fbpx
วิกิพีเดีย

อักษรสระประกอบ

อักษรสระประกอบ เป็นรูปแบบของระบบการเขียนรูปแบบหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยพยัญชนะและสระ แต่พยัญชนะจะมีความสำคัญมากกว่าสระ ซึ่งแตกต่างจากอักษรสระ-พยัญชนะ (alphabet) ที่เป็นระบบการเขียนทั้งสระและพยัญชนะจะมีความสำคัญเท่าเทียมกัน และแตกต่างจากอักษรไร้สระ (abjad) ซึ่งมักจะไม่มีรูปสระปรากฏอยู่เลย ในบรรดาระบบการเขียนทั้งหมดในโลกนี้ มีอยู่ประมาณครึ่งหนึ่งของระบบการเขียนทั้งหมดที่เป็นอักษรสระประกอบ ซึ่งอักษรไทยก็เป็นหนึ่งในนั้นเช่นกัน

อักษรเทวนาครีเป็นอักษรสระประกอบชนิดหนึ่ง

คำว่า "อักษรสระประกอบ" เป็นคำแปลจากคำว่า abugida ซึ่งเป็นคำที่ Peter T. Daniels นำมาใช้เรียกระบบการเขียนรูปแบบนี้ โดยคำนี้มาจากชื่อของอักษรเอธิโอเปีย (’ä bu gi da) ในภาษาเอธิโอเปีย โดยนำมาจากชื่ออักษรสี่ตัวของอักษรเอธิโอเปีย (ในทำนองเดียวกับคำว่า alphabet ที่มาจากชื่ออักษรกรีก แอลฟา และ บีตา) ต่อมาในปีค.ศ. 1997 William Bright ได้เสนอคำว่า alphasyllabary ขึ้นมาเพื่อเรียกอักษรในตระกูลพราหมี เนื่องจากระบบการเขียนแบบนี้มีลักษณะของอักษรพยางค์ (syllabary) และอักษรสระ-พยัญชนะร่วมกันอยู่ นักวิชาการในอดีตถือว่าอักษรสระประกอบเป็นอักษรพยางค์ประเภทหนึ่ง หรือเป็นสิ่งที่อยู่ระหว่างอักษรพยางค์และอักษรสระ-พยัญชนะ จึงยังคงเรียกอักษรของชนพื้นเมืองในแคนาดาว่า syllabics อยู่ นอกจากนี้ยังมีคำอื่น ๆ ที่ใช้เรียกระบบการเขียนแบบนี้อีก ได้แก่ neosyllabary pseudo-alphabet semisyllabary และ syllabic alphabetแบงค์ นักรบ

ลักษณะทั่วไป

โดยทั่วไปแล้ว อักษรสระประกอบจะประกอบด้วยพยัญชนะเป็นหลัก ซึ่งพยัญชนะแต่ละตัวจะกำหนดเสียงสระไว้อยู่แล้วโดยไม่ต้องมีรูปสระใด ๆ มากำกับ (ในอักษรไทย พยัญชนะจะออกเสียง อะ หรือ ออ เช่นในคำว่า บ่ หรือ ณ) ส่วนใหญ่จะเขียนจากซ้ายไปขวา สระจะกำหนดโดยการดัดแปลงพยัญชนะด้วยการเติมเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ (อย่างในอักษรตระกูลพราหมี) โดยสระอาจจะอยู่ในตำแหน่งใด ๆ ก็ได้ โดยไม่จำเป็นต้องตามหลังพยัญชนะเสมอไป หรือพยัญชนะอาจจะเปลี่ยนรูปร่างไปเพื่อแสดงเสียงสระที่แตกต่างกัน (อย่างในอักษรของชนพื้นเมืองของแคนาดา)

สระที่ไม่มีเสียงพยัญชนะนำหน้าอาจประกฎคู่กับพยัญชนะพิเศษ (เช่น ในอักษรไทย) หรือปรากฏเป็นรูปสระลอย ซึ่งเป็นรูปพิเศษของสระแต่ละเสียงที่สามารถอยู่ได้ตามลำพังโดยไม่ต้องกำกับกับพยัญชนะ สระลอยยังคงมีใช้อยู่ในอักษรหลายประเภทในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่อักษรไทยนั้นเหลือเพียง ฤๅ ฦๅ เท่านั้น

อักษรสระประกอบแบ่งได้เป็นสามกลุ่มใหญ่ ๆ

  • ตระกูลอักษรพราหมี เป็นกลุ่มที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุด สระจะแสดงโดยเติมเครื่องหมายต่าง ๆ ลงไปที่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง หรือรอบ ๆ พยัญชนะ และมีเครื่องหมายที่แสดงว่าพยัญชนะไหนเป็นตัวสะกดหรือไม่มีเสียงสระกำกับ (ดังเช่นพินทุในอักษรไทยที่ใช้เขียนภาษาบาลี)
  • ตระกูลอักษรเอธิโอเปีย สระจะแสดงโดยการดัดแปลงลักษณะของพยัญชนะเพื่อแสดงเสียงสระต่าง ๆและรวมถึงพยัญชนะที่ไม่มีเสียงสระกำกับด้วย
  • ตระกูลอักษรครี สระจะแสดงโดยการหมุนพยัญชนะให้ตะแคงเป็นมุมที่แตกต่างกันเพื่อแสดงเสียงสระที่แตกต่างกัน (เช่น ᒪ มา ᒥ มี) พยัญชนะที่ไม่มีสระกำกับจะแสดงด้วยการเติมเครื่องหมายหรือมีรูปอักษรพอเศษสำหรับพยัญชนะนั้น ๆ

อักษรทานะซึ่งใช้เขียนภาษามัลดีฟส์ของมัลดีฟส์ไม่มีรูปสระลอย มีเพียงรูปสระจมกับพยัญชนะพิเศษอย่าง อ ในอักษรไทยเท่านั้น

รายการอ้างอิง

  1. http://www.jstor.org/pss/602899
  2. William Bright (2000:65–66): A Matter of Typology: Alphasyllabaries and Abugidas. In: Studies in the Linguistic Sciences. Volume 30, Number 1, pages 63–71

กษรสระประกอบ, เป, นร, ปแบบของระบบการเข, ยนร, ปแบบหน, งประกอบด, วยพย, ญชนะและสระ, แต, พย, ญชนะจะม, ความสำค, ญมากกว, าสระ, งแตกต, างจากอ, กษรสระ, พย, ญชนะ, alphabet, เป, นระบบการเข, ยนท, งสระและพย, ญชนะจะม, ความสำค, ญเท, าเท, ยมก, และแตกต, างจากอ, กษรไร, สระ, ab. xksrsraprakxb epnrupaebbkhxngrabbkarekhiynrupaebbhnung sungprakxbdwyphyychnaaelasra aetphyychnacamikhwamsakhymakkwasra sungaetktangcakxksrsra phyychna alphabet thiepnrabbkarekhiynthngsraaelaphyychnacamikhwamsakhyethaethiymkn aelaaetktangcakxksrirsra abjad sungmkcaimmirupsrapraktxyuely inbrrdarabbkarekhiynthnghmdinolkni mixyupramankhrunghnungkhxngrabbkarekhiynthnghmdthiepnxksrsraprakxb sungxksrithykepnhnunginnnechnknxksrethwnakhriepnxksrsraprakxbchnidhnung khawa xksrsraprakxb epnkhaaeplcakkhawa abugida sungepnkhathi Peter T Daniels namaicheriykrabbkarekhiynrupaebbni 1 odykhanimacakchuxkhxngxksrexthioxepiy a bu gi da inphasaexthioxepiy odynamacakchuxxksrsitwkhxngxksrexthioxepiy inthanxngediywkbkhawa alphabet thimacakchuxxksrkrik aexlfa aela bita txmainpikh s 1997 William Bright idesnxkhawa alphasyllabary khunmaephuxeriykxksrintrakulphrahmi enuxngcakrabbkarekhiynaebbnimilksnakhxngxksrphyangkh syllabary aelaxksrsra phyychnarwmknxyu 2 nkwichakarinxditthuxwaxksrsraprakxbepnxksrphyangkhpraephthhnung hruxepnsingthixyurahwangxksrphyangkhaelaxksrsra phyychna cungyngkhngeriykxksrkhxngchnphunemuxnginaekhnadawa syllabics xyu nxkcakniyngmikhaxun thiicheriykrabbkarekhiynaebbnixik idaek neosyllabary pseudo alphabet semisyllabary aela syllabic alphabetaebngkh nkrblksnathwip aekikhodythwipaelw xksrsraprakxbcaprakxbdwyphyychnaepnhlk sungphyychnaaetlatwcakahndesiyngsraiwxyuaelwodyimtxngmirupsraid makakb inxksrithy phyychnacaxxkesiyng xa hrux xx echninkhawa b hrux n swnihycaekhiyncaksayipkhwa sracakahndodykarddaeplngphyychnadwykaretimekhruxnghmayhruxsylksntang xyanginxksrtrakulphrahmi odysraxaccaxyuintaaehnngid kid odyimcaepntxngtamhlngphyychnaesmxip hruxphyychnaxaccaepliynruprangipephuxaesdngesiyngsrathiaetktangkn xyanginxksrkhxngchnphunemuxngkhxngaekhnada srathiimmiesiyngphyychnanahnaxacprakdkhukbphyychnaphiess echn x inxksrithy hruxpraktepnrupsralxy sungepnrupphiesskhxngsraaetlaesiyngthisamarthxyuidtamlaphngodyimtxngkakbkbphyychna sralxyyngkhngmiichxyuinxksrhlaypraephthinexechiyitaelaexechiytawnxxkechiyngit aetxksrithynnehluxephiyng v vi l li ethannxksrsraprakxbaebngidepnsamklumihy trakulxksrphrahmi epnklumthiihyaelaekaaekthisud sracaaesdngodyetimekhruxnghmaytang lngipthidanhna hlng bn lang hruxrxb phyychna aelamiekhruxnghmaythiaesdngwaphyychnaihnepntwsakdhruximmiesiyngsrakakb dngechnphinthuinxksrithythiichekhiynphasabali trakulxksrexthioxepiy sracaaesdngodykarddaeplnglksnakhxngphyychnaephuxaesdngesiyngsratang aelarwmthungphyychnathiimmiesiyngsrakakbdwy trakulxksrkhri sracaaesdngodykarhmunphyychnaihtaaekhngepnmumthiaetktangknephuxaesdngesiyngsrathiaetktangkn echn ᒪ ma ᒥ mi phyychnathiimmisrakakbcaaesdngdwykaretimekhruxnghmayhruxmirupxksrphxesssahrbphyychnann xksrthanasungichekhiynphasamldifskhxngmldifsimmirupsralxy miephiyngrupsracmkbphyychnaphiessxyang x inxksrithyethannraykarxangxing aekikh http www jstor org pss 602899 William Bright 2000 65 66 A Matter of Typology Alphasyllabaries and Abugidas In Studies in the Linguistic Sciences Volume 30 Number 1 pages 63 71ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xksrsraprakxb amp oldid 9411930, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม