fbpx
วิกิพีเดีย

ชัยปุระ

ชัยปุระ (ฮินดี: जयपुर, อักษรโรมัน: Jaipur) เป็นเมืองหลักของรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย และยังเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศอินเดีย (3.1 ล้านคน) ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1727 โดยมหาราชาสวาอี ชัยสิงห์ที่ 2" เจ้าครองนครอาเมร์ (Amer) ในปัจจุบันชัยปุระยังเป็นที่รู้จักกันดีในอินเดียว่า "นครสีชมพู"

ชัยปุระ

जयपुर

Jaipur
เมืองหลัก
ตามเข็มนาฬิกาจากด้านบน: จาลมาฮาล, พิรลามนเทียร, พิพิธภัณฑ์แอลเบิร์ท ฮอลล์, ฮาวามาฮาล, ชันตรมันตร์
สมญา: 
นครสีชมพู
ชัยปุระ
พิกัดภูมิศาสตร์: 26°55′34″N 75°49′25″E / 26.9260°N 75.8235°E / 26.9260; 75.8235พิกัดภูมิศาสตร์: 26°55′34″N 75°49′25″E / 26.9260°N 75.8235°E / 26.9260; 75.8235
ประเทศอินเดีย
รัฐราชสถาน
อำเภอชัยปุระ
พื้นที่
 • ทั้งหมด111.8 ตร.กม. (43.2 ตร.ไมล์)
ความสูง431 เมตร (1,414 ฟุต)
ประชากร
 (2011)
 • ทั้งหมด3,073,350 คน
 • อันดับ10th
 • ความหนาแน่น27,000 คน/ตร.กม. (71,000 คน/ตร.ไมล์)
 
ภาษา
 • ราชการฮินดี ราชสถาน ปัญจาบ
เขตเวลาUTC+5:30 (IST)
ทะเบียนพาหนะRJ-14
เว็บไซต์www.jaipur.nic.in

เมืองแห่งนี้ขึ้นชื่อในด้านการเป็นเมืองอินเดียในยุคก่อนสมัยใหม่ ซึ่งมีขนาดความถนนค่อนข้างกว้างและผังเมืองอันเป็นระเบียบเรียบร้อยแบ่งเป็นช่องตารางจำนวน 6 เขต ซึ่งกั้นโดยถนนที่มีความกว้างกว่า 34 เมตร บริเวณใจกลางเมืองแบ่งผังเมืองเป็นตารางพร้อมถนนล้อมรอบสี่ด้าน โดยแบ่งเป็นห้าเขตล้อมทางด้านทิศตะวันออก ทิศใต้ และทิศตะวันตก (เขตพระราชวัง) และเขตที่หกตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก บริเวณเขตพระราชวังประกอบด้วย หมู่พระราชมณเทียรฮาวามาฮาล (Hawa Mahal) สวนสาธารณะ และทะเลสาบขนาดเล็ก ยังมีป้อมนาฮาการ์ (Nahargarh Fort) ซึ่งเป็นที่พระราชวังที่ประทับของมหาราชาสวาอี (ชัยสิงห์ที่ 2) ตั้งอยู่บนเชิงเขาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเขตเมืองเก่า และยังมีหอดูดาวจันตาร์ มันตาร์ (Jantar Mantar) ซึ่งได้รับการคัดเลือกเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก

ชัยปุระตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมทองคำของการท่องเที่ยวของอินเดียร่วมกับ เดลี และอัครา ชัยปุระเป็นเมืองที่มีการท่องเที่ยวมากที่สุดแห่งหนึ่งของรัฐราชสถานในปัจจุบัน

ประวัติ

 
ถนนสายหลักในชัยปุระ ราวปีค.ศ. 1875

ชัยปุระยุคใหม่นั้นก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1727 โดยวิสัยทัศน์อันกว้างไกลของมหาราชาสวาอี ชัยสิงห์ที่ 2 แห่งอาเมร์ ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากราชปุตราชวงศ์กาญจวาหา (Kachchwaha) ซึ่งปกครองระหว่างปีค.ศ. 1699 - ค.ศ. 1744 ซึ่งปกครองที่เมืองหลวงชื่อว่า "อาเมร์" (Amber) ตั้งอยู่ห่างจากชัยปุระเป็นระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร โดยเหตุผลในการย้ายเมืองหลวงนั้นเนื่องจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ซึ่งตามมาด้วยการขาดแคลนแหล่งน้ำที่รุนแรงมากขึ้น พระองค์ได้ทรงศึกษาตำราสถาปัตยกรรมมากมาย พร้อมทั้งที่ปรึกษาต่างๆก่อนจะทำผังเมืองของชัยปุระ ในที่สุด ด้วยความช่วยเหลือของสถาปนิกคนสำคัญคือ "วิทยาธร ภัตตาจารย์" (Vidyadhar Bhattacharya) ปราชญ์วรรณะพราหมณ์จากเบงกอล ซึ่งต่อมาได้เป็นหัวหน้าสถาปนิกของมหาราชา ซึ่งช่วยวางแผนและออกแบบอาคารต่างๆ รวมถึงพระราชวังหลวงใจกลางเมือง พร้อมทั้งกำแพงเมืองอย่างหนาแน่นที่เกิดขึ้นภายหลังสงครามกับจักรวรรดิมราฐา นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นผู้ที่รักทางด้านดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ทำให้ชัยปุระนั้นเกิดขึ้นได้อย่างสำเร็จด้วยองค์ประกอบสถาปัตยกรรมตามหลักของวัสดุศาสตร์ (Vastu Shastra) และหลักจากตำราอื่นๆ

การสร้างเมืองเริ่มขึ้นอย่างจริงจังในปีค.ศ. 1727 ใช้เวลาการสร้างกว่า 4 ปีในการสร้างพระราชวัง ถนน และจัตุรัสต่างๆ โดยการสร้างเมืองนี้นั้นอิงจากหลักในตำราศิลปศาสตร์ (Shilpa Shastra) ซึ่งเป็นศาตร์แห่งสถาปัตยกรรมของอินเดีย โดยแบ่งผังเมืองออกเป็น 9 ส่วนเท่าๆกันอย่างตารางหมากรุก โดยสองส่วนเป็นที่ตั้งของพระราชวังต่างๆ และสถานที่ราชการต่างๆ ส่วนที่เหลืออีก 7 ส่วนนั้นสำหรับประชาชนทั่วไป รอบเมืองถูกล้อมด้วยปราการอย่างแน่นหนาโดยเข้าออกผ่านทางประตูเมืองทั้ง 7 แห่งโดยรอบ

ในปีค.ศ. 1876 ในรัชสมัยของมหาราชาสวาอี ราม สิงห์ (Sawai Ram Singh) ได้มีพระบัญชาให้ทาสีอาคารบ้านเรือนต่างๆในเมืองเป็นสีชมพูเพื่อเป็นการต้อนรับเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ในคราที่เสด็จเยือนชัยปุระอย่างเป็นทางการ ซึ่งสีชมพูนั้นก็ยังคงไว้จนถึงปัจจุบันและได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์อันโดดเด่นของชัยปุระจนทุกวันนี้ ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชัยปุระได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยในปีค.ศ. 1900 ประชากรทั้งหมดมีประมาณ 160,000,000,000 คน ได้มีการปูพื้นถนนด้วยปูน และยังมีโรงพยาบาลหลายแห่ง อุตสาหกรรมหลักได้แก่ โลหะ และหินอ่อน

สภาพภูมิอากาศ

แผนภูมิแสดงสภาพภูมิอากาศของ
ชัยปุระ (จัยปูร์) (วิธีอ่าน)
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
 
 
8
 
23
8
 
 
12
 
26
11
 
 
6
 
32
16
 
 
4
 
37
21
 
 
16
 
40
25
 
 
66
 
40
27
 
 
216
 
34
26
 
 
231
 
32
24
 
 
80
 
33
23
 
 
23
 
33
19
 
 
3
 
29
13
 
 
3
 
24
9
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาเซลเซียส
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นมิลลิเมตร
ที่มา: India Weather On Web
แสดงข้อมูลเป็นมาตราอังกฤษ
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
 
 
0.3
 
73
46
 
 
0.5
 
79
52
 
 
0.2
 
90
61
 
 
0.2
 
99
70
 
 
0.6
 
104
77
 
 
2.6
 
104
81
 
 
8.5
 
93
79
 
 
9.1
 
90
75
 
 
3.1
 
91
73
 
 
0.9
 
91
66
 
 
0.1
 
84
55
 
 
0.1
 
75
48
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาฟาเรนไฮต์
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นนิ้ว

ชัยปุระ ตั้งอยู่ในเขตภูมิอากาศร้อนกึ่งแห้งแล้ง (Hot semi-arid climate) มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 650 มิลลิเมตร (26 นิ้ว) ต่อปี โดยส่วนใหญ่ฝนตกในฤดูมรสุมในระหว่างเดือนมิถุนายนถึงกันยายน อุณหภูมิเฉลี่ยนั้นค่อนข้างสูงตลอดทั้งปี ฤดูร้อนอยู่ระหว่างเดือนเมษายนจนถึงต้นเดือนกรกฎาคมซึ่งมักจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย 30 องศาเซลเซียส (86 องศาฟาเรนไฮต์) ในฤดูมรสุม มักจะมีผนตกหนักและฟ้าคะนองกระจาย แต่มักจะไม่พบอุทกภัยเกิดขึ้น ในฤดูหนาวระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์นั้นมีอากาศเย็นสบาย อุณหภูมิเฉลี่ยตั้งแต่ 15 องศาเซลเซียส (59 องศาฟาเรนไฮต์)-18 องศาเซลเซียส (64 องศาฟาเรนไฮต์) และมีอัตราความชื้นต่ำหรือแทบไม่มีเลย อย่างไรก็ตามยังพบคลื่นความเย็นเป็นครั้งคราวที่อาจลดอุณหภูมิลงเกือบถึงศูนย์องศาได้

ข้อมูลภูมิอากาศของชัยปุระ (จัยปูร์)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 30
(86)
32
(90)
40
(104)
43
(109)
45
(113)
43
(109)
46
(115)
39
(102)
39
(102)
38
(100)
37
(99)
32
(90)
46
(115)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 23
(73)
26
(79)
32
(90)
37
(99)
40
(104)
40
(104)
34
(93)
32
(90)
33
(91)
33
(91)
29
(84)
24
(75)
31.9
(89.5)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 8
(46)
11
(52)
16
(61)
21
(70)
25
(77)
27
(81)
26
(79)
24
(75)
23
(73)
19
(66)
13
(55)
9
(48)
18.5
(65.3)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 1
(34)
0
(32)
5
(41)
12
(54)
17
(63)
21
(70)
16
(61)
20
(68)
19
(66)
10
(50)
6
(43)
3
(37)
0
(32)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 8
(0.31)
12
(0.47)
6
(0.24)
4
(0.16)
16
(0.63)
66
(2.6)
216
(8.5)
231
(9.09)
80
(3.15)
23
(0.91)
3
(0.12)
3
(0.12)
668
(26.3)
แหล่งที่มา: BBC Weather

ลักษณะประชากร

การนับถือศาสนา
ศาสนา เปอร์เซ็นต์
ฮินดู
  
77%
มุสลิม
  
17%
เชน
  
4%
อื่นๆ†
  
1.5%
คริสต์
  
.50%
อัตราการนับถือแบ่งตามศาสนา
ได้แก่ ซิกข์ (0.5%), พุทธ (<0.5%).

จากการสำรวจสำมะโนประชากรในปีค.ศ. 2011 ชัยปุระมีประชากรทั้งหมดรวม 3,073,350 คน อาศัยในเขตเมือง 3,646,590 คน ซึ่งถือเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศอินเดีย ประชากรนับถือศาสนาฮินดู ร้อยละ 77, มุสลิม ร้อยละ 17, เชน ร้อยละ 4, คริสต์ ร้อยละ 0.5, และซิกข์ ร้อยละ 0.5

ประชากรร้อยละ 47.49 อาศัยในบริเวณนอกเมือง และร้อยละ 52.51 อยู่ในเขตเมือง อัตราการรู้หนังสือเฉลี่ยของอำเภอชัยปุระคือร้อยละ 76.44 แบ่งเป็นชายร้อยละ 87.27 และหญิงร้อยละ 64.63 ส่วนการแบ่งตามเพศนั้นชัยปุระมีจำนวนประชากรเพศหญิง 898 คน ต่อประชากรชาย 1,000 คน

ภาษาหลักที่ใช้สื่อสารในชัยปุระได้แก่ ภาษาฮินดีและภาษาราชสถาน นอกจากนี้ยังมีการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาปัญจาบอีกด้วย และจากรายงานในปี ค.ศ. 2009 สำนักงานอาชญากรรมแห่งชาติ (NCRB-National Crime Records Bureau) ระบุว่า ชัยปุระเป็นเมืองที่อัตราการเกิดอาชญากรรมมากเป็นอันดับที่ 3 ของเมืองในประเทศอินเดียที่มีขนาดประชากรเกินกว่า 1 ล้านคน

การคมนาคม

ประตูทางเข้าเมือง
ทางด่วนสาย Jaipur Kishangarh
Jaipur BRTS
สนามบินนานาชาติชัยปุระ

ทางบก

ทางหลวงหมายเลข 8 เชื่อมระหว่างเดลี กับมุมไบ, ทางหลวงหมายเลข 12 เชื่อมระหว่างเมืองโกตา อำเภอบาราน และทางหลวงหมายเลข 11 ซึ่งเชื่อมระหว่างบิคาแนร์ กับอัครา โดยผ่านที่ชัยปุระ โดยมีความยาวรวมทั้งสิ้น 366 กิโลเมตร

บริษัท Rajasthan State Road Transport Corporation (RSRTC) เป็นผู้ดูแลการเดินรถประจำทางระหว่างเมืองระหว่างรัฐราชสถาน กับนิวเดลี, รัฐอุตตรประเทศ, รัฐมัธยประเทศ, รัฐหรยาณา และรัฐคุชราต

รถประจำทาง

รถประจำทางภายในเมือง (City bus) นั้นให้บริการโดย Jaipur City Transport Services Limited (JCTSL) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rajasthan State Road Transport Corporation (RSRTC) ซึ่งเป็นหนึ่งของบริษัทที่จัดตั้งขึ้นในกรอบความร่วมมือ "Jawaharlal Nehru National Urban Renewal Mission" หรือ (JnNURM) โดยให้บริการรถประจำทางมากกว่า 300 คัน โดยมีสถานีหลักจำนวน 3 แห่ง ได้แก่ สถานี Vaishali Nagar, สถานี Vidyadhar Nagar และสถานี Sanganer

รถประจำทางด่วนพิเศษ (BRTS)

โครงการ BRTS หรือ Bus Rapid Transit Service ได้รับการอนุมัติจากรัฐบาลในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2006 โดยให้ Jaipur City Transport Services Limited (JCTSL) เป็นผู้รับสัมปทานการบริหารการเดินรถ

ทางอากาศ

สนามบินนานาชาติชัยปุระ (Jaipur International Airport) ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 10 กิโลเมตร ซึ่งให้บริการทั้งสายการบินภายในประเทศ และนานาชาติ โดยแบ่งเป็นเทอร์มินัล 1 ใช้สำหรับสายการบินระหว่างประเทศ และในประเทศ ในขณะที่เทอร์มินัล 2 นั้นใช้สำหรับสายการบินภายในประเทศเท่านั้น ในปัจจุบันอาคารเทอร์มินัล 1 นั้นปิดให้บริการเนื่องจากอยู่ในระหว่างโครงการปรับปรุง โดยใช้เทอร์มินัล 2 แทนอย่างเต็มรูปแบบ ในปีค.ศ. 2009 - 2010 สนามบินนานาชาติชัยปุระต้อนรับนักท่องเที่ยวแบ่งเป็นต่างประเทศจำนวน 255,704 คน และทั้งหมด 1,267,876 คน ในฤดูหนาวสนามบินแห่งนี้มักเป็นสนามบินสำรองที่ใช้รับเครื่องบินจากสนามบินนานาชาติอินทิรา คานธี เนื่องจากมักจะมีหมอกลงค่อนข้างหนาเป็นประจำในเดลี

ทางรถไฟ

ชัยปุระนั้นสามารถเดินทางได้โดยมีรถไฟหลายสายที่เชื่อมต่อกับกรุงเดลี และอีกหลายๆเมืองในรัฐราชสถาน

รถไฟใต้ดิน

โครงข่ายรถไฟใต้ดินของชัยปุระนั้นในปัจจุบันยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยมีแผนจะแล้วเสร็จในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013 โดยมีชื่อเรียกว่า "ชัยปุระ เมโทร" (Jaipur Metro) โดยระบบรถไฟใต้ดินของชัยปุระนี้ถือเป็นแห่งที่ 4 ของประเทศอินเดีย ภายหลังโกลกาตา เดลี และบังกาลอร์ ประกอบด้วยทางรถไฟใต้ดินทั้งหมด 2 สาย มีความยาวรวมทั้งสิ้น 32.5 กิโลเมตร จำนวน 29 สถานี

สถานที่ท่องเที่ยว

ชัยปุระเป็นหนึ่งในเมืองที่มีการท่องเที่ยวมากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศอินเดีย ในปีค.ศ. 2008 ได้มีการสำรวจโดย Conde Nast Traveller ซึ่งชัยปุระได้ติดอันดับที่เจ็ดของเมืองที่น่าท่องเที่ยวที่สุดในเอเชีย

นอกจากนี้ ชัยปุระ ยังเป็นที่ตั้งของห้องสูทอันหรูหราในโรงแรมที่แพงติดอันดับที่ 2 จากทั้งหมด 15 อันดับของโลก (World's 15 most expensive hotel suites) ซึ่งเป็นห้อง Presidential Suite ของโรงแรมรัช พาเลซ (Raj Palace Hotel) ด้วยราคากว่า US$45,000 ต่อคืน ซึ่งจัดอันดับโดย CNN Go ในปีค.ศ. 2012

ซิตี้พาเลส

ดูบทความหลักที่: ซิตี้พาเลส (ชัยปุระ)
 
จันทรา มาฮาล ในพระราชวังซิตี้พาเลส

พระราชวังซิตี้พาเลส เป็นพระราชวังอันเป็นที่ประทับของมหาราชาแห่งชัยปุระ เป็นที่ตั้งของหมู่พระที่นั่งสำคัญๆ ได้แก่ "พระที่นั่งจันทรา มาฮาล" และ"พระที่นั่งมูบารัก มาฮาล" สร้างขึ้นในระหว่างปีค.ศ. 1729 - ค.ศ. 1732 ในรัชสมัยของมหาราชาสะหวายจัย สิงห์ที่ 2 จากนั้นต่อมาก็ได้รับการดูแลต่อเติมโดยมหาราชาของชัยปุระในรัชการต่อๆมา ที่สำคัญตอนเริ่มก่อสร้างพระราชวัง ยังอยู่ในช่วงที่ราชวงศ์โมกุลเข้ามามีอิทธิพลต่อรัฐราชสถานแล้ว สถาปัตยกรรมจึงมีการออกแบบอย่างผสมผสานระหว่างแบบราชปุตกับโมกุล นอกจากนี้การออกแบบพื้นที่ใช้สอยอาคารอย่างลงตัว ไม่แน่นทึบ และมีทางเดินกว้างขวาง ซึ่งถือเป็นความน่าสนใจแห่งหนึ่งจากพระราชวังแห่งนี้ โดยปัจจุบันพระราชวังซิตี้พาเลสได้เปิดให้เข้าชมเป็นพิพิธภัณฑ์สะหวายมาน สิงห์ (Sawai Man Singh Museum)

ป้อมนหาร์ครห์

ดูบทความหลักที่: ป้อมนหาร์ครห์
 
แนวกำแพงของป้อมนหาร์การห์

ป้อมนหาร์ครรห์ (อังกฤษ: Nahargarh Fort) หรือรู้จักกันดีในชื่อว่า "ป้อมเสือ" (Tiger Fort) เป็นป้อมปราการที่สามารถมองเห็นได้จากใจกลางเมืองชัยปุระ สร้างในปีค.ศ. 1734 ในรัชสมัยของมหาราชาสะหวายจัย สิงห์ที่ 2 เพื่อช่วยคุ้มครองป้องกันพระนครจากการรุกรานของข้าศึก ในปัจจุบันด้านบนยังหลงเหลือตำหนักเก่าให้ชมอยู่บ้าง

ฮาวามาฮาล

ดูบทความหลักที่: ฮาวามาฮาล
 
ฮาวามาฮาล และหน้าต่างฉลุอันมากมายอันเป็นสัญลักษณ์ของชัยปุระ

ฮาวา มาฮาล (ฮินดี: हवा महल, อังกฤษ: Hawa Mahal, แปลว่า: "พระราชวังแห่งสายลม") เป็นหนึ่งในตำหนักสำคัญของซิตี้พาเลส สร้างในปีค.ศ. 1799 โดยมหาราชาสะหวาย ประธาป สิงห์ (Maharaja Sawai Pratap Singh) ออกแบบโดยลาล ชันด์ อุสถัด (Lal Chand Ustad) โดยถอดแบบมาจากรูปทรงของมงกุฏของพระนารายณ์ โดยมีความโดดเด่นที่บริเวณด้านหน้าบันทาสีชมพูสวยงามมีความสูงห้าชั้นและมีลักษณะซ้อนกันคล้ายรังผึ้งประกอบไปด้วยหน้าต่างขนาดเล็กตกแต่งด้วยลวดลายฉลุเป็นช่องลมจำนวน 953 บาน จนเป็นที่มาของชื่อว่า "พระราชวังแห่งสายลม" โดยลายฉลุนั้นมีไว้เพื่อนางในวังสามารถมองทะลุออกมาเห็นชีวิตภายนอกบนท้องถนนได้โดยไม่มีใครสังเกตเห็นจากด้านนอกนั่นเอง

จาลมาฮาล

ดูบทความหลักที่: จาลมาฮาล
 
พระราชวังกลางน้ำชลมหัล

จาล มาฮาล (ฮินดี: जल महल, อังกฤษ: Jal Mahal) พระราชวังกลางน้ำซึ่งตั้งเด่นสง่าอยู่กลางทะเลสาบมันสกา (Man Sagar) ใกล้กับชัยปุระ โดยพระราชวังแห่งนี้และทิวทัศน์ของทะเลสาบโดยรอบถูกต่อเติมและปรับปรุงโดยมหาราชา สะหวาย จัย สิงห์ที่ 2 ตัวพระราชวังนั้นสร้างได้อย่างสวยงามตามสถาปัตยกรรมราชปุตและโมกุล ซึ่งสามารถพบได้ทั่วไปในสิ่งก่อสร้างในรัฐราชสถาน โดยพระราชวังนี้นั้นมีความสวยงามเนื่องจากสถานที่ตั้งอยู่กลางทะเลสาบและโดยมีเทือกเขานหาร์การห์ตั้งอยู่เบื้องหลัง ตัวอาคารสร้างโดยใช้หินทรายสีแดง ประกอบด้วยทั้งหมด 5 ชั้นซึ่ง 4 ชั้นล่างจะถูกน้ำท่วมเมื่อทะเลสาบมีระดับน้ำสูงสุด โดยเหลือเพียงชั้นบนสุดซึ่งจะเผยขึ้นมาเหนือน้ำ ฉัตรีซึ่งเป็นยอดหลังคาทรงสี่เหลี่ยมนั้นสร้างในแบบสถาปัตยกรรมเบงกอล ส่วนฉัตรีบริเวณสี่มุมของอาคารนั้นเป็นทรงแปดเหลี่ยม เนื่องจากตั้งอยู่ในน้ำเป็นเวลาอันยาวนานทำให้ฐานของพระราชวังนั้นเริ่มทรุดโทรมลงเนื่องจากกระแสน้ำและน้ำท่วม โดยล่าสุดได้มีโครงการบูรณะครั้งใหญ่ซึ่งยังอยู่ในระหว่างการดำเนินการโดยรัฐบาลรัฐราชสถาน

ชันตรมันตระ

ดูบทความหลักที่: ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)
 
นาฬิกาแดด หนึ่งในเครื่องมือทางดาราศาสตร์ที่ชันตรมันตร์ ที่มีความแม่นยำถึง 2 วินาทีจากเวลาท้องถิ่น

ชันตรมันตร์ (อังกฤษ: Jantar Mantar) เป็นหอดูดาวที่รวบรวมเครื่องมือทางดาราศาสตร์ชิ้นสำคัญและทันสมัยที่สุดในยุคนั้น สร้างโดยมหาราชาสะหวาย จัย สิงห์ ซึ่งเป็นทั้งกษัตริย์แห่งแอมแมร์และชัยปุระ และยังเป็นแม่ทัพใหญ่ของจักรวรรดิโมกุล โดยสถานที่แห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก ในปีค.ศ. 2010

ป้อมชัยคฤห์

ดูบทความหลักที่: ป้อมชัยคฤห์
 
ป้อมจัยการห์

ป้อมชัยคฤห์ (ราชสถาน/ฮินดี: जयगढ़ क़िला, อังกฤษ: Jaigarh Fort) ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขา"ชีลกาทีลา" ใกล้กับป้อมแอมแมร์ โดยตั้งอยู่บนยอดที่สูงกว่าป้อมแอมแมร์ ชานเมืองชัยปุระ ในรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย สร้างโดยมหาราชาสะหวายจัย สิงห์ที่ 2 ในปีค.ศ. 1726 เพื่อใช้อารักขาป้อมแอมแมร์และพระราชวังแอมแมร์ซึ่งตั้งอยู่เบื้องล่างซึ่งภายเป็นพระราชฐานของมหาราชา ป้อมปราการแห่งนี้สร้างในแบบสถาปัตยกรรมเดียวกับป้อมแอมแมร์ โดยใช้หินทรายสีแดงเป็นวัตถุดิบหลักในการก่อสร้าง ภายในกำแพงเมืองมีพระตำหนักที่ประทับ และสิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมทั้งบ่อเก็บน้ำอีกด้วย

ป้อมแอมแมร์

ดูบทความหลักที่: ป้อมแอมแมร์

ป้อมแอมแมร์ (ฮินดี: आमेर क़िला, อังกฤษ: Amer Fort) หรือ ป้อมแอมเบอร์ (Amber Fort) ตั้งอยู่ที่เมืองแอมแมร์ รัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย (เป็นเมืองเล็กๆที่มีขนาดเพียง 4 ตารางกิโลเมตร (1.5 ตารางไมล์)) ห่างจากชัยปุระเป็นระยะทาง 11 กิโลเมตร (6.8 ไมล์) ป้อมแอมแมร์นั้นเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของชัยปุระ โดยที่ตั้งนั้นโดดเด่นอยู่บนผาหิน สร้างโดยมหาราชามาน สิงห์ที่ 1 ป้อมปราการแห่งนี้มีชื่อเสียงทางด้านสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ซึ่งผสมผสานกันระหว่างศิลปะฮินดูและศิลปะราชปุต สามารถมองเห็นได้จากระยะทางไกลเนื่องจากมีขนาดกำแพงปราการที่ใหญ่และแน่นหนา พร้อมประตูทางเข้าหลายแห่ง ถนนที่ปูด้วยหินหลายสาย ซึ่งเมื่ออยู่บนป้อมแล้วสามารถมองเห็นทะเลสาบเมาตาได้อย่างชัดเจนบริเวณด้านหน้า

 
ภูมิทัศน์ของป้อมแอมแมร์ยามรุ่งอรุณ


เมืองพี่น้อง

เมืองที่เป็นเมืองพี่น้อง (Sister cities) ของชัยปุระ ได้แก่:


อ้างอิง

  1. "Provisional Population Totals, Census of India 2011; Cities having population 1 lakh and above" (PDF). Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 26 March 2012.
  2. "The Jantar Mantar, Jaipur – UNESCO World Heritage Centre". Whc.unesco.org. 31 July 2010. สืบค้นเมื่อ 1 September 2010.
  3. "History – British History in depth: Edward VII: The First ConstitutionaMonarch". BBC. 5 November 2009. สืบค้นเมื่อ 26 July 2010.
  4. "World Weather Information Service". สืบค้นเมื่อ 11 December 2009.
  5. "Crime Report 2009" (PDF). สืบค้นเมื่อ 28 March 2011.
  6. "JCSTL Website". Jaipurbus.com. สืบค้นเมื่อ 28 March 2011.
  7. "BRTS – JDA Website". Jaipurjda.org. สืบค้นเมื่อ 28 March 2011.
  8. "Jaipur International Airport". สืบค้นเมื่อ 19 February 2011.
  9. "Flights diverted to Jaipur". Chennai, India: The Hindu. 18 February 2011. สืบค้นเมื่อ 19 February 2011.
  10. "Jaipur Seventh Best Tourist Destination in Asia – Conde Nast Traveller Survey". Bharatonline.com. สืบค้นเมื่อ 28 March 2011.
  11. Arnold, Helen "World's 15 most expensive hotel suites" CNN Go. 25 March 2012. Retrieved 2012-04-11
  12. Rai, Vinay (2007). Think India: the rise of the world's next superpower and what it means for every American. Hawa Mahal. Dutton. p. 194. ISBN 0-525-95020-6. สืบค้นเมื่อ 2009-12-06. Unknown parameter |coauthor= ignored (|author= suggested) (help)
  13. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ rediff
  14. Brown, Lindsay (2008). Rajasthan, Delhi and Agra. Goitare and Jal Mahal. Lonely Planet. p. 160. ISBN 1-74104-690-4, 9781741046908 Check |isbn= value: invalid character (help). สืบค้นเมื่อ 2009-09-13. Unknown parameter |coauthor= ignored (|author= suggested) (help)
  15. "The Jantar Mantar, Jaipur - UNESCO World Heritage Centre". Whc.unesco.org. 2010-07-31. สืบค้นเมื่อ 2013-04-11.
  16. Pippa de Bruyn; Keith Bain; David Allardice (1 March 2010). Frommer's India. Frommer's. pp. 521–522. ISBN 978-0-470-55610-8. สืบค้นเมื่อ 16 April 2011. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help) อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "BruynBain2010" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  17. D. Fairchild Ruggles (2008). Islamic gardens and landscapes. University of Pennsylvania Press. pp. 205–206. ISBN 978-0-8122-4025-2. สืบค้นเมื่อ 16 April 2011.
  18. "Jaigarh Fort – Jaipur, India". cs.utah.edu. สืบค้นเมื่อ 14 April 2011.
  19. Outlook Publishing (1 December 2008). Outlook. Outlook Publishing. pp. 39–. สืบค้นเมื่อ 18 April 2011.
  20. Mancini, Marc (1 February 2009). Selling Destinations: Geography for the Travel Professional. Cengage Learning. p. 539. ISBN 978-1-4283-2142-7. สืบค้นเมื่อ 19 April 2011.
  21. Abram, David (15 December 2003). Rough guide to India. Rough Guides. p. 161. ISBN 978-1-84353-089-3. สืบค้นเมื่อ 19 April 2011.
  22. "Amer Fort". Government of India. สืบค้นเมื่อ 31 December 2011.
  23. "Amer Palace". Rajasthan Tourism: Government of India. สืบค้นเมื่อ 31 March 2011.
  24. "Amer Fort". iloveindia.com. สืบค้นเมื่อ 2011-02-23.
  25. "City of Fremont's Sister Cities".
  26. "City of Calgary's Sister Cities".

ดูเพิ่ม


  • Bhatt, Kavi Shiromani; Shastry, Mathuranath (1948). Jaipur Vaibhawam (History of Jaipur witten in Sanskrit). Re-published in 2002 by Kalanath Shastry, Manjunath Smriti Sansthan, Jaipur.
  • Khangarot, R.S., Nathawat, P.S. (1990) Jaigarh- The Invincible Fort of Amber. RBSA Publishers, Jaipur.
  • Sachdev, Vibhuti; Tillotson, Giles Henry Rupert (2002). Building Jaipur: The Making of an Indian City. Reaktion Books, London. ISBN 1-86189-137-7.
  • Sarkar, Jadunath (1984). A History of Jaipur. Orient Longman Limited, New Delhi. ISBN 81-250-0333-9.
  • Volwahsen, Andreas (2001). Cosmic Architecture in India: The Astronomical Monuments of Maharaja Jai Singh II, Prestel Mapin, Munich.
  • "Jaipur City (or Jainagar)". The Imperial Gazetteer of India. 1909. pp. 399–402.

ดูเพิ่ม


ยป, ระ, นด, जयप, กษรโรม, jaipur, เป, นเม, องหล, กของร, ฐราชสถาน, ประเทศอ, นเด, และย, งเป, นเม, องท, จำนวนประชากรมากเป, นอ, นด, บท, ของประเทศอ, นเด, านคน, อต, งเม, พฤศจ, กายน, 1727, โดยมหาราชาสวาอ, ยส, งห, เจ, าครองนครอาเมร, amer, ในป, จจ, นย, งเป, นท, กก, นด, . chypura hindi जयप र xksrormn Jaipur epnemuxnghlkkhxngrthrachsthan praethsxinediy aelayngepnemuxngthimicanwnprachakrmakepnxndbthi 10 khxngpraethsxinediy 3 1 lankhn kxtngemux 17 phvscikayn kh s 1727 odymharachaswaxi chysinghthi 2 ecakhrxngnkhrxaemr Amer inpccubnchypurayngepnthiruckkndiinxinediywa nkhrsichmphu chypuraजयप रJaipuremuxnghlktamekhmnalikacakdanbn calmahal phirlamnethiyr phiphithphnthaexlebirth hxll hawamahal chntrmntrsmya nkhrsichmphuchypuraphikdphumisastr 26 55 34 N 75 49 25 E 26 9260 N 75 8235 E 26 9260 75 8235 phikdphumisastr 26 55 34 N 75 49 25 E 26 9260 N 75 8235 E 26 9260 75 8235praethsxinediyrthrachsthanxaephxchypuraphunthi thnghmd111 8 tr km 43 2 tr iml khwamsung431 emtr 1 414 fut prachakr 2011 thnghmd3 073 350 khn xndb10th khwamhnaaenn27 000 khn tr km 71 000 khn tr iml 1 phasa rachkarhindi rachsthan pycabekhtewlaUTC 5 30 IST thaebiynphahnaRJ 14ewbistwww wbr jaipur wbr nic wbr inemuxngaehngnikhunchuxindankarepnemuxngxinediyinyukhkxnsmyihm sungmikhnadkhwamthnnkhxnkhangkwangaelaphngemuxngxnepnraebiyberiybrxyaebngepnchxngtarangcanwn 6 ekht sungknodythnnthimikhwamkwangkwa 34 emtr briewnicklangemuxngaebngphngemuxngepntarangphrxmthnnlxmrxbsidan odyaebngepnhaekhtlxmthangdanthistawnxxk thisit aelathistawntk ekhtphrarachwng aelaekhtthihktngxyuthangthistawnxxk briewnekhtphrarachwngprakxbdwy hmuphrarachmnethiyrhawamahal Hawa Mahal swnsatharna aelathaelsabkhnadelk yngmipxmnahakar Nahargarh Fort sungepnthiphrarachwngthiprathbkhxngmharachaswaxi chysinghthi 2 tngxyubnechingekhathangthistawntkechiyngehnuxkhxngekhtemuxngeka aelayngmihxdudawcntar mntar Jantar Mantar sungidrbkarkhdeluxkepnmrdkolkodyxngkhkaryuensok 2 chypuratngxyubnsamehliymthxngkhakhxngkarthxngethiywkhxngxinediyrwmkb edli aelaxkhra chypuraepnemuxngthimikarthxngethiywmakthisudaehnghnungkhxngrthrachsthaninpccubn enuxha 1 prawti 2 sphaphphumixakas 3 lksnaprachakr 4 karkhmnakhm 4 1 thangbk 4 1 1 rthpracathang 4 1 2 rthpracathangdwnphiess BRTS 4 2 thangxakas 4 3 thangrthif 4 3 1 rthifitdin 5 sthanthithxngethiyw 5 1 sitiphaels 5 2 pxmnharkhrh 5 3 hawamahal 5 4 calmahal 5 5 chntrmntra 5 6 pxmchykhvh 5 7 pxmaexmaemr 6 emuxngphinxng 7 xangxing 8 duephim 9 duephimprawti aekikh thnnsayhlkinchypura rawpikh s 1875 chypurayukhihmnnkxtngkhuninpikh s 1727 odywisythsnxnkwangiklkhxngmharachaswaxi chysinghthi 2 aehngxaemr sungsubechuxsaymacakrachputrachwngskaycwaha Kachchwaha sungpkkhrxngrahwangpikh s 1699 kh s 1744 sungpkkhrxngthiemuxnghlwngchuxwa xaemr Amber tngxyuhangcakchypuraepnrayathangpraman 11 kiolemtr odyehtuphlinkaryayemuxnghlwngnnenuxngcakcanwnprachakrthiephimkhun sungtammadwykarkhadaekhlnaehlngnathirunaerngmakkhun phraxngkhidthrngsuksatarasthaptykrrmmakmay phrxmthngthipruksatangkxncathaphngemuxngkhxngchypura inthisud dwykhwamchwyehluxkhxngsthapnikkhnsakhykhux withyathr phttacary Vidyadhar Bhattacharya prachywrrnaphrahmncakebngkxl sungtxmaidepnhwhnasthapnikkhxngmharacha sungchwywangaephnaelaxxkaebbxakhartang rwmthungphrarachwnghlwngicklangemuxng phrxmthngkaaephngemuxngxyanghnaaennthiekidkhunphayhlngsngkhramkbckrwrrdimratha nxkcakniphraxngkhyngepnphuthirkthangdandarasastr khnitsastr aelafisiksdarasastr thaihchypurannekidkhunidxyangsaercdwyxngkhprakxbsthaptykrrmtamhlkkhxngwsdusastr Vastu Shastra aelahlkcaktaraxunkarsrangemuxngerimkhunxyangcringcnginpikh s 1727 ichewlakarsrangkwa 4 piinkarsrangphrarachwng thnn aelacturstang odykarsrangemuxngninnxingcakhlkintarasilpsastr Shilpa Shastra sungepnsatraehngsthaptykrrmkhxngxinediy odyaebngphngemuxngxxkepn 9 swnethaknxyangtaranghmakruk odysxngswnepnthitngkhxngphrarachwngtang aelasthanthirachkartang swnthiehluxxik 7 swnnnsahrbprachachnthwip rxbemuxngthuklxmdwyprakarxyangaennhnaodyekhaxxkphanthangpratuemuxngthng 7 aehngodyrxbinpikh s 1876 inrchsmykhxngmharachaswaxi ram singh Sawai Ram Singh idmiphrabychaihthasixakharbaneruxntanginemuxngepnsichmphuephuxepnkartxnrbecachayexdewird ecachayaehngewlsinkhrathiesdceyuxnchypuraxyangepnthangkar sungsichmphunnkyngkhngiwcnthungpccubnaelaidklaymaepnsylksnxnoddednkhxngchypuracnthukwnni 3 txmainchwngkhriststwrrsthi 19 chypuraidkhyaytwxyangrwderw odyinpikh s 1900 prachakrthnghmdmipraman 160 000 000 000 khn idmikarpuphunthnndwypun aelayngmiorngphyabalhlayaehng xutsahkrrmhlkidaek olha aelahinxxnsphaphphumixakas aekikhaephnphumiaesdngsphaphphumixakaskhxngchypura cypur withixan m kh k ph mi kh em y ph kh mi y k kh s kh k y t kh ph y th kh 8 23 8 12 26 11 6 32 16 4 37 21 16 40 25 66 40 27 216 34 26 231 32 24 80 33 23 23 33 19 3 29 13 3 24 9xunhphumi wdepnxngsaeslesiysprimanhyadnafa wdepnmilliemtrthima India Weather On Webaesdngkhxmulepnmatraxngkvsm kh k ph mi kh em y ph kh mi y k kh s kh k y t kh ph y th kh 0 3 73 46 0 5 79 52 0 2 90 61 0 2 99 70 0 6 104 77 2 6 104 81 8 5 93 79 9 1 90 75 3 1 91 73 0 9 91 66 0 1 84 55 0 1 75 48xunhphumi wdepnxngsafaernihtprimanhyadnafa wdepnniwchypura tngxyuinekhtphumixakasrxnkungaehngaelng Hot semi arid climate miprimannafnechliy 650 milliemtr 26 niw txpi odyswnihyfntkinvdumrsuminrahwangeduxnmithunaynthungknyayn xunhphumiechliynnkhxnkhangsungtlxdthngpi vdurxnxyurahwangeduxnemsayncnthungtneduxnkrkdakhmsungmkcamixunhphumiechliy 30 xngsaeslesiys 86 xngsafaerniht invdumrsum mkcamiphntkhnkaelafakhanxngkracay aetmkcaimphbxuthkphyekidkhun invduhnawrahwangeduxnphvscikaynthungkumphaphnthnnmixakaseynsbay xunhphumiechliytngaet 15 xngsaeslesiys 59 xngsafaerniht 18 xngsaeslesiys 64 xngsafaerniht aelamixtrakhwamchuntahruxaethbimmiely xyangirktamyngphbkhlunkhwameynepnkhrngkhrawthixacldxunhphumilngekuxbthungsunyxngsaid 4 khxmulphumixakaskhxngchypura cypur eduxn m kh k ph mi kh em y ph kh mi y k kh s kh k y t kh ph y th kh thngpixunhphumisungsudthiekhybnthuk C F 30 86 32 90 40 104 43 109 45 113 43 109 46 115 39 102 39 102 38 100 37 99 32 90 46 115 xunhphumisungsudechliy C F 23 73 26 79 32 90 37 99 40 104 40 104 34 93 32 90 33 91 33 91 29 84 24 75 31 9 89 5 xunhphumitasudechliy C F 8 46 11 52 16 61 21 70 25 77 27 81 26 79 24 75 23 73 19 66 13 55 9 48 18 5 65 3 xunhphumitasudthiekhybnthuk C F 1 34 0 32 5 41 12 54 17 63 21 70 16 61 20 68 19 66 10 50 6 43 3 37 0 32 hyadnafa mm niw 8 0 31 12 0 47 6 0 24 4 0 16 16 0 63 66 2 6 216 8 5 231 9 09 80 3 15 23 0 91 3 0 12 3 0 12 668 26 3 aehlngthima BBC Weatherlksnaprachakr aekikhkarnbthuxsasnasasna epxresnthindu 77 muslim 17 echn 4 xun 1 5 khrist 50 xtrakarnbthuxaebngtamsasna idaek sikkh 0 5 phuthth lt 0 5 cakkarsarwcsamaonprachakrinpikh s 2011 chypuramiprachakrthnghmdrwm 3 073 350 khn 1 xasyinekhtemuxng 3 646 590 khn sungthuxepnxndbthi 10 khxngpraethsxinediy prachakrnbthuxsasnahindu rxyla 77 muslim rxyla 17 echn rxyla 4 khrist rxyla 0 5 aelasikkh rxyla 0 5prachakrrxyla 47 49 xasyinbriewnnxkemuxng aelarxyla 52 51 xyuinekhtemuxng xtrakarruhnngsuxechliykhxngxaephxchypurakhuxrxyla 76 44 aebngepnchayrxyla 87 27 aelahyingrxyla 64 63 swnkaraebngtamephsnnchypuramicanwnprachakrephshying 898 khn txprachakrchay 1 000 khn 1 phasahlkthiichsuxsarinchypuraidaek phasahindiaelaphasarachsthan nxkcakniyngmikarichphasaxngkvsaelaphasapycabxikdwy aelacakraynganinpi kh s 2009 sanknganxachyakrrmaehngchati NCRB National Crime Records Bureau rabuwa chypuraepnemuxngthixtrakarekidxachyakrrmmakepnxndbthi 3 khxngemuxnginpraethsxinediythimikhnadprachakrekinkwa 1 lankhn 5 karkhmnakhm aekikh pratuthangekhaemuxng thangdwnsay Jaipur Kishangarh Jaipur BRTS snambinnanachatichypura thangbk aekikh thanghlwnghmayelkh 8 echuxmrahwangedli kbmumib thanghlwnghmayelkh 12 echuxmrahwangemuxngokta xaephxbaran aelathanghlwnghmayelkh 11 sungechuxmrahwangbikhaaenr kbxkhra odyphanthichypura odymikhwamyawrwmthngsin 366 kiolemtrbristh Rajasthan State Road Transport Corporation RSRTC epnphuduaelkaredinrthpracathangrahwangemuxngrahwangrthrachsthan kbniwedli rthxuttrpraeths rthmthypraeths rthhryana aelarthkhuchrat rthpracathang aekikh rthpracathangphayinemuxng City bus nnihbrikarody Jaipur City Transport Services Limited JCTSL 6 sungepnswnhnungkhxngbristh Rajasthan State Road Transport Corporation RSRTC sungepnhnungkhxngbrisththicdtngkhuninkrxbkhwamrwmmux Jawaharlal Nehru National Urban Renewal Mission hrux JnNURM odyihbrikarrthpracathangmakkwa 300 khn odymisthanihlkcanwn 3 aehng idaek sthani Vaishali Nagar sthani Vidyadhar Nagar aelasthani Sanganer rthpracathangdwnphiess BRTS aekikh okhrngkar BRTS hrux Bus Rapid Transit Service idrbkarxnumticakrthbalineduxnsinghakhm kh s 2006 7 odyih Jaipur City Transport Services Limited JCTSL epnphurbsmpthankarbriharkaredinrth 7 thangxakas aekikh snambinnanachatichypura Jaipur International Airport sungtngxyuhangcaktwemuxngpraman 10 kiolemtr sungihbrikarthngsaykarbinphayinpraeths aelananachati odyaebngepnethxrminl 1 ichsahrbsaykarbinrahwangpraeths aelainpraeths inkhnathiethxrminl 2 nnichsahrbsaykarbinphayinpraethsethann inpccubnxakharethxrminl 1 nnpidihbrikarenuxngcakxyuinrahwangokhrngkarprbprung odyichethxrminl 2 aethnxyangetmrupaebb inpikh s 2009 2010 snambinnanachatichypuratxnrbnkthxngethiywaebngepntangpraethscanwn 255 704 khn aelathnghmd 1 267 876 khn 8 invduhnawsnambinaehngnimkepnsnambinsarxngthiichrbekhruxngbincaksnambinnanachatixinthira khanthi enuxngcakmkcamihmxklngkhxnkhanghnaepnpracainedli 9 thangrthif aekikh chypurannsamarthedinthangidodymirthifhlaysaythiechuxmtxkbkrungedli aelaxikhlayemuxnginrthrachsthan rthifitdin aekikh okhrngkhayrthifitdinkhxngchypuranninpccubnyngxyuinrahwangkarkxsrang odymiaephncaaelwesrcineduxnsinghakhm kh s 2013 odymichuxeriykwa chypura emothr Jaipur Metro odyrabbrthifitdinkhxngchypuranithuxepnaehngthi 4 khxngpraethsxinediy phayhlngoklkata edli aelabngkalxr prakxbdwythangrthifitdinthnghmd 2 say mikhwamyawrwmthngsin 32 5 kiolemtr canwn 29 sthanisthanthithxngethiyw aekikhchypuraepnhnunginemuxngthimikarthxngethiywmakthisudaehnghnunginpraethsxinediy inpikh s 2008 idmikarsarwcody Conde Nast Traveller sungchypuraidtidxndbthiecdkhxngemuxngthinathxngethiywthisudinexechiy 10 nxkcakni chypura yngepnthitngkhxnghxngsuthxnhruhrainorngaermthiaephngtidxndbthi 2 cakthnghmd 15 xndbkhxngolk World s 15 most expensive hotel suites sungepnhxng Presidential Suite khxngorngaermrch phaels Raj Palace Hotel dwyrakhakwa US 45 000 txkhun 11 sungcdxndbody CNN Go inpikh s 2012 sitiphaels aekikh dubthkhwamhlkthi sitiphaels chypura cnthra mahal inphrarachwngsitiphaels phrarachwngsitiphaels epnphrarachwngxnepnthiprathbkhxngmharachaaehngchypura epnthitngkhxnghmuphrathinngsakhy idaek phrathinngcnthra mahal aela phrathinngmubark mahal srangkhuninrahwangpikh s 1729 kh s 1732 inrchsmykhxngmharachasahwaycy singhthi 2 caknntxmakidrbkarduaeltxetimodymharachakhxngchypurainrchkartxma thisakhytxnerimkxsrangphrarachwng yngxyuinchwngthirachwngsomkulekhamamixiththiphltxrthrachsthanaelw sthaptykrrmcungmikarxxkaebbxyangphsmphsanrahwangaebbrachputkbomkul nxkcaknikarxxkaebbphunthiichsxyxakharxyanglngtw imaennthub aelamithangedinkwangkhwang sungthuxepnkhwamnasnicaehnghnungcakphrarachwngaehngni odypccubnphrarachwngsitiphaelsidepidihekhachmepnphiphithphnthsahwayman singh Sawai Man Singh Museum pxmnharkhrh aekikh dubthkhwamhlkthi pxmnharkhrh aenwkaaephngkhxngpxmnharkarh pxmnharkhrrh xngkvs Nahargarh Fort hruxruckkndiinchuxwa pxmesux Tiger Fort epnpxmprakarthisamarthmxngehnidcakicklangemuxngchypura sranginpikh s 1734 inrchsmykhxngmharachasahwaycy singhthi 2 ephuxchwykhumkhrxngpxngknphrankhrcakkarrukrankhxngkhasuk inpccubndanbnynghlngehluxtahnkekaihchmxyubang hawamahal aekikh dubthkhwamhlkthi hawamahal hawamahal aelahnatangchluxnmakmayxnepnsylksnkhxngchypura hawa mahal hindi हव महल xngkvs Hawa Mahal aeplwa phrarachwngaehngsaylm epnhnungintahnksakhykhxngsitiphaels sranginpikh s 1799 odymharachasahway prathap singh Maharaja Sawai Pratap Singh xxkaebbodylal chnd xusthd Lal Chand Ustad odythxdaebbmacakrupthrngkhxngmngkutkhxngphranarayn odymikhwamoddednthibriewndanhnabnthasichmphuswyngammikhwamsunghachnaelamilksnasxnknkhlayrngphungprakxbipdwyhnatangkhnadelktkaetngdwylwdlaychluepnchxnglmcanwn 953 ban 12 cnepnthimakhxngchuxwa phrarachwngaehngsaylm odylaychlunnmiiwephuxnanginwngsamarthmxngthaluxxkmaehnchiwitphaynxkbnthxngthnnidodyimmiikhrsngektehncakdannxknnexng calmahal aekikh dubthkhwamhlkthi calmahal phrarachwngklangnachlmhl cal mahal hindi जल महल xngkvs Jal Mahal phrarachwngklangnasungtngednsngaxyuklangthaelsabmnska Man Sagar iklkbchypura odyphrarachwngaehngniaelathiwthsnkhxngthaelsabodyrxbthuktxetimaelaprbprungodymharacha sahway cy singhthi 2 twphrarachwngnnsrangidxyangswyngamtamsthaptykrrmrachputaelaomkul sungsamarthphbidthwipinsingkxsranginrthrachsthan odyphrarachwngninnmikhwamswyngamenuxngcaksthanthitngxyuklangthaelsabaelaodymiethuxkekhanharkarhtngxyuebuxnghlng twxakharsrangodyichhinthraysiaedng prakxbdwythnghmd 5 chnsung 4 chnlangcathuknathwmemuxthaelsabmiradbnasungsud odyehluxephiyngchnbnsudsungcaephykhunmaehnuxna 13 chtrisungepnyxdhlngkhathrngsiehliymnnsranginaebbsthaptykrrmebngkxl swnchtribriewnsimumkhxngxakharnnepnthrngaepdehliym enuxngcaktngxyuinnaepnewlaxnyawnanthaihthankhxngphrarachwngnnerimthrudothrmlngenuxngcakkraaesnaaelanathwm odylasudidmiokhrngkarburnakhrngihysungyngxyuinrahwangkardaeninkarodyrthbalrthrachsthan 14 chntrmntra aekikh dubthkhwamhlkthi chntrmntra chypura nalikaaedd hnunginekhruxngmuxthangdarasastrthichntrmntr thimikhwamaemnyathung 2 winathicakewlathxngthin chntrmntr xngkvs Jantar Mantar epnhxdudawthirwbrwmekhruxngmuxthangdarasastrchinsakhyaelathnsmythisudinyukhnn srangodymharachasahway cy singh sungepnthngkstriyaehngaexmaemraelachypura aelayngepnaemthphihykhxngckrwrrdiomkul odysthanthiaehngniidrbkarkhunthaebiynepnmrdkolk odyxngkhkaryuensok inpikh s 2010 15 pxmchykhvh aekikh dubthkhwamhlkthi pxmchykhvh pxmcykarh pxmchykhvh rachsthan hindi जयगढ क ल xngkvs Jaigarh Fort tngxyubriewnechingekha chilkathila iklkbpxmaexmaemr odytngxyubnyxdthisungkwapxmaexmaemr chanemuxngchypura inrthrachsthan praethsxinediy 16 17 srangodymharachasahwaycy singhthi 2 inpikh s 1726 ephuxichxarkkhapxmaexmaemraelaphrarachwngaexmaemrsungtngxyuebuxnglangsungphayepnphrarachthankhxngmharacha 16 17 18 pxmprakaraehngnisranginaebbsthaptykrrmediywkbpxmaexmaemr odyichhinthraysiaedngepnwtthudibhlkinkarkxsrang phayinkaaephngemuxngmiphratahnkthiprathb aelasingkxsrangtang rwmthngbxekbnaxikdwy pxmaexmaemr aekikh dubthkhwamhlkthi pxmaexmaemr pxmaexmaemr hindi आम र क ल xngkvs Amer Fort hrux pxmaexmebxr Amber Fort tngxyuthiemuxngaexmaemr rthrachsthan praethsxinediy epnemuxngelkthimikhnadephiyng 4 tarangkiolemtr 1 5 tarangiml 19 hangcakchypuraepnrayathang 11 kiolemtr 6 8 iml pxmaexmaemrnnepnhnunginsthanthithxngethiywthisakhythisudaehnghnungkhxngchypura odythitngnnoddednxyubnphahin 20 21 srangodymharachaman singhthi 1 pxmprakaraehngnimichuxesiyngthangdansthaptykrrmxnepnexklksnsungphsmphsanknrahwangsilpahinduaelasilparachput samarthmxngehnidcakrayathangiklenuxngcakmikhnadkaaephngprakarthiihyaelaaennhna phrxmpratuthangekhahlayaehng thnnthipudwyhinhlaysay sungemuxxyubnpxmaelwsamarthmxngehnthaelsabemataidxyangchdecnbriewndanhna 21 16 22 23 24 phumithsnkhxngpxmaexmaemryamrungxrunemuxngphinxng aekikhemuxngthiepnemuxngphinxng Sister cities khxngchypura idaek frimxnth shrthxemrika 25 tngaetpikh s 1993 aekhlkari aekhnada 26 tngaetpikh s 1973xangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Provisional Population Totals Census of India 2011 Cities having population 1 lakh and above PDF Office of the Registrar General amp Census Commissioner India subkhnemux 26 March 2012 The Jantar Mantar Jaipur UNESCO World Heritage Centre Whc unesco org 31 July 2010 subkhnemux 1 September 2010 History British History in depth Edward VII The First ConstitutionaMonarch BBC 5 November 2009 subkhnemux 26 July 2010 World Weather Information Service subkhnemux 11 December 2009 Crime Report 2009 PDF subkhnemux 28 March 2011 JCSTL Website Jaipurbus com subkhnemux 28 March 2011 7 0 7 1 BRTS JDA Website Jaipurjda org subkhnemux 28 March 2011 Jaipur International Airport subkhnemux 19 February 2011 Flights diverted to Jaipur Chennai India The Hindu 18 February 2011 subkhnemux 19 February 2011 Jaipur Seventh Best Tourist Destination in Asia Conde Nast Traveller Survey Bharatonline com subkhnemux 28 March 2011 Arnold Helen World s 15 most expensive hotel suites CNN Go 25 March 2012 Retrieved 2012 04 11 Rai Vinay 2007 Think India the rise of the world s next superpower and what it means for every American Hawa Mahal Dutton p 194 ISBN 0 525 95020 6 subkhnemux 2009 12 06 Unknown parameter coauthor ignored author suggested help xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux rediff Brown Lindsay 2008 Rajasthan Delhi and Agra Goitare and Jal Mahal Lonely Planet p 160 ISBN 1 74104 690 4 9781741046908Check isbn value invalid character help subkhnemux 2009 09 13 Unknown parameter coauthor ignored author suggested help The Jantar Mantar Jaipur UNESCO World Heritage Centre Whc unesco org 2010 07 31 subkhnemux 2013 04 11 16 0 16 1 16 2 Pippa de Bruyn Keith Bain David Allardice 1 March 2010 Frommer s India Frommer s pp 521 522 ISBN 978 0 470 55610 8 subkhnemux 16 April 2011 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imsmehtusmphl miniyamchux BruynBain2010 hlaykhrngdwyenuxhatangkn 17 0 17 1 D Fairchild Ruggles 2008 Islamic gardens and landscapes University of Pennsylvania Press pp 205 206 ISBN 978 0 8122 4025 2 subkhnemux 16 April 2011 Jaigarh Fort Jaipur India cs utah edu subkhnemux 14 April 2011 Outlook Publishing 1 December 2008 Outlook Outlook Publishing pp 39 subkhnemux 18 April 2011 Mancini Marc 1 February 2009 Selling Destinations Geography for the Travel Professional Cengage Learning p 539 ISBN 978 1 4283 2142 7 subkhnemux 19 April 2011 21 0 21 1 Abram David 15 December 2003 Rough guide to India Rough Guides p 161 ISBN 978 1 84353 089 3 subkhnemux 19 April 2011 Amer Fort Government of India subkhnemux 31 December 2011 Amer Palace Rajasthan Tourism Government of India subkhnemux 31 March 2011 Amer Fort iloveindia com subkhnemux 2011 02 23 City of Fremont s Sister Cities City of Calgary s Sister Cities duephim aekikhbthkhwamnieriyberiyngcak saranukrmbritanikha chbb kh s 1911 sunginpccubnepnsatharnsmbti Bhatt Kavi Shiromani Shastry Mathuranath 1948 Jaipur Vaibhawam History of Jaipur witten in Sanskrit Re published in 2002 by Kalanath Shastry Manjunath Smriti Sansthan Jaipur Khangarot R S Nathawat P S 1990 Jaigarh The Invincible Fort of Amber RBSA Publishers Jaipur Sachdev Vibhuti Tillotson Giles Henry Rupert 2002 Building Jaipur The Making of an Indian City Reaktion Books London ISBN 1 86189 137 7 Sarkar Jadunath 1984 A History of Jaipur Orient Longman Limited New Delhi ISBN 81 250 0333 9 Volwahsen Andreas 2001 Cosmic Architecture in India The Astronomical Monuments of Maharaja Jai Singh II Prestel Mapin Munich Jaipur City or Jainagar The Imperial Gazetteer of India 1909 pp 399 402 duephim aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb chypurapraethsxinediy rthrachsthanekhathungcak https th wikipedia org w index php title chypura amp oldid 9456492, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม