fbpx
วิกิพีเดีย

เคยูแบนด์

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ เคยูแบนด์ (แก้ความกำกวม)

เคยูแบนด์ (อังกฤษ: Ku band) คือย่านหนึ่งของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในย่านความถี่ไมโครเวฟ สัญลักษณ์ Ku หมายถึง "เค-ข้างใต้" (มาจากคำดั้งเดิมในภาษาเยอรมันว่า "Kurz-unten" ซึ่งมีความหมายเดียวกัน) ซึ่งมีความหมายถึงแถบที่อยู่ข้างใต้แถบ K ในการประยุกต์ใช้งานเรดาร์ จะมีช่วงความถี่ครอบคลุมระหว่าง 12-18 GHz ตามคำนิยามทางการของแถบความถี่วิทยุตามมาตรฐาน IEEE 521-2002

เคยูแบนด์ มีการใช้งานโดยทั่วไปในการสื่อสารดาวเทียม ที่สำคัญๆ คือ ดาวเทียมส่งผ่านการติดตามข้อมูล (Tracking Data Relay Satellite) ขององค์การนาซา สำหรับทั้งการติดต่อกับกระสวยอวกาศและการสื่อสารกับสถานีอวกาศนานาชาติ ดาวเทียมแบบเคยูแบนด์ยังมีการใช้งานสำหรับการส่งข้อมูลไปยังที่ห่างไกล เช่นสำหรับเครือข่ายระบบโทรทัศน์ที่ใช้ในการแก้ไขและการออกอากาศ แถบความถี่นี้ยังแบ่งออกเป็นช่วงย่อยอีกหลายช่วงแล้วแต่บริเวณทางภูมิศาสตร์ ซึ่งจัดแบ่งโดยสมาพันธ์การสื่อสารสากล (International Telecommunication Union; ITU) สถานีโทรทัศน์ NBC เป็นเครือข่ายโทรทัศน์แห่งแรกที่ทำการอัพลิงก์รายการส่วนใหญ่ผ่านเคยูแบนด์ในปี ค.ศ. 1983

สัญญาณที่ส่งลงมา จากดาวเทียมที่สามารถรับในประเทศไทย ปัจจุบัน จะมีอยู่ 2 ระบบ คือ ระบบ C-Band และ KU-Band

1. ระบบ C-Band จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกในช่วงความถี่ 3.4-4.2 GHz แบบนี้จะมีฟุตปริ้นกว้างสามารถส่งสัญญาณครอบคลุมพื้นที่ได้หลายประเทศ ซึ่งสัญญาณดาวเทียมที่รับได้ จากต่างประเทศ ส่วนใหญ่จะเป็นระบบนี้ แต่เนื่องจากสัญญาณครอบคลุมพื้นที่กว้าง ความเข้มสัญญาณจะต่ำ จึงต้องใช้จานขนาด 4-10 ฟุต รับสัญญาณ ภาพจึงจะชัด (รายการส่วนใหญ่เป็นฟรีทีวีของแต่ละประเทศ และส่วนมากสามารถรับชมได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายรายเดือน )

2 ระบบ KU-Band จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกในช่วงความถี่ 10-12 GHz สัญญาณที่ส่งครอบคลุมพื้นที่ได้น้อย ใช้กับการส่งสัญญาณภายในประเทศ ส่วนใหญ่ใช้กับระบบการให้บริการ เคเบิ้ลทีวี ภายในประเทศ ความเข้มสัญญาณจะสูง จึงใช้จานขนาดเล็ก 35-75 ซม.

C Band กับ Ku Band คืออะไร ต่างกันอย่างไร

หลายคนไปร้านขายจานกับกล่องดาวเทียม เจอคนขายถามว่าจะดูดาวเทียมย่าน C-Band หรือ Ku-Band ก็เกิดอาการงงว่ามันคืออะไร แล้วต่างกันตรงไหน ย่านไหนดีกว่ากัน ตรงนี้มีคำตอบนะครับ

ดาวเทียมที่อยู่เหนือผิวโลกสูงประมาณ 36,000 กิโลเมตร ส่งสัญญาณแค่ไม่กี่วัตต์ออกมา เจอสภาพบรรยากาศของโลกสัญญาณก็จะถูกหน่วงไปประมาณ 200 dB พอมาถึงพื้นโลกนั้นสัญญาณที่เหลือจะอ่อนมากๆ

เราจึงต้องใช้สายอากาศในลักษณะรูปร่างคล้ายจานที่เราเรียกว่าจานดาวเทียม เพื่อที่จะทำการรวมสัญญาณอ่อนๆเหล่านี้โดยการสะท้อนไปรวมกันยังจุดโฟกัส แม้จะรวมสัญญาณโดยรอบและจากทุกตำแหน่งของจานแล้วก็ตาม ค่าความเข้มของสัญญาณที่ได้ก็ยังน้อยมากในระดับ ไมโครวัตต์เท่านั้น (1 ใน ล้าน)

สัญญาณเหล่านี้ก็จะถูกนำไปประมวลผลด้วยวงจรอิเลคทรอนิคส์ แต่เนื่องจากสัญญาณนั้นอ่อนมาก อาจจะมีโอกาศถูกรบกวนได้สูง จึงต้องมีการขยายสัญญาณทันทีหลังจากรับสัญญาณมาแล้วด้วยเครื่องขยายสัญญาณรบกวนต่ำหรือ Low Noise Amplifier (LNA)

คุณสมบัติเด่นอันหนึ่งของการรับสัญญาณดาวเทียมก็คือจำนวนสัญญาณที่จานจะรับได้นั้นเกี่ยวข้องโดยตรงกับความถี่ นั่นคือหากจานมีขนาดเท่ากัน สัญญาณจะได้รับแรงขึ้นหากความถี่ที่ส่งมานั้นสูงขึ้น นั่นหมายถึงว่าจานเดียวกันนั้น Gain จะสูงที่ความถี่สูง ทำให้เราสามารถใช้จานเล็กๆ รับสัญญาณที่ความถี่สูงได้ ทำให้การออกอากาศในปัจจุบันใช้ Ku band หรือแม้แต่ Ka band ในการออกอากาศทีวีผ่านดาวเทียม กลับมาในเรื่องของความแตกต่างระหว่าง Ku Band กับ C Band ข้อมูลก็จะเป็นดังตาราง

ชื่อย่านความถี่ Downlink Freq (GHz) Uplink Freq(GHz)

S BAND 2.555 – 2.635 5.855 – 5.935

Extended C Band (lower) 3.4 – 3.7 5.725 – 5.925

C BAND 3.7 – 4.2 5.925 – 6.425

Extended C Band (Upper) 4.5 – 4.8 6.425 – 7.075

Ku Band 10.7 – 13.25 12.75 – 14.25

Ka Band 18.3 – 22.20 27.0 – 31.0

โดยรวมๆแล้วข้อมูลจากตารางจะเห็นได้ว่าช่วง C-Band คือช่วงความถี่ต่ำระหว่าง 4 – 7 GHz ส่วนช่วง Ku Band จะอยู่ในช่วง 10 – 14 GHz ที่ความถี่สูงจานรับสัญญาณดาวเทียมก็จะมีลักษณะหนาทึบ ในขณะที่ย่าน C-Band จานรับสัญญาณดาวเทียมจะมีลักษณะโปร่งๆ เนื่องจากใช้ความถี่ต่ำกว่า สรุปความแตกต่างได้ดังนี้

จานดาวเทียม C-Band

  • ความถี่ในการทำงานอยู่ในย่านต่ำ 4 – 8 GHz
  • ครอบคลุมพื้นที่บนผิวโลกกว้างกว่า
  • ความเข้มสัญญาณต่ำ
  • จานรับจะมีลักษณะเป็นตะแกรง มีขนาดใหญ่
  • ไม่มีปัญหาเวลาฝนตก

จานดาวเทียม Ku-Band

  • ความถี่ในการทำงานอยู่ในย่านสูง 10 – 12 GHz
  • สามารถใช้งานที่มีขนาดเล็กลง เช่นขนาด 35 ซมได้
  • มีปัญหาเวลาฝนตก (Rain Fade)
  • ความเข้มของสัญญาณในการส่ง C-Band จะเบากว่า Ku-Band เป็นเหตุผลในทางเทคนิค ตามข้อที่ 2
  • พื้นที่ครอบคลุมของสัญญาณ ( Beam Coverage Area) ระบบ C-Band จะใช้งานเพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่รับสัญญาณได้กว้างขวางทั่วทั้งทวีป แต่ระบบ Ku-Band จะใช้เพื่อครอบคลุมพื้นที่เฉพาะในประเทศ ในทางเทคนิคต้องส่งสัญญาณ C-Band ให้มีความเข้มของสัญญาณน้อยกว่า Ku-Band เพื่อไม่ให้เกิดการรบกวนกันได้
  • ลักษณะของใบจานรับสัญญาณ C-Band จะเป็นตะแกรงโปร่ง หรือทึบ ทรงกลม ขึ้นรูปพาราโบลิค ขนาดทั่วไปเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 - 10 ฟุต ส่วน Ku-Band จะเป็นจานทึบ Offset รูปไข่ ขนาด 0.35 - 1.80 เมตร
  • ขนาดของจานรับสัญญาณดาวเทียม จากเหตุผลข้อที่ 1 ทำให้ระบบ Ku-Band สามารถใช้ใบจานขนาดเล็กกว่า C-Band ค่อนข้างมาก ตัวอย่างเช่น UBC จะใช้ใบจาน offset ขนาด 35 - 75 ซม. ก็สามารถรับสัญญาณได้ดี ในขณะที่ระบบ C-Band ต้องใช้จานขนาดใหญ่กว่าถึง 2-3 เท่า เพื่อให้รับสัญญาณได้ดี
  • ลักษณะของแผ่นสะท้อนของใบจาน ระบบ Ku-Band จะเป็นโลหะแผ่นเรียบจะเป็นอลูมีเนียม หรือ เหล็กชุบสี ในขณะที่ C-Band ส่วนใหญ่จะเป็นตะแกรงปั้มเป็นรูเล็กๆ จาน C-Band จานแบบทึบมีให้เห็นบ้างแต่น้อยมาก และไม่เป็นที่นิยม เนื่องจากน้ำหนักมาก และต้านลม แล้วถ้าหากว่า จะใช้จานแบบ C-Band รับสัญญาณระบบ Ku-Band ได้มั้ย ตอบว่าได้แต่ในทางกลับกันจะเอาจาน Ku-Band มารับสัญญาณ C-Band ไม่ได้ นอกจากจะใช้จานขนาดใหญ่จริง ๆ
  • หัวรับสัญญาณ ซึ่งในทางเทคนิคเรียกว่า LNBF (Low Noise Block Down Frequency) เป็นตัวแปลงสัญญาณความถี่สูงให้ตำลงมาจนเหมาะสมกับภาครับของเครื่องรับสัญญาณ (Receiver) ซึ่งระบบ C-band จะรองรับความถี่ 3.4-4.2 GHz ในขณะที่ Ku-Band รองรับความถี่ 10-12 GHz จึงใช้แทนกันไม่ได้ อาจมีบางรุ่นที่ทำแบบ 2 in 1 คือ เอาหัว 2 ระบบบรรจุไว้ใน Case เดียวกัน
  • เครื่องรับสัญญาณ (Receiver) โดยทั่วไปไม่แตกต่างกันนอกจากผู้ผลิตจะเจตนาให้ตัวเครื่องรับได้เฉพาะระบบ เช่น เครื่องรับสัญญาณของ UBC จะไม่สามรถนำมาใช้รับสัญญาณระบบ C-Band ได้ โดยทั่วไปเครื่องรับสามารถรับสัญญาณได้ทั้ง 2 ระบบ เพียงตั้งค่า LNBF ให้ถูกต้องเท่านั้นเอง ข้อควรรู้เพิ่มเติม คือ ระบบ Ku-Band เป็นระบบที่ส่งสัญญาณด้วยความถี่สูง ซึ่งจะมีปัญหาการรับสัญญาณในขณะฝนตกหนัก การเพิ่มขนาดใบจานอาจช่วยได้บ้างแต่ถ้าฝนตกหนัก เมฆหนาทึบ จะรับสัญญาณไม่ได้ ในขณะที่ C-Band จะเหนือกว่าตรงที่ไม่มีปัญหาขณะฝนตก

ข้อดี

1. จานดาวเทียมระบบ KU-BAND มีขนาดเล็ด 35-75 ซม. สามารถติดตั้งได้ง่ายใช้พื้นที่ในการติดตั้งน้อย

2. สามารถติดตั้งได้สำหรับคอนโดมิเนียม หรือพาร์ทเม้นท์ ที่มีเทอเรสท์ หันไปทางทิสตะวันตกหรือทิศใต้

3. การเพิ่มจุดรับชมสามารถทำได้ง่ายราคาประหยัดเนื่องจากรีซีฟเวอร์ระบบ KU-band ราคาไม่แพง

4. สามารถชมช่องพิเศษตามของยี่ห้อดาวเทียมนั้นได้

5. การซ่อมบำรุงทำได้ง่าย ไม่ยุ่งยากอะไร เนื่องจากจานดาวเทียมมีขนาดเล็ก

6. การเคลื่อนย้ายจานดาวเทียมทำได้ง่าย สามารถทำได้เองถ้ามีทักษะพิเศษในการติดตั้งจานดาวเทียมพอสมควร

ข้อเสีย

1. จานดาวเทียม KU-BAND จะไม่สามารถรับชมรายการได้ในขณะที่ฝนตกหนัก หรือท้องฟ้าที่ครึ้มมากๆ เพราะสัญญาณดาวเทียม KU-BAND ไม่สามารถหลีกเลี่ยงเม็ดฝนที่ลงมาได้

2. ถ้าอยากชมรายการพิเศษ ต้องเสียเงินสำหรับชมช่องรายการพิเศษของจานนั้นๆ

อ้างอิง

  1. IEEE Std 521 - 2002 URL only available to IEEE members
  2. Note that in the band 11.2–12 GHz the working definitions of Ku band and X band overlap; satellite communications engineers would generally regard frequencies above 11.2 GHz as being part of the Ku band)

แหล่งข้อมูลอื่น

เคย, แบนด, สำหร, บความหมายอ, แก, ความกำกวม, งกฤษ, band, อย, านหน, งของสเปกตร, มคล, นแม, เหล, กไฟฟ, าในย, านความถ, ไมโครเวฟ, ญล, กษณ, หมายถ, เค, างใต, มาจากคำด, งเด, มในภาษาเยอรม, นว, kurz, unten, งม, ความหมายเด, ยวก, งม, ความหมายถ, งแถบท, อย, างใต, แถบ, ในการป. sahrbkhwamhmayxun duthi ekhyuaebnd aekkhwamkakwm ekhyuaebnd xngkvs Ku band khuxyanhnungkhxngsepktrmkhlunaemehlkiffainyankhwamthiimokhrewf sylksn Ku hmaythung ekh khangit macakkhadngediminphasaeyxrmnwa Kurz unten sungmikhwamhmayediywkn sungmikhwamhmaythungaethbthixyukhangitaethb K inkarprayuktichnganerdar camichwngkhwamthikhrxbkhlumrahwang 12 18 GHz tamkhaniyamthangkarkhxngaethbkhwamthiwithyutammatrthan IEEE 521 2002 1 2 ekhyuaebnd mikarichnganodythwipinkarsuxsardawethiym thisakhy khux dawethiymsngphankartidtamkhxmul Tracking Data Relay Satellite khxngxngkhkarnasa sahrbthngkartidtxkbkraswyxwkasaelakarsuxsarkbsthanixwkasnanachati dawethiymaebbekhyuaebndyngmikarichngansahrbkarsngkhxmulipyngthihangikl echnsahrbekhruxkhayrabbothrthsnthiichinkaraekikhaelakarxxkxakas aethbkhwamthiniyngaebngxxkepnchwngyxyxikhlaychwngaelwaetbriewnthangphumisastr sungcdaebngodysmaphnthkarsuxsarsakl International Telecommunication Union ITU sthaniothrthsn NBC epnekhruxkhayothrthsnaehngaerkthithakarxphlingkraykarswnihyphanekhyuaebndinpi kh s 1983syyanthisnglngma cakdawethiymthisamarthrbinpraethsithy pccubn camixyu 2 rabb khux rabb C Band aela KU Band1 rabb C Band casngkhlunkhwamthiklbmayngolkinchwngkhwamthi 3 4 4 2 GHz aebbnicamifutprinkwangsamarthsngsyyankhrxbkhlumphunthiidhlaypraeths sungsyyandawethiymthirbid caktangpraeths swnihycaepnrabbni aetenuxngcaksyyankhrxbkhlumphunthikwang khwamekhmsyyancata cungtxngichcankhnad 4 10 fut rbsyyan phaphcungcachd raykarswnihyepnfrithiwikhxngaetlapraeths aelaswnmaksamarthrbchmidodyimmikhaichcayrayeduxn 2 rabb KU Band casngkhlunkhwamthiklbmayngolkinchwngkhwamthi 10 12 GHz syyanthisngkhrxbkhlumphunthiidnxy ichkbkarsngsyyanphayinpraeths swnihyichkbrabbkarihbrikar ekhebilthiwi phayinpraeths khwamekhmsyyancasung cungichcankhnadelk 35 75 sm enuxha 1 C Band kb Ku Band khuxxair tangknxyangir 2 candawethiym C Band 3 candawethiym Ku Band 4 khxdi 5 khxesiy 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunC Band kb Ku Band khuxxair tangknxyangir aekikhhlaykhniprankhaycankbklxngdawethiym ecxkhnkhaythamwacadudawethiymyan C Band hrux Ku Band kekidxakarngngwamnkhuxxair aelwtangkntrngihn yanihndikwakn trngnimikhatxbnakhrbdawethiymthixyuehnuxphiwolksungpraman 36 000 kiolemtr sngsyyanaekhimkiwttxxkma ecxsphaphbrryakaskhxngolksyyankcathukhnwngippraman 200 dB phxmathungphunolknnsyyanthiehluxcaxxnmakeracungtxngichsayxakasinlksnaruprangkhlaycanthieraeriykwacandawethiym ephuxthicathakarrwmsyyanxxnehlaniodykarsathxniprwmknyngcudofks aemcarwmsyyanodyrxbaelacakthuktaaehnngkhxngcanaelwktam khakhwamekhmkhxngsyyanthiidkyngnxymakinradb imokhrwttethann 1 in lan syyanehlanikcathuknaippramwlphldwywngcrxielkhthrxnikhs aetenuxngcaksyyannnxxnmak xaccamioxkasthukrbkwnidsung cungtxngmikarkhyaysyyanthnthihlngcakrbsyyanmaaelwdwyekhruxngkhyaysyyanrbkwntahrux Low Noise Amplifier LNA khunsmbtiednxnhnungkhxngkarrbsyyandawethiymkkhuxcanwnsyyanthicancarbidnnekiywkhxngodytrngkbkhwamthi nnkhuxhakcanmikhnadethakn syyancaidrbaerngkhunhakkhwamthithisngmannsungkhun nnhmaythungwacanediywknnn Gain casungthikhwamthisung thaiherasamarthichcanelk rbsyyanthikhwamthisungid thaihkarxxkxakasinpccubnich Ku band hruxaemaet Ka band inkarxxkxakasthiwiphandawethiym klbmaineruxngkhxngkhwamaetktangrahwang Ku Band kb C Band khxmulkcaepndngtarangchuxyankhwamthi Downlink Freq GHz Uplink Freq GHz S BAND 2 555 2 635 5 855 5 935Extended C Band lower 3 4 3 7 5 725 5 925C BAND 3 7 4 2 5 925 6 425Extended C Band Upper 4 5 4 8 6 425 7 075Ku Band 10 7 13 25 12 75 14 25Ka Band 18 3 22 20 27 0 31 0odyrwmaelwkhxmulcaktarangcaehnidwachwng C Band khuxchwngkhwamthitarahwang 4 7 GHz swnchwng Ku Band caxyuinchwng 10 14 GHz thikhwamthisungcanrbsyyandawethiymkcamilksnahnathub inkhnathiyan C Band canrbsyyandawethiymcamilksnaoprng enuxngcakichkhwamthitakwa srupkhwamaetktangiddngnicandawethiym C Band aekikhkhwamthiinkarthanganxyuinyanta 4 8 GHz khrxbkhlumphunthibnphiwolkkwangkwa khwamekhmsyyanta canrbcamilksnaepntaaekrng mikhnadihy immipyhaewlafntkcandawethiym Ku Band aekikhkhwamthiinkarthanganxyuinyansung 10 12 GHz samarthichnganthimikhnadelklng echnkhnad 35 smid mipyhaewlafntk Rain Fade khwamekhmkhxngsyyaninkarsng C Band caebakwa Ku Band epnehtuphlinthangethkhnikh tamkhxthi 2 phunthikhrxbkhlumkhxngsyyan Beam Coverage Area rabb C Band caichnganephuxihkhrxbkhlumphunthirbsyyanidkwangkhwangthwthngthwip aetrabb Ku Band caichephuxkhrxbkhlumphunthiechphaainpraeths inthangethkhnikhtxngsngsyyan C Band ihmikhwamekhmkhxngsyyannxykwa Ku Band ephuximihekidkarrbkwnknidlksnakhxngibcanrbsyyan C Band caepntaaekrngoprng hruxthub thrngklm khunruppharaoblikh khnadthwipesnphasunyklang 4 5 10 fut swn Ku Band caepncanthub Offset rupikh khnad 0 35 1 80 emtrkhnadkhxngcanrbsyyandawethiym cakehtuphlkhxthi 1 thaihrabb Ku Band samarthichibcankhnadelkkwa C Band khxnkhangmak twxyangechn UBC caichibcan offset khnad 35 75 sm ksamarthrbsyyaniddi inkhnathirabb C Band txngichcankhnadihykwathung 2 3 etha ephuxihrbsyyaniddilksnakhxngaephnsathxnkhxngibcan rabb Ku Band caepnolhaaephneriybcaepnxlumieniym hrux ehlkchubsi inkhnathi C Band swnihycaepntaaekrngpmepnruelk can C Band canaebbthubmiihehnbangaetnxymak aelaimepnthiniym enuxngcaknahnkmak aelatanlm aelwthahakwa caichcanaebb C Band rbsyyanrabb Ku Band idmy txbwaidaetinthangklbkncaexacan Ku Band marbsyyan C Band imid nxkcakcaichcankhnadihycring hwrbsyyan sunginthangethkhnikheriykwa LNBF Low Noise Block Down Frequency epntwaeplngsyyankhwamthisungihtalngmacnehmaasmkbphakhrbkhxngekhruxngrbsyyan Receiver sungrabb C band carxngrbkhwamthi 3 4 4 2 GHz inkhnathi Ku Band rxngrbkhwamthi 10 12 GHz cungichaethnknimid xacmibangrunthithaaebb 2 in 1 khux exahw 2 rabbbrrcuiwin Case ediywknekhruxngrbsyyan Receiver odythwipimaetktangknnxkcakphuphlitcaectnaihtwekhruxngrbidechphaarabb echn ekhruxngrbsyyankhxng UBC caimsamrthnamaichrbsyyanrabb C Band id odythwipekhruxngrbsamarthrbsyyanidthng 2 rabb ephiyngtngkha LNBF ihthuktxngethannexng khxkhwrruephimetim khux rabb Ku Band epnrabbthisngsyyandwykhwamthisung sungcamipyhakarrbsyyaninkhnafntkhnk karephimkhnadibcanxacchwyidbangaetthafntkhnk emkhhnathub carbsyyanimid inkhnathi C Band caehnuxkwatrngthiimmipyhakhnafntkkhxdi aekikh1 candawethiymrabb KU BAND mikhnadeld 35 75 sm samarthtidtngidngayichphunthiinkartidtngnxy2 samarthtidtngidsahrbkhxnodmieniym hruxpharthemnth thimiethxersth hnipthangthistawntkhruxthisit3 karephimcudrbchmsamarththaidngayrakhaprahydenuxngcakrisifewxrrabb KU band rakhaimaephng4 samarthchmchxngphiesstamkhxngyihxdawethiymnnid5 karsxmbarungthaidngay imyungyakxair enuxngcakcandawethiymmikhnadelk6 karekhluxnyaycandawethiymthaidngay samarththaidexngthamithksaphiessinkartidtngcandawethiymphxsmkhwrkhxesiy aekikh1 candawethiym KU BAND caimsamarthrbchmraykaridinkhnathifntkhnk hruxthxngfathikhrummak ephraasyyandawethiym KU BAND imsamarthhlikeliyngemdfnthilngmaid2 thaxyakchmraykarphiess txngesiyenginsahrbchmchxngraykarphiesskhxngcannnxangxing aekikh IEEE Std 521 2002 URL only available to IEEE members Note that in the band 11 2 12 GHz the working definitions of Ku band and X band overlap satellite communications engineers would generally regard frequencies above 11 2 GHz as being part of the Ku band aehlngkhxmulxun aekikhSpectrum allocation chart http www homesat hd com index php lay show amp ac article amp Id 539775662 http www thaidigitaltelevision com c band E0 B8 81 E0 B8 B1 E0 B8 9A ku band E0 B8 84 E0 B8 B7 E0 B8 AD E0 B8 AD E0 B8 B0 E0 B9 84 E0 B8 A3 E0 B8 95 E0 B9 88 E0 B8 B2 E0 B8 87 E0 B8 81 E0 B8 B1 E0 B8 99 E0 B8 AD E0 B8 A2 E0 B9 88 bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title ekhyuaebnd amp oldid 6070508, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม