fbpx
วิกิพีเดีย

เป็นอักษรไทย จำพวกพยัญชนะ อยู่ในลำดับ ที่ 43 ถัดจาก และก่อนถึง มักจะเรียกกันว่า อ อ่าง ในการจัดหมู่อักษร นับเป็นอักษรกลาง ในไตรยางศ์ ผันได้ครบ 5 เสียง และเติม วรรณยุกต์ได้ทั้ง 4 รูป

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

ในภาษาไทยกลางทุกถิ่น อักษร อ เป็นพยัญชนะต้น ให้เสียง /ʔ/ แต่ไม่ใช้เป็นพยัญชนะสะกด โดยทั่วไปเรามักจัดให้ อ เป็นเสียงนำสระ

รูปสระ ตัวออ (อ) ยังสามารถใช้เป็นสระ ออ เมื่ออยู่หลังพยัญชนะต้น ใช้ถัดจากสระ อื เมื่อไม่มีพยัญชนะสะกด เช่น ถือ และใช้ประสมสระ เอือะ เอือ เออะ และ เออ

การประสมรูป

การประสมรูป ปรากฏ ใช้เป็นสระ สัทอักษรสากล
(พยัญชนะต้น) + ตัวออ –อ ออ /ɔː/
(พยัญชนะต้น) + ไม้ไต่คู้ + ตัวออ + (พยัญชนะสะกด) –็อ– เอาะ (มีตัวสะกด) /ɔ/
(พยัญชนะต้น) + พินทุ์อิ + ฟันหนู + ตัวออ –ือ อื (ไม่มีตัวสะกด) /ɯː/
ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + ตัวออ เ–อ เออ /ɤː/
ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + ตัวออ + วิสรรชนีย์ เ–อะ เออะ (ไม่มีตัวสะกด) /ɤʔ/
ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + สระ "อื" + ตัวออ เ–ือ เอือ /ɯaː/
ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + สระ "อื" + ตัวออ + วิสรรชนีย์ เ–ือะ เอือะ /ɯaʔ/

พยัญชนะต้น

เมื่อเป็นพยัญชนะต้น “อ” จะถูกใช้เป็นทุ่นเกาะสำหรับสระ เช่น อาหาร, อีก อุ่น ฯลฯ ในทางภาษาศาสตร์ ถือว่า อ เป็นพยัญชนะ ที่ประสมด้วย สระ (ในที่นี้ คือ สระอา และสระอี ตามลำดับ)

ในตำแหน่งพยัญชนะต้น เสียง อ ที่เป็นพยัญชนะหยุด อาจหายไป เหลือแต่เสียงสระ ก็ได้ นั่นคือ /ʔa:-ha:n/ เ /a:-ha:n/ ซึ่งในตัวอย่างที่ยกมาจะสังเกตได้ยาก แต่จะเห็นได้ชัดเจน เมื่อมีพยางค์อื่นนำหน้าเสียง อ เช่น “คุณอา” (/khun-ʔa:/ ไม่ใช่ /khuna:/) เสียงพยัญชนะ “น” ของพยางค์หน้า ไม่ถูกกลมกลืนเสียง (assimilate) ด้วยสระอา ในพยางค์หลัง เพราะมีเสียง “อ” คั่นอยู่ แต่ในภาษาอื่น อาจกลืนเสียงเป็น “คุณนา” ได้ เช่น ในคำว่า บางปะอิน เมื่อเขียนด้วยอักษรโรมันจึงมักจะมีขีดแยกคำ Bang Pa-in เพื่อไม่ให้เสียง อะ กับ อิ กลมกลืนเป็นสระประสมตามลักษณะการประสมคำในภาษาอื่นที่เขียนด้วยอักษรโรมัน

ตัวสะกด

เมื่อเป็นพยัญชนะตัวสะกด จะไม่ปรากฏรูป อ ให้เห็น แต่สังเกตได้จากพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น ไม่มีรูปพยัญชนะตัวสะกด เช่น กะ จะ ปะ บิ เกาะ จุ เมื่อต้องทับศัพท์เสียงเหล่านี้ด้วยอักษรแบบอื่น ที่ไม่มีเสียง “อ” จึงมักจะใช้เสียง ห (ซึ่งมีคุณลักษณะของเสียงที่ใกล้เคียงกัน) ปิดท้ายแทน เช่น เมื่อเขียนด้วยอักษรโรมัน kah, pah

อย่างไรก็ตาม ในคำที่มีหลายพยางค์ เสียง “อ” ที่เป็นพยัญชนะตัวสะกด อาจหายไป เมื่อพยางค์นั้นไม่เน้น เช่น

กุมารี อาจออกเสียงเป็น /kuʔ-ma:-ri:/ หรือ /ku-ma:-ri:/,

อารยธรรม อาจปรากฏเสียงอ สะกด ที่ ยะ แต่ไม่ปรากฏที่ ระ เพราะคำนี้เมื่อออกเสียงมักจะเน้นเสียงที่ ยะ ขณะที่ ระ นั้นออกเสียงเบากว่า ส่วนคำว่า พลังงาน เสียง “พะ” เบาจนเป็นเสียงสามัญ (ไม่ใช่เสียงตรี อย่างรูปปรากฏ) มักจะไม่ออกเสียง “อ” ที่เป็นตัวสะกด

สำหรับในตำแหน่ง อ ท้ายคำ มักจะปรากฏเสียงหยุดชัดเจน เช่น สาธุ, กุฏิ, ธรรมะ, กะปิ, กระทะ, ชนะ

เสียง อ นี้นับเป็นเสียงพิเศษ ที่พบได้ในบางภาษาเท่านั้น เช่น ภาษามัลดีฟส์ (อักษรทานะ) เมื่อเทียบเสียงกับภาษาอื่น มักจะเทียบเป็นเสียงสระบ้าง เสียง /ห/ บ้าง ซึ่งมีความใกล้เคียง แต่ไม่ตรงกันเสียทีเดียว

บทความน, ไม, การ, าง, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการ, าง, งแหล, งท, มาท, าเช, เน, ความท, ไม, แหล, งท, มาาจถ, กค, ดค, านหร, ลบก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, กได, างไรและเม, ไร, เป, กษรไทย, จำพวกพย, ญชนะ, ในลำด, ดจาก, และก, นถ, กจะเร, . bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir x epnxksrithy caphwkphyychna xyuinladb thi 43 thdcak l aelakxnthung h mkcaeriykknwa x xang inkarcdhmuxksr nbepnxksrklang initryangs phnidkhrb 5 esiyng aelaetim wrrnyuktidthng 4 rupxksrithyxrupphyychnak kh kh kh Kh kh ng cch ch s ch y d t thth th n d t th th thn b p ph f ph f phm y r l w s s sh l x hrupsraa a i u u e o i i x w y v vi l lirupwrrnyukt ekhruxnghmayxun ekhruxnghmaywrrkhtxn l inphasaithyklangthukthin xksr x epnphyychnatn ihesiyng ʔ aetimichepnphyychnasakd odythwiperamkcdih x epnesiyngnasrarupsra twxx x yngsamarthichepnsra xx emuxxyuhlngphyychnatn ichthdcaksra xu emuximmiphyychnasakd echn thux aelaichprasmsra exuxa exux exxa aela exxkarprasmrup aekikhkarprasmrup prakt ichepnsra sthxksrsakl phyychnatn twxx x xx ɔː phyychnatn imitkhu twxx phyychnasakd x exaa mitwsakd ɔ phyychnatn phinthuxi fnhnu twxx ux xu immitwsakd ɯː imhna phyychnatn twxx e x exx ɤː imhna phyychnatn twxx wisrrchniy e xa exxa immitwsakd ɤʔ imhna phyychnatn sra xu twxx e ux exux ɯaː imhna phyychnatn sra xu twxx wisrrchniy e uxa exuxa ɯaʔ phyychnatn aekikhemuxepnphyychnatn x cathukichepnthunekaasahrbsra echn xahar xik xun l inthangphasasastr thuxwa x epnphyychna thiprasmdwy sra inthini khux sraxa aelasraxi tamladb intaaehnngphyychnatn esiyng x thiepnphyychnahyud xachayip ehluxaetesiyngsra kid nnkhux ʔ a ha n e a ha n sungintwxyangthiykmacasngektidyak aetcaehnidchdecn emuxmiphyangkhxunnahnaesiyng x echn khunxa khun ʔ a imich khuna esiyngphyychna n khxngphyangkhhna imthukklmklunesiyng assimilate dwysraxa inphyangkhhlng ephraamiesiyng x khnxyu aetinphasaxun xacklunesiyngepn khunna id echn inkhawa bangpaxin emuxekhiyndwyxksrormncungmkcamikhidaeykkha Bang Pa in ephuximihesiyng xa kb xi klmklunepnsraprasmtamlksnakarprasmkhainphasaxunthiekhiyndwyxksrormntwsakd aekikhemuxepnphyychnatwsakd caimpraktrup x ihehn aetsngektidcakphyangkhthiprasmdwysraesiyngsn immirupphyychnatwsakd echn ka ca pa bi ekaa cu emuxtxngthbsphthesiyngehlanidwyxksraebbxun thiimmiesiyng x cungmkcaichesiyng h sungmikhunlksnakhxngesiyngthiiklekhiyngkn pidthayaethn echn emuxekhiyndwyxksrormn kah pahxyangirktam inkhathimihlayphyangkh esiyng x thiepnphyychnatwsakd xachayip emuxphyangkhnnimenn echnkumari xacxxkesiyngepn kuʔ ma ri hrux ku ma ri xarythrrm xacpraktesiyngx sakd thi ya aetimpraktthi ra ephraakhaniemuxxxkesiyngmkcaennesiyngthi ya khnathi ra nnxxkesiyngebakwa swnkhawa phlngngan esiyng pha ebacnepnesiyngsamy imichesiyngtri xyangrupprakt mkcaimxxkesiyng x thiepntwsakdsahrbintaaehnng x thaykha mkcapraktesiynghyudchdecn echn sathu kuti thrrma kapi kratha chnaesiyng x ninbepnesiyngphiess thiphbidinbangphasaethann echn phasamldifs xksrthana emuxethiybesiyngkbphasaxun mkcaethiybepnesiyngsrabang esiyng h bang sungmikhwamiklekhiyng aetimtrngknesiythiediywekhathungcak https th wikipedia org w index php title x amp oldid 8428367, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม