fbpx
วิกิพีเดีย

แม็ปลอจิสติก

แม็ปลอจิสติก (อังกฤษ: Logistic Map) เป็น แม็ป(ฟังก์ชัน ที่มี โดเมน และ เรนจ์ อยู่ในปริภูมิเดียวกัน) พหุนาม นิยมใช้เป็นตัวอย่างของระบบพลวัตไม่เป็นเชิงเส้นอย่างง่ายที่สามารถแสดงพฤติกรรมความอลวนได้ แม็ปลอจิสติกนี้เริ่มเป็นที่รู้จักกว้างขวางจากผลงานตีพิมพ์ของนักชีววิทยา โรเบิร์ต เมย์ (Robert May) แรกเริ่มนั้น แม็ปลอจิสติกนี้ถูกสร้างขึ้นโดย ปิแอร์ ฟรองซัว เวอฮัลสท์ (Pierre François Verhulst) เพื่อเป็นแบบจำลองการกระจายปริมาณประชากรมนุษย์ ต่อมาถูกนำไปใช้สำหรับ การเพิ่มปริมาณประชากรของสปีชีส์อื่นๆ ภายใต้สภาวะแวดล้อมจำกัด เช่น อาหาร, โรค, และ อื่นๆ ซึ่งแบบจำลองจะมีพฤติกรรมจากผลของ :

  1. การสืบพันธุ์ คือ จำนวนประชากร จะเพิ่มขึ้นด้วยอัตราที่แปรผันตามจำนวนประชากรในขณะนั้น
  2. การขาดอาหาร คือ จำนวนประชากรจะลดลงด้วยอัตรา ที่แปรผันตาม จำนวนประชากรที่สภาพแวดล้อมนั้นสามารถรองรับได้ในทางทฤษฎี ลบออกด้วยค่าจำนวนประชากรในขณะนั้น
แม็ปลอจิสติก ที่ r=1,2,4

ซึ่งสามารถเขียนในรูปสมการทางคณิตศาสตร์ดังนี้

โดยที่:

, ใช้หมายถึงปริมาณประชากร ที่ปี n, และ x0 หมายถึงปริมาณประชากรเริ่มต้น(ที่ปี 0)
r เป็นจำนวนบวก ใช้หมายถึง ค่าผลรวมของอัตรา การสืบพันธุ์ และ การขาดอาหาร

พฤติกรรมตามค่า r

 
แผนผังไบเฟอร์เคชัน ของแม็ปลอจิสติก

พฤติกรรมของระบบ ที่ค่าพารามิเตอร์ r ต่างๆ

  •  , ประชากรจะตายไปจนหมดโดยไม่ขึ้นกับค่าเริ่มต้น โดยระบบมีจุดตายตัว (fixed point) เพียงจุดเดียวที่   ซึ่งเป็นจุดตายตัวแบบดึงดูด(attracting fixed point) หรือ เรียกว่า "จุดดูดซับ" (sink) และดึงดูดค่าเริ่มต้นทุกค่าใน [0,1]
  •  , ระบบมีจุดตายตัว 2 จุดคือที่   และ   โดยที่   เป็นจุดตายตัวแบบผลักออก(repelling fixed point) หรือ เรียกว่า "จุดกำเนิด" (source) และ   เป็น จุดตายตัวแบบดึงดูด
    • ที่ค่า r อยู่ระหว่าง 1 ถึง 2 จำนวนประชากรจะลู่เข้าหาค่า   และคงตัวอย่างรวดเร็ว
    • ที่ค่า r อยู่ระหว่าง 2 และ 3 จำนวนประชากรจะเริ่มแกว่งก่อนลู่เข้าหาจุดดูดซับ โดยมีอัตราการลู่เข้าเป็นเชิงเส้น
    • ที่ค่า r เท่ากับ 3 อัตราการลู่เข้าจะช้ากว่าอัตราที่เป็นเชิงเส้น
  •   (ประมาณ 3.45) จำนวนประชากรจะมีค่าแกว่งสลับระหว่างค่า 2 ค่า ซึ่ง 2 ค่านี้ขึ้นกับค่า r แต่ไม่ขึ้นกับค่าเริ่มต้น ซึ่งก็คือ ระบบมีจุดวงรอบคาบ 2 แบบดึงดูด หรือ จุดดูดซับแบบวงรอบคาบ2
  •   (โดยประมาณ) จำนวนประชากรจะมีค่าแกว่งสลับระหว่างค่า 4 ค่า ไม่ขึ้นกับค่เริ่มต้น ซึ่งก็คือ ระบบมีจุดดูดซับแบบวงรอบคาบ 4
  • เมื่อค่า r มีค่าเพิ่มมากกว่า 3.54 จำนวนประชากรจะมีค่าแกว่งสลับ เป็นวงรอบด้วยคาบ 8,16,32 และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ช่วงการเพิ่มของค่า r ที่ส่งผลให้คาบวงรอบการแกว่งเพิ่มขึ้นจะลดลงอย่างรวดเร็ว สัดส่วนของระยะของค่าพารามิเตอร์ที่ทำให้มีการเพิ่มคาบ (หรือเรียก ช่วงระยะไบเฟอร์เคชัน) ที่อยู่ถัดกัน จะลู่เข้าหา ค่าคงที่ไฟเกนบอม (Feigenbaum constant) δ = 4.669 ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวนี้จะไม่ขึ้นกับค่าเริ่มต้นแต่อย่างใด
  • ที่ค่า r= 3.57 (โดยประมาณ) เป็นจุดที่ระบบเริ่มมีพฤติกรรมความอลวน ระบบจะไม่มีพฤติกรรมการแกว่งเป็นวงรอบดังค่า r ที่ผ่านมา แต่ระบบจะมีพฤติกรรมที่ไวต่อค่าเริ่มต้นซึ่งเป็นคุณลักษณะของความอลวน ความแตกต่างเพียงเล็กน้อยของค่าจำนวนประชากรเริ่มต้น จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของค่าประชากรในระยะยาว
  • ค่า r ระหว่าง 3.57 และ 4 มีหลายค่าที่ระบบมีพฤติกรรมความอลวน แต่ก็ยังมีค่า r บางค่าที่ระบบไม่แสดงพฤติกรรมความอลวน ตัวอย่างเช่น ที่ r ประมาณ 3.82 จะมีบางช่วงที่ระบบมีพฤติกรรมแกว่งเป็นวงรอบคาบ 3 และที่ค่า r สูงขึ้นเล็กน้อยจะแกว่งเป็นวงรอบคาบ 6, 12 และเพิ่มขึ้นตามลำดับ และจะมีบางช่วงที่มีการแกว่งเป็นคาบ 5 และอื่นๆ ซึ่งพฤติกรรมทั้งหมดนี้จะมีการแกว่งเป็นวงรอบ และไม่ขึ้นกับค่าเริ่มต้น
  • ที่ค่า r = 4 และมากกว่านั้น ค่าของระบบจะลู่ออก สำหรับทุกค่าเริ่มต้นใน [0,1]

แผนผังไบเฟอร์เคชัน (bifurcation diagram) ดังรูป แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมดังกล่าวข้างต้นนี้ โดยที่แกนนอนของแผนผังเป็น ค่า r และ แกนตั้งเป็นค่าจำนวนประชากร หรือค่าของระบบในระยะยาว

แผนผังไบเฟอร์เคชันนี้เป็น แฟร็กทัล ถ้าเราพิจารณาที่ค่า r = 3.82 ที่ระบบมีพฤติกรรมแกว่งเป็นวงรอบคาบ 3 เมื่อเราเลือกกิ่งหนึ่งใน 3 และขยายที่กิ่งนั้นเราจะเห็นภาพที่มีลักษณะเหมือนภาพเดิม

แม, ปลอจ, สต, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งก, ามภาษา, ในบทความน, . bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudaemplxcistik xngkvs Logistic Map epn aemp fngkchn thimi odemn aela ernc xyuinpriphumiediywkn phhunam niymichepntwxyangkhxngrabbphlwtimepnechingesnxyangngaythisamarthaesdngphvtikrrmkhwamxlwnid aemplxcistiknierimepnthiruckkwangkhwangcakphlngantiphimphkhxngnkchiwwithya orebirt emy Robert May aerkerimnn aemplxcistiknithuksrangkhunody piaexr frxngsw ewxhlsth Pierre Francois Verhulst ephuxepnaebbcalxngkarkracayprimanprachakrmnusy txmathuknaipichsahrb karephimprimanprachakrkhxngspichisxun phayitsphawaaewdlxmcakd echn xahar orkh aela xun sungaebbcalxngcamiphvtikrrmcakphlkhxng karsubphnthu khux canwnprachakr caephimkhundwyxtrathiaeprphntamcanwnprachakrinkhnann karkhadxahar khux canwnprachakrcaldlngdwyxtra thiaeprphntam canwnprachakrthisphaphaewdlxmnnsamarthrxngrbidinthangthvsdi lbxxkdwykhacanwnprachakrinkhnannaemplxcistik thi r 1 2 4 sungsamarthekhiyninrupsmkarthangkhnitsastrdngni x n 1 r x n 1 x n displaystyle qquad x n 1 rx n 1 x n odythi x n 0 1 displaystyle x n in left 0 1 right ichhmaythungprimanprachakr thipi n aela x0 hmaythungprimanprachakrerimtn thipi 0 r epncanwnbwk ichhmaythung khaphlrwmkhxngxtra karsubphnthu aela karkhadxaharphvtikrrmtamkha r aekikh aephnphngibefxrekhchn khxngaemplxcistik phvtikrrmkhxngrabb thikhapharamietxr r tang 0 r 1 displaystyle 0 leq r leq 1 prachakrcatayipcnhmdodyimkhunkbkhaerimtn odyrabbmicudtaytw fixed point ephiyngcudediywthi x 0 displaystyle x 0 sungepncudtaytwaebbdungdud attracting fixed point hrux eriykwa cuddudsb sink aeladungdudkhaerimtnthukkhain 0 1 1 lt r 3 displaystyle 1 lt r leq 3 rabbmicudtaytw 2 cudkhuxthi x 0 displaystyle x 0 aela x r 1 r displaystyle x r 1 r odythi x 0 displaystyle x 0 epncudtaytwaebbphlkxxk repelling fixed point hrux eriykwa cudkaenid source aela x r 1 r displaystyle x r 1 r epn cudtaytwaebbdungdud thikha r xyurahwang 1 thung 2 canwnprachakrcaluekhahakha r 1 r displaystyle r 1 r aelakhngtwxyangrwderw thikha r xyurahwang 2 aela 3 canwnprachakrcaerimaekwngkxnluekhahacuddudsb odymixtrakarluekhaepnechingesn thikha r ethakb 3 xtrakarluekhacachakwaxtrathiepnechingesn 3 lt r 1 6 displaystyle 3 lt r leq 1 sqrt 6 praman 3 45 canwnprachakrcamikhaaekwngslbrahwangkha 2 kha sung 2 khanikhunkbkha r aetimkhunkbkhaerimtn sungkkhux rabbmicudwngrxbkhab 2 aebbdungdud hrux cuddudsbaebbwngrxbkhab2 1 6 lt r lt 3 54 displaystyle 1 sqrt 6 lt r lt 3 54 odypraman canwnprachakrcamikhaaekwngslbrahwangkha 4 kha imkhunkbkherimtn sungkkhux rabbmicuddudsbaebbwngrxbkhab 4 emuxkha r mikhaephimmakkwa 3 54 canwnprachakrcamikhaaekwngslb epnwngrxbdwykhab 8 16 32 aelaephimkhuneruxy chwngkarephimkhxngkha r thisngphlihkhabwngrxbkaraekwngephimkhuncaldlngxyangrwderw sdswnkhxngrayakhxngkhapharamietxrthithaihmikarephimkhab hruxeriyk chwngrayaibefxrekhchn thixyuthdkn caluekhaha khakhngthiifeknbxm Feigenbaum constant d 4 669 sungphvtikrrmdngklawnicaimkhunkbkhaerimtnaetxyangid thikha r 3 57 odypraman epncudthirabberimmiphvtikrrmkhwamxlwn rabbcaimmiphvtikrrmkaraekwngepnwngrxbdngkha r thiphanma aetrabbcamiphvtikrrmthiiwtxkhaerimtnsungepnkhunlksnakhxngkhwamxlwn khwamaetktangephiyngelknxykhxngkhacanwnprachakrerimtn camiphltxkarepliynaeplngkhxngkhaprachakrinrayayaw kha r rahwang 3 57 aela 4 mihlaykhathirabbmiphvtikrrmkhwamxlwn aetkyngmikha r bangkhathirabbimaesdngphvtikrrmkhwamxlwn twxyangechn thi r praman 3 82 camibangchwngthirabbmiphvtikrrmaekwngepnwngrxbkhab 3 aelathikha r sungkhunelknxycaaekwngepnwngrxbkhab 6 12 aelaephimkhuntamladb aelacamibangchwngthimikaraekwngepnkhab 5 aelaxun sungphvtikrrmthnghmdnicamikaraekwngepnwngrxb aelaimkhunkbkhaerimtn thikha r 4 aelamakkwann khakhxngrabbcaluxxk sahrbthukkhaerimtnin 0 1 aephnphngibefxrekhchn bifurcation diagram dngrup aesdngihehnthungphvtikrrmdngklawkhangtnni odythiaeknnxnkhxngaephnphngepn kha r aela aekntngepnkhacanwnprachakr hruxkhakhxngrabbinrayayawaephnphngibefxrekhchnniepn aefrkthl thaeraphicarnathikha r 3 82 thirabbmiphvtikrrmaekwngepnwngrxbkhab 3 emuxeraeluxkkinghnungin 3 aelakhyaythikingnneracaehnphaphthimilksnaehmuxnphaphedim ekhathungcak https th wikipedia org w index php title aemplxcistik amp oldid 9348293, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม