fbpx
วิกิพีเดีย

เซลมัน แวกส์มัน

เซลมัน อับราฮัม แวกส์มัน (อังกฤษ: Selman Abraham Waksman; 22 กรกฎาคม ค.ศ. 188816 สิงหาคม ค.ศ. 1973) เป็นนักชีวเคมีและนักจุลชีววิทยาชาวอเมริกันเชื้อสายยิว เกิดที่เขตเคียฟ จักรวรรดิรัสเซีย (ปัจจุบันอยู่ในประเทศยูเครน) เป็นบุตรของยาคอบ แวกส์มันและเฟรเดีย ลอนดอน แวกส์มันย้ายมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1910 และได้รับสัญชาติอเมริกันในอีก 6 ปีต่อมา เขาเรียนปริญญาตรีสาขาเกษตรศาสตร์และปริญญาโทสาขาวิทยาศาสตร์ที่วิทยาลัยรัตเจอส์ (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยรัตเจอส์) ระหว่างเรียนปริญญาโท แวกส์มันทำงานเป็นผู้ช่วยยาคอบ กูเดล ลิปมันที่สถานีทดลองการเกษตรนิวเจอร์ซีย์ ต่อมาเขาได้รับตำแหน่งนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ แวกส์มันเรียนจบปริญญาเอกสาขาชีวเคมีที่นั่นในปี ค.ศ. 1918

เซลมัน แวกส์มัน
เกิดเซลมัน อับราฮัม แวกส์มัน
22 กรกฎาคม ค.ศ. 1888(1888-07-22)
โนวาไพรลูกา เขตเคียฟ จักรวรรดิรัสเซีย
เสียชีวิต16 สิงหาคม ค.ศ. 1973 (85 ปี)
วูดส์โฮล รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา
พลเมืองอเมริกัน (หลัง ค.ศ. 1916)
ศิษย์เก่า
รางวัล
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาชีวเคมี, จุลชีววิทยา

ต่อมาแวกส์มันกลับไปทำงานที่ภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยรัตเจอส์ ที่นั่นทีมของเขาค้นพบยาปฏิชีวนะหลายชนิด เช่น สเตรปโตมัยซิน, นีโอมัยซิน, แด็กทิโนมัยซิน, แคนซิซิดิน โดยเฉพาะสเตรปโตมัยซินและนีโอมัยซินที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อหลายชนิด สเตรปโตมัยซินเป็นยาปฏิชีวนะชนิดแรกที่ใช้รักษาวัณโรค ในปี ค.ศ. 1942 แวกส์มันคิดคำว่า antibiotic เพื่อใช้อธิบายสารที่ได้จากเชื้อจุลินทรีย์ที่สามารถต้านการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ชนิดอื่นได้ ในปี ค.ศ. 1951 เขาจัดตั้งมูลนิธิด้านจุลชีววิทยาและจัดตั้งสถาบันจุลชีววิทยาแวกส์มัน ปีต่อมาแวกส์มันได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์สำหรับการค้นพบสเตรปโตมัยซิน โดยได้รับการประท้วงจากอัลเบิร์ต ชวาตซ์ ผู้ร่วมค้นพบแต่ไม่ได้รับรางวัลด้วย อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการรางวัลโนเบลแจ้งว่าชวาตซ์ในตอนนั้นเป็นเพียงผู้ช่วยในห้องปฏิบัติการ ไม่ใช่นักวิทยาศาสตร์ที่มีผลงานโดดเด่น ปัญหาการเป็นผู้ค้นพบสเตรปโตมัยซินระหว่างแวกส์มันและชวาตซ์นำไปสู่การฟ้องร้องในเวลาต่อมา แวกส์มันยอมตกลงกับชวาตซ์ โดยให้ค่าชดเชยต่าง ๆ และสิทธิ์เป็นผู้ร่วมค้นพบสเตรปโตมัยซินแก่ชวาตซ์

ด้านชีวิตส่วนตัว แวกส์มันแต่งงานกับเดบอราห์ บี. มิตนิกในปี ค.ศ. 1916 มีบุตรด้วยกัน 1 คน แวกส์มันเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1973 ที่เมืองวูดส์โฮล ประเทศสหรัฐอเมริกา

อ้างอิง

  1. "The Foundation and Its History". waksman-foundation.org (No further authorship information available). สืบค้นเมื่อ January 11, 2007.
  2. "Selman A. Waksman - Biographical". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ 20 November 2016.
  3. Sanjai Saxena, Applied Microbiology
  4. SA Waksman (1947). "What Is an Antibiotic or an Antibiotic Substance?". Mycologia. 39 (5): 565–569. doi:10.2307/3755196. JSTOR 3755196. PMID 20264541.
  5. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1952". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ 20 November 2016.
  6. Pringle, Peter (June 11, 2012). "Notebooks Shed Light on a Discovery, and a Mentor's Betrayal". The New York Times. สืบค้นเมื่อ June 11, 2012.
  7. . scc.rutgers.edu. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2008-10-14. สืบค้นเมื่อ 2016-11-20.
  8. Veronique Mistiaen (2 November 2002). "Time, and the great healer". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 17 August 2013.
  9. "Dr. Schatz Wins 3% of Royalty; Named Co-Finder of Streptomycin; Key Figures in Streptomycin Discovery Suit". New York Times. 30 December 1950. สืบค้นเมื่อ 17 August 2013.
  10. "Selman Abraham Waksman". Encyclopedia.com. สืบค้นเมื่อ 20 November 2016.
  11. "Selman A. Waksman". NNDB.com. สืบค้นเมื่อ 20 November 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น

  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เซลมัน แวกส์มัน
  •   วิกิคำคม มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ เซลมัน แวกส์มัน
  • "Selman Waksman and Antibiotics". American Chemical Society.

เซลม, แวกส, เซลม, บราฮ, แวกส, งกฤษ, selman, abraham, waksman, กรกฎาคม, 1888, งหาคม, 1973, เป, นน, กช, วเคม, และน, กจ, ลช, วว, ทยาชาวอเมร, นเช, อสายย, เก, ดท, เขตเค, ยฟ, กรวรรด, สเซ, จจ, นอย, ในประเทศย, เครน, เป, นบ, ตรของยาคอบ, แวกส, นและเฟรเด, ลอนดอน, แวกส, น. eslmn xbrahm aewksmn xngkvs Selman Abraham Waksman 22 krkdakhm kh s 1888 16 singhakhm kh s 1973 epnnkchiwekhmiaelankculchiwwithyachawxemriknechuxsayyiw ekidthiekhtekhiyf ckrwrrdirsesiy 1 pccubnxyuinpraethsyuekhrn epnbutrkhxngyakhxb aewksmnaelaefrediy lxndxn 2 aewksmnyaymaxyuthishrthxemrikainpi kh s 1910 aelaidrbsychatixemrikninxik 6 pitxma ekhaeriynpriyyatrisakhaekstrsastraelapriyyaothsakhawithyasastrthiwithyalyrtecxs pccubnkhuxmhawithyalyrtecxs rahwangeriynpriyyaoth aewksmnthanganepnphuchwyyakhxb kuedl lipmnthisthanithdlxngkarekstrniwecxrsiy txmaekhaidrbtaaehnngnkwicythimhawithyalyaekhlifxreniy ebirkliy aewksmneriyncbpriyyaexksakhachiwekhmithinninpi kh s 1918eslmn aewksmnekideslmn xbrahm aewksmn 22 krkdakhm kh s 1888 1888 07 22 onwaiphrluka ekhtekhiyf ckrwrrdirsesiyesiychiwit16 singhakhm kh s 1973 85 pi wudsohl rthaemssachuests shrthxemrikaphlemuxngxemrikn hlng kh s 1916 sisyekamhawithyalyrtecxs mhawithyalyaekhlifxreniy ebirkliyrangwlrangwlxlebirt aelsekxrsahrbkarwicyphunthanthangkaraephthy kh s 1948 rangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthy kh s 1952 ehriyyelewinhuk kh s 1950 xachiphthangwithyasastrsakhachiwekhmi culchiwwithyatxmaaewksmnklbipthanganthiphakhwichachiwekhmiaelaculchiwwithya mhawithyalyrtecxs thinnthimkhxngekhakhnphbyaptichiwnahlaychnid echn setrpotmysin nioxmysin aedkthionmysin aekhnsisidin odyechphaasetrpotmysinaelanioxmysinthiichrksaorkhtidechuxhlaychnid setrpotmysinepnyaptichiwnachnidaerkthiichrksawnorkh inpi kh s 1942 aewksmnkhidkhawa antibiotic ephuxichxthibaysarthiidcakechuxculinthriythisamarthtankarecriyetibotkhxngechuxculinthriychnidxunid 3 4 inpi kh s 1951 ekhacdtngmulnithidanculchiwwithyaaelacdtngsthabnculchiwwithyaaewksmn pitxmaaewksmnidrbrangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthysahrbkarkhnphbsetrpotmysin 5 odyidrbkarprathwngcakxlebirt chwats phurwmkhnphbaetimidrbrangwldwy xyangirktam khnakrrmkarrangwloneblaecngwachwatsintxnnnepnephiyngphuchwyinhxngptibtikar imichnkwithyasastrthimiphlnganoddedn 6 pyhakarepnphukhnphbsetrpotmysinrahwangaewksmnaelachwatsnaipsukarfxngrxnginewlatxma 7 aewksmnyxmtklngkbchwats odyihkhachdechytang aelasiththiepnphurwmkhnphbsetrpotmysinaekchwats 8 9 danchiwitswntw aewksmnaetngngankbedbxrah bi mitnikinpi kh s 1916 10 mibutrdwykn 1 khn aewksmnesiychiwitinpi kh s 1973 thiemuxngwudsohl praethsshrthxemrika 11 xangxing aekikh The Foundation and Its History waksman foundation org No further authorship information available subkhnemux January 11 2007 Selman A Waksman Biographical Nobelprize org subkhnemux 20 November 2016 Sanjai Saxena Applied Microbiology SA Waksman 1947 What Is an Antibiotic or an Antibiotic Substance Mycologia 39 5 565 569 doi 10 2307 3755196 JSTOR 3755196 PMID 20264541 The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1952 Nobelprize org subkhnemux 20 November 2016 Pringle Peter June 11 2012 Notebooks Shed Light on a Discovery and a Mentor s Betrayal The New York Times subkhnemux June 11 2012 The Schatz v Waksman Lawsuit 1950 scc rutgers edu khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2008 10 14 subkhnemux 2016 11 20 Veronique Mistiaen 2 November 2002 Time and the great healer The Guardian subkhnemux 17 August 2013 Dr Schatz Wins 3 of Royalty Named Co Finder of Streptomycin Key Figures in Streptomycin Discovery Suit New York Times 30 December 1950 subkhnemux 17 August 2013 Selman Abraham Waksman Encyclopedia com subkhnemux 20 November 2016 Selman A Waksman NNDB com subkhnemux 20 November 2016 aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb eslmn aewksmn wikikhakhm mikhakhmthiklawody hruxekiywkb eslmn aewksmn Selman Waksman and Antibiotics American Chemical Society bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title eslmn aewksmn amp oldid 9549060, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม