fbpx
วิกิพีเดีย

รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน

ในทางเรขาคณิต รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน คือรูปสี่เหลี่ยมชนิดหนึ่งที่มีด้านตรงข้ามขนานกันจำนวนสองคู่ ในบริบทของเรขาคณิตแบบยูคลิด ด้านตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานมีความยาวเท่ากัน และมุมตรงข้ามก็มีขนาดเท่ากัน ความสมนัยของด้านตรงข้ามและมุมตรงข้ามเป็นผลทางตรงจากสัจพจน์เส้นขนานแบบยูคลิด (Euclidean Parallel Postulate) นั่นคือไม่มีเงื่อนไขอันใดที่สามารถพิสูจน์โดยไม่อ้างถึงสัจพจน์เส้นขนานแบบยูคลิดหรือบทบัญญัติเทียบเท่า

รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
รูปนี้เป็นชนิดรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานมุมไม่ฉาก เพราะมุมของมันไม่เป็นมุมฉาก
ชนิดรูปสี่เหลี่ยม
ขอบและจุดยอด4
กรุปสมมาตรC2 (2)
พื้นที่B × H;
ab sin θ
สมบัติรูปหลายเหลี่ยมนูน

รูปทรงที่คล้ายกันในสามมิติคือทรงสี่เหลี่ยมด้านขนาน

สมบัติ

  • ด้านตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานเป็นเส้นขนาน (โดยนิยาม) หมายความว่าเมื่อต่อด้านออกไปจะไม่บรรจบกัน
  • ด้านตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานยาวเท่ากัน
  • มุมตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานมีขนาดเท่ากัน
  • มุมภายในที่อยู่ติดกันรวมกันเป็นมุมประกอบสองมุมฉาก (รวมกันได้ 180°)
  • พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานเป็นสองเท่าของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่เกิดจากการแบ่งด้วยเส้นทแยงมุมหนึ่งเส้น
  • พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานก็ยังเท่ากับขนาดของผลคูณไขว้ของเวกเตอร์ของด้านที่อยู่ติดกัน
  • เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน
  • เส้นตรงใด ๆ ที่ลากผ่านจุดกึ่งกลางของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานจะแบ่งครึ่งพื้นที่พอดี
  • การแปลงสัมพรรค (affine transformation) ที่ไม่ใช่ภาวะลดรูป ทำให้รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานกลายเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานอีกรูปหนึ่ง การแปลงสัมพรรคที่ทำให้รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานกลายเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีเป็นจำนวนอนันต์
  • รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานมีสมมาตรแบบหมุน (หรือสมมาตรเชิงวงกลม) ในอันดับสอง (หมุนครั้งละ 180°) และถ้ารูปสี่เหลี่ยมด้านขนานมีสมมาตรแบบสะท้อนสองแกน แสดงว่ามันคือรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนหรือไม่ก็รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
  • เส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานยาวเท่ากับ 2 (a + b) เมื่อ a และ b คือความยาวของด้านที่อยู่ติดกัน
  • ผลรวมของกำลังสองของด้านทั้งสี่ เท่ากับผลรวมของกำลังสองของเส้นทแยงมุมทั้งสอง ดูเพิ่มที่กฎรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน

ประเภท

  • รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานมุมไม่ฉาก (rhomboid) คือรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มุมภายในไม่เป็นมุมฉาก ความหมายตรงข้ามกับรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
  • รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า คือรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มุมภายในทุกมุมเท่ากัน (มุมฉาก)
  • รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน คือรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่ด้านทุกด้านยาวเท่ากัน
  • รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส คือรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่ด้านทุกด้านยาวเท่ากันและมุมภายในทุกมุมเท่ากัน (มุมฉาก)

การพิสูจน์ว่าเส้นทแยงมุมแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน

การพิสูจน์ว่าเส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน กระทำได้โดยใช้ทฤษฎีบทรูปสามเหลี่ยมสมภาค (เท่ากันทุกประการ) ดังนี้

  (มุมแย้งภายในเส้นขนานมีขนาดเท่ากัน)
  (มุมแย้งภายในเส้นขนานมีขนาดเท่ากัน)

เนื่องจากมุมเหล่านี้เป็นมุมที่เกิดจากเส้นตรงที่ลากผ่านเส้นขนาน AB และ DC

นอกจากนี้ ด้าน AB ก็ยาวเท่ากับ DC เนื่องจากด้านตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานยาวเท่ากัน

เพราะฉะนั้นรูปสามเหลี่ยม ABE กับรูปสามเหลี่ยม CDE เท่ากันทุกประการด้วยสัจพจน์ มุม-ด้าน-มุม ดังนั้นจะได้

 
 

เนื่องจากเส้นทแยงมุม AC กับ BD ประกอบด้วยส่วนของเส้นตรงที่มีความยาวเท่ากันในแต่ละเส้น จึงสรุปว่าเส้นทแยงมุมทั้งสองแบ่งครึ่งซึ่งกันและกัน

สูตรพื้นที่

 
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานแสดงด้วยสีฟ้า

พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานตามที่ปรากฏในภาพ (แสดงด้วยสีฟ้า) คือพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากทั้งหมดหักออกด้วยพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมสองรูป (แสดงด้วยสีส้ม) เนื่องจากพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากคือ

 

และพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมหนึ่งรูปคือ

 

ดังนั้นพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานจะเท่ากับ

 

พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้านสองด้านที่อยู่ติดกันยาวเท่ากับ a และ b และทำมุม θ สูตรพื้นที่อีกสูตรหนึ่งคือ

 

พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้านสองด้านที่อยู่ติดกันยาวเท่ากับ a และ b โดยที่ ab และเส้นทแยงมุมทั้งสองเส้นตัดกันทำมุม γ คำนวณได้จากสูตรนี้

 

พื้นที่บนระบบพิกัด

กำหนดให้ a และ b เป็นเวกเตอร์ในปริภูมิสองมิติ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่เกิดจากเวกเตอร์ทั้งสองสามารถคำนวณได้จาก

 

กำหนดให้ a และ b เป็นเวกเตอร์ในปริภูมิ n มิติ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่เกิดจากเวกเตอร์ทั้งสองสามารถคำนวณได้จาก

 

กำหนดให้จุด a, b, c เป็นจุดในปริภูมิสองมิติ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่เกิดจากจุดยอดทั้งสามสามารถคำนวณได้ดังนี้

 

อ้างอิง

  1. Dunn, J. A., and J. E. Pretty, "Halving a triangle", Mathematical Gazette 56, May 1972, p. 105.
  2. Posamentier, Alfred S., and Charles T. Salkind, Challenging Problems in Geometry, Dover, second edition, 1996: p. 217, item 10-5.
  3. Mitchell, Douglas W., "The area of a quadrilateral", Mathematical Gazette, July 2009.

ดูเพิ่ม

  • กฎรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
  • รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานหลักมูล

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Parallelogram and Rhombus - Animated course (Construction, Circumference, Area)
  • เอริก ดับเบิลยู. ไวส์สไตน์, "Parallelogram" จากแมทเวิลด์.
  • Interactive Parallelogram --sides, angles and slope
  • Area of Parallelogram at cut-the-knot
  • Equilateral Triangles On Sides of a Parallelogram at cut-the-knot
  • Definition and properties of a parallelogram with animated applet
  • Interactive applet showing parallelogram area calculation interactive applet

ปส, เหล, ยมด, านขนาน, ในทางเรขาคณ, อร, ปส, เหล, ยมชน, ดหน, งท, านตรงข, ามขนานก, นจำนวนสองค, ในบร, บทของเรขาคณ, ตแบบย, คล, านตรงข, ามของม, ความยาวเท, าก, และม, มตรงข, ามก, ขนาดเท, าก, ความสมน, ยของด, านตรงข, ามและม, มตรงข, ามเป, นผลทางตรงจากส, จพจน, เส, นขนานแบ. inthangerkhakhnit rupsiehliymdankhnan khuxrupsiehliymchnidhnungthimidantrngkhamkhnankncanwnsxngkhu inbribthkhxngerkhakhnitaebbyukhlid dantrngkhamkhxngrupsiehliymdankhnanmikhwamyawethakn aelamumtrngkhamkmikhnadethakn khwamsmnykhxngdantrngkhamaelamumtrngkhamepnphlthangtrngcakscphcnesnkhnanaebbyukhlid Euclidean Parallel Postulate nnkhuximmienguxnikhxnidthisamarthphisucnodyimxangthungscphcnesnkhnanaebbyukhlidhruxbthbyytiethiybetharupsiehliymdankhnanrupniepnchnidrupsiehliymdankhnanmumimchak ephraamumkhxngmnimepnmumchakchnidrupsiehliymkhxbaelacudyxd4krupsmmatrC2 2 phunthiB H ab sin 8smbtiruphlayehliymnunrupthrngthikhlaykninsammitikhuxthrngsiehliymdankhnan enuxha 1 smbti 2 praephth 3 karphisucnwaesnthaeyngmumaebngkhrungsungknaelakn 4 sutrphunthi 4 1 phunthibnrabbphikd 5 xangxing 6 duephim 7 aehlngkhxmulxunsmbti aekikhdantrngkhamkhxngrupsiehliymdankhnanepnesnkhnan odyniyam hmaykhwamwaemuxtxdanxxkipcaimbrrcbkn dantrngkhamkhxngrupsiehliymdankhnanyawethakn mumtrngkhamkhxngrupsiehliymdankhnanmikhnadethakn mumphayinthixyutidknrwmknepnmumprakxbsxngmumchak rwmknid 180 phunthikhxngrupsiehliymdankhnanepnsxngethakhxngphunthikhxngrupsamehliymthiekidcakkaraebngdwyesnthaeyngmumhnungesn phunthikhxngrupsiehliymdankhnankyngethakbkhnadkhxngphlkhunikhwkhxngewketxrkhxngdanthixyutidkn esnthaeyngmumkhxngrupsiehliymdankhnanaebngkhrungsungknaelakn esntrngid thilakphancudkungklangkhxngrupsiehliymdankhnancaaebngkhrungphunthiphxdi 1 karaeplngsmphrrkh affine transformation thiimichphawaldrup thaihrupsiehliymdankhnanklayepnrupsiehliymdankhnanxikruphnung karaeplngsmphrrkhthithaihrupsiehliymdankhnanklayepnrupsiehliymcturs miepncanwnxnnt rupsiehliymdankhnanmismmatraebbhmun hruxsmmatrechingwngklm inxndbsxng hmunkhrngla 180 aelatharupsiehliymdankhnanmismmatraebbsathxnsxngaekn aesdngwamnkhuxrupsiehliymkhnmepiykpunhruximkrupsiehliymphunpha esnrxbrupkhxngrupsiehliymdankhnanyawethakb 2 a b emux a aela b khuxkhwamyawkhxngdanthixyutidkn phlrwmkhxngkalngsxngkhxngdanthngsi ethakbphlrwmkhxngkalngsxngkhxngesnthaeyngmumthngsxng 2 duephimthikdrupsiehliymdankhnanpraephth aekikhrupsiehliymdankhnanmumimchak rhomboid khuxrupsiehliymdankhnanthimumphayinimepnmumchak khwamhmaytrngkhamkbrupsiehliymmumchak rupsiehliymmumchakaelarupsiehliymphunpha khuxrupsiehliymdankhnanthimumphayinthukmumethakn mumchak rupsiehliymkhnmepiykpun khuxrupsiehliymdankhnanthidanthukdanyawethakn rupsiehliymcturs khuxrupsiehliymdankhnanthidanthukdanyawethaknaelamumphayinthukmumethakn mumchak karphisucnwaesnthaeyngmumaebngkhrungsungknaelakn aekikh karphisucnwaesnthaeyngmumkhxngrupsiehliymdankhnanaebngkhrungsungknaelakn krathaidodyichthvsdibthrupsamehliymsmphakh ethaknthukprakar dngni A B E C D E displaystyle angle ABE cong angle CDE mumaeyngphayinesnkhnanmikhnadethakn B A E D C E displaystyle angle BAE cong angle DCE mumaeyngphayinesnkhnanmikhnadethakn dd enuxngcakmumehlaniepnmumthiekidcakesntrngthilakphanesnkhnan AB aela DCnxkcakni dan AB kyawethakb DC enuxngcakdantrngkhamkhxngrupsiehliymdankhnanyawethaknephraachannrupsamehliym ABE kbrupsamehliym CDE ethaknthukprakardwyscphcn mum dan mum dngnncaid A E C E displaystyle AE CE B E D E displaystyle BE DE dd enuxngcakesnthaeyngmum AC kb BD prakxbdwyswnkhxngesntrngthimikhwamyawethakninaetlaesn cungsrupwaesnthaeyngmumthngsxngaebngkhrungsungknaelaknsutrphunthi aekikh phunthikhxngrupsiehliymdankhnanaesdngdwysifa phunthikhxngrupsiehliymdankhnantamthipraktinphaph aesdngdwysifa khuxphunthikhxngrupsiehliymmumchakthnghmdhkxxkdwyphunthikhxngrupsamehliymsxngrup aesdngdwysism enuxngcakphunthikhxngrupsiehliymmumchakkhux A rect B A H displaystyle A text rect B A times H dd aelaphunthikhxngrupsamehliymhnungrupkhux A tri 1 2 A H displaystyle A text tri frac 1 2 A times H dd dngnnphunthikhxngrupsiehliymdankhnancaethakb A r e a A rect 2 A tri B A H A H B H displaystyle begin aligned mathrm Area amp A text rect 2 times A text tri amp left B A times H right left A times H right amp B times H end aligned dd phunthikhxngrupsiehliymdankhnanthimidansxngdanthixyutidknyawethakb a aela b aelathamum 8 sutrphunthixiksutrhnungkhux Area a b sin 8 displaystyle text Area ab sin theta dd phunthikhxngrupsiehliymdankhnanthimidansxngdanthixyutidknyawethakb a aela b odythi a b aelaesnthaeyngmumthngsxngesntdknthamum g khanwnidcaksutrni 3 Area tan g 2 a 2 b 2 displaystyle text Area frac tan gamma 2 cdot left a 2 b 2 right dd phunthibnrabbphikd aekikh kahndih a aela b epnewketxrinpriphumisxngmiti phunthikhxngrupsiehliymdankhnanthiekidcakewketxrthngsxngsamarthkhanwnidcak V a 1 a 2 b 1 b 2 Area det V a 1 b 2 a 2 b 1 displaystyle V begin bmatrix a 1 amp a 2 b 1 amp b 2 end bmatrix text Area det V a 1 b 2 a 2 b 1 dd kahndih a aela b epnewketxrinpriphumi n miti phunthikhxngrupsiehliymdankhnanthiekidcakewketxrthngsxngsamarthkhanwnidcak V a 1 a 2 a n b 1 b 2 b n Area det V V T displaystyle V begin bmatrix a 1 amp a 2 amp dots amp a n b 1 amp b 2 amp dots amp b n end bmatrix text Area sqrt det VV mathrm T dd kahndihcud a b c epncudinpriphumisxngmiti phunthikhxngrupsiehliymdankhnanthiekidcakcudyxdthngsamsamarthkhanwniddngni V a 1 a 2 1 b 1 b 2 1 c 1 c 2 1 Area det V displaystyle V begin bmatrix a 1 amp a 2 amp 1 b 1 amp b 2 amp 1 c 1 amp c 2 amp 1 end bmatrix text Area det V dd xangxing aekikh Dunn J A and J E Pretty Halving a triangle Mathematical Gazette 56 May 1972 p 105 Posamentier Alfred S and Charles T Salkind Challenging Problems in Geometry Dover second edition 1996 p 217 item 10 5 Mitchell Douglas W The area of a quadrilateral Mathematical Gazette July 2009 duephim aekikhkdrupsiehliymdankhnan rupsiehliymdankhnanhlkmulaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb rupsiehliymdankhnanParallelogram and Rhombus Animated course Construction Circumference Area exrik dbebilyu iwssitn Parallelogram cakaemthewild Interactive Parallelogram sides angles and slope Area of Parallelogram at cut the knot Equilateral Triangles On Sides of a Parallelogram at cut the knot Definition and properties of a parallelogram with animated applet Interactive applet showing parallelogram area calculation interactive applet ekhathungcak https th wikipedia org w index php title rupsiehliymdankhnan amp oldid 9411398, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม