnxxktxngaelkkbkarsuyesiyxyangmhasalsahrbshphaphosewiyt sungidsuyesiycanwnthharmakthisudinsngkhram odythishphaphosewiytsuyesiymakkwa 20 lankhnxangxing aekikh 1 0 1 1 chathamhouse org 2011 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2015 12 08 subkhnemux 2018 09 17 Goldman 2012 pp 163 64 Brackman Roman The Secret File of Joseph Stalin A Hidden Life Psychology Press 2001 p 341 ISBN 978 0 71465 050 0 Pearson Clive December 2008 Stalin as War Leader History Review 62 History Today subkhnemux December 5 2017 bthkhwamekiywkbshphaphosewiytniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy shphaphosewiytekhathungcak https th wikipedia org w index php title shphaphosewiytinsngkhramolkkhrngthisxng amp oldid 9597217, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม