fbpx
วิกิพีเดีย

กานามัยซิน เอ

ระวังสับสนกับ กานามัยซิน บี

กานามัยซิน เอ (อังกฤษ: Kanamycin A) หรือที่นิยมเรียกกันง่ายๆ คือ กานามัยซิน เป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ มีข้องบ่งใช้ในการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่รุนแรง และวัณโรค แต่ไม่ถูกจัดให้เป็นการรักษาทางเลือกแรก โดยกานามัยซินมีทั้งในรูปแบบยารับประทาน, ยาสำหรับการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ และยาสำหรับการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ทั้งนี้ การใช้กานามัยซินในการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียใดๆนั้นแนะนำให้ใช้ยานี้ในระยะสั้นเท่านั้น โดยปกติคือ 7–10 วัน อย่างไรก็ตาม กานามัยซินไม่มีผลในต้านไวรัสเช่นเดียวกันกับยาปฏิชีวนะชนิดอื่น

กานามัยซิน เอ
ข้อมูลทางคลินิก
AHFS/Drugs.comMonograph
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • D
ช่องทางการรับยาการรับประทาน, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
รหัส ATC
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผลต่ำมากหากบริหารยาทางปาก
การเปลี่ยนแปลงยาไม่ทราบแน่ชัด
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ2 ชั่วโมง 30 นาที
การขับออกปัสสาวะ (ในรูปที่ไม่เปลี่ยนแปลง)
ตัวบ่งชี้
เลขทะเบียน CAS
  • 59-01-8[CAS]
PubChem CID
  • 6032
DrugBank
  • DB01172  7
ChemSpider
  • 5810  7
UNII
  • RUC37XUP2P
ChEBI
  • CHEBI:17630  7
ChEMBL
  • CHEMBL1384  7
PDB ligand
  • KAN (PDBe, RCSB PDB)
ECHA InfoCard100.000.374
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC18H36N4O11
มวลต่อโมล484.499
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • Interactive image
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

เนื่องด้วยกานามัยซินเป็นยาในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ดังนั้นจึงมีกลไกการออกฤทธิ์ที่คล้ายคลึกันกับยาอื่นในกลุ่ม กล่าวคือ กานามัยซินจะออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย ทำให้แบคทีเรียเป้าหมายขาดโปรตีนที่จำเป็นในการดำรงชีวิตและเพิ่มจำนวน ทำให้เซลล์แบคทีเรียนั้นๆตายในที่สุด อาการไม่พึงประสงค์ที่สำคัญจากการได้รับการรักษาด้วยกานามัยซิน คือ การเกิดปัญหาเกี่ยวกับการได้ยินและการทรงตัว ในบางรายอาจพบว่ายาทำให้ไตมีการทำงานที่ลดน้อยลงได้ ทั้งนี้ ไม่แนะนำให้ใช้กานามัยซินในหญิงตั้งครรภ์ เนื่องจากยานี้อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ทารกในครรภ์ได้ ส่วนการใช้ในหญิงให้นมบุตรนั้นมีความปลอดภัยค่อนข้างสูง เนื่องจากยานี้ถูกขับออกทางน้ำนมได้น้อยมาก

กานามัยซินถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1957 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น – ฮามาโอะ อูเมซาวะ (Hamao Umezawa) โดยสามารถแยกกานามัยซินได้จากเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces kanamyceticus โดยยานี้ได้ถูกจัดเป็นหนึ่งในรายการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization's List of Essential Medicines) ซึ่งเป็นรายการยาที่มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง และมีความสำคัญเป็นลำดับแรกของระบบสุขภาพพื้นฐานของประชาชนในประเทศต่างๆ ในปี ค.ศ. 2014 ราคาสำหรับการขายส่งของกานามัยซินในประเทศกำลังพัฒนามีมูลค่าระหว่าง 0.85 – 1.52 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อการบริหารยาหนึ่งครั้ง ปัจจุบัน ยานี้ไม่มีจำหน่ายในตลาดยาของสหรัฐอเมริกาแล้ว

การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์

ขอบเขตการออกฤทธิ์

กานามัยซินมีข้อบ่งใช้สำหรับการรักษาระยะสั้นสำหรับโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบทีเรีย E. coli, สกุลโปรเตียส (ทั้งกรณี indole-positive และ indole-negative), Enterobacter aerogenes, Klebsiella pneumoniae, Serratia marcescens, และสกุลอซีเนโตแบคเตอร์ ในกรณีที่เป็นการติดเชื้ออย่างรุนแรงแต่ไม่ทราบเชื้อสาเหตุที่แน่ชัด ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาด้วยกานามัยซินร่วมกับเพนิซิลลินหรือเซฟาโลสปอรินในรูปแบบฉีด อย่างใดอย่างหนึ่ง จนกว่าจะทราบผลการเพาะเลี้ยงเชื้อหรือผลทดสอบความไวของเชื้อสาเหตุต่อยาปฏิชีวนะชนิดต่างๆ ในกรณีโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสนั้น กานามัยซินไม่มีประสิทธิภาพในการรักษาเช่นเดียวกันกับยาปฏิชีวนะชนิดอื่นๆ

การใช้ในกลุ่มประชากรพิเศษ

กานามัยซินเป็นยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งที่ควรหลีกเลี่ยงการใช้ในหญิงตั้งครรภ์ เนื่องจากอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ตัวอ่อนในครรภ์ได้ (ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ ระดับ D) ส่วนการใช้ยานี้ในหญิงที่กำลังอยู่ในช่วงให้นมบุตรนั้นมีความปลอดภัยค่อนข้างสูง เนื่องจากกานามัยซินถูกขับออกทางน้ำนมได้น้อยมาก อย่างไรก็ตามเพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับทารก ทางผู้ผลิตได้แนะนำให้หยุดการให้นมระหว่างี่ได้รับกานามัยซิน หรือหลีกเลี่ยงไปใช้ยาอื่น แต่สมาคมกุมารเวชศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา (American Academy of Pediatrics) ได้ลงความเห็นโดยอาศัยข้อมูลจากการศึกษาทดลองต่างๆว่า กานามัยซินนั้นสามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยในหญิงให้นมบุตร

ส่วนในเด็กและทารกนั้น สามารถใช้กานามัยซินในการรักษาโรคติดเชื้อแบคีเรียตามข้อบ่งใช้ที่กำหนดได้ แต่อาจต้องมีการปรับลดขนาดยากานามัยซินลง เนื่องจากไตยังทำงานได้ไม่เต็มที่เท่าผู้ใหญ่ ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดพิษและอาการไม่พึงประสงค์จากยาได้ หากใช้กานามัยซินในปริมาณปกติทั่วไป

อาการไม่พึงประสงค์

อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้กานามัยซินที่รุนแรงนั้น ได้แก่ การได้ยินเสียงผิดปกติในหู หรือ การสูญเสียการได้ยิน ซึ่งเป็นสัญญาณที่บ่งบอกถึงภาวะที่ยาเป็นพิษต่อหู, การเกิดพิษต่อไต, และปฏิกิริยาการแพ้ยา ส่วนอาการไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจพบเกิดขึ้นได้ ได้แก่ คลื่นไส้, อาเจียน, ท้องเสีย, โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้าย, ปวดศีรษะ, ความรู้สึกสัมผัสเพี้ยน, การมองเห็นผิดปกติ, กล้ามเนื้ออ่อนแรง, และการดูดซึมอาหารผิดปกติ

เภสัชวิทยา

ชีวสังเคราะห์

กานามัยซิน เอ เป็นยาปฏิชีวนะที่คัดแยกได้จากแบคทีเรีย Streptomyces kanamyceticus นอกจากนี้การคัดแยกดังกล่าวยังมียาปฏิชีวนะอื่นๆเป็นส่วนผสมอีกหลายชนิด ได้แก่ กานามัยซิน บี, กานามัยซิน ซี, กานามัยซิน ดี, และกานามัยซิน เอกซ์ แต่กานามัยซิน เอ นั้นถือเป็นสารหลักที่สกัดได้

ชีวสังเคราะห์ของกานามัยซินนั้นแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยส่วนแรกนั้นจะคล้ายคลึงกันการสังเคราะห์ยาปฏิชีวนะอื่นๆในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ เช่น บูตริโรซิน และนีโอมัยซิน เป็นต้น โดยหลังสิ้นสุดกระบวนการสร้าง aminocyclitol, 2-deoxystreptamine จาก D-glucopyranose 6-phosphate ทั้ง 4 ขั้นตอน กระบวนการสังเคราะห์กานามัยซินจะแบ่งออกเป็น 2 ทาง ทั้งนี้เนื่องมาจากความหลากหลายของเอนไซม์ที่เข้าทำปฏิกิริยาในขั้นตอนนั้น โดยในขั้นตอนนี้จะใช้ตัวให้หมู่ไกลโคซิล 2 ชนิด คือ UDP-N-acetyl-α-D-glucosamine และ UDP-α-D-glucose และได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายเป็นกานามัยซิน ซี และกานามัยซิน บี ส่วนอีกช่องทางหนึ่งนั้นจะได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายเป็น กานามัยซิน ดี และกานามัยซิน เอกซ์ อย่างไรก็ตาม ทั้งกานามัยซิน บี และกานามัยซิน ดี สามารถถูกเปลี่ยนให้เป็นกานามัยซิน เอ ได้ ดังนั้น ช่องทางการสังเคราะห์ทั้งสองจึงสามารถสร้างผลิตภัณฑ์สุดท้ายเป็นกานามัยซิน เอ ได้ทั้งหมด

กลไกการออกฤทธิ์

กานามัยซินออกฤทธิ์โดยเข้าจับกับหน่วยย่อย 30 เอสของไรโบโซมในเซลล์โพรคาริโอต ส่งผลให้เกิดการแปรรหัสพันธุกรรมผิดพลาด ส่งผลให้ลำดับเบสในสายพอลีเพพไทด์เปลี่ยนแปลงไป จนไม่สามารถทำงานได้ นอกจากนี้กานามัยซินยังยับยั้งการย้ายตำแหน่ง (Translocation) ในกระบวนการการสังเคราะห์โปรตีน

ส่วนประกอบ

กานามัยซินเป็นยาที่ประกอบไปด้วยยาปฏิชีวนะ 3 ชนิด คือ กานามัยซิน เอ, กานามัยซิน บี, และกานามัยซิน ซี โดยกานามัยซิน บีและซี สามารถเปลี่ยนเป็นกานามัยซิน เอ ได้ อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการศึกษาที่แน่ชัดถึงผลของกานามัยซินแต่ละชนิดต่อเซลล์โพรคาริโอตและยูคาริโอต

การใช้ในการทดลอง

ในการศึกษาด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล ได้มีนำเอากานามัยซินมาใช้เป็นสารในการแยกแบคทีเรีย (E. coli) ที่ถูกพัฒนาสายพันธุ์ขึ้น (เช่น การใช้พลาสมิด) เพื่อให้ดื้อต่อยากานามัยซิน (ส่วนใหญ่เป็นยีนที่สร้างเอนไซม์ Neomycin phosphotransferase II; NPT II/Neo) โดยแบคทีเรียที่ได้รับการดัดแปลงสายพันธุ์ วึ่งมีพลาสมิดที่มีส่วนยียที่ดื้อต่อกานามัยซินอยู่ภายในเซลล์จะถูกชุบด้วยกานามัยซิน (ความเข้มข้น 50-100 ug/ml) ในจานเพาะเชื้อ หรือปล่อยให้เจริญเติบโตในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีส่วนผสมของกานามัยซิน (ความเข้มข้น 50-100 ug/ml) ซึ่งท้ายที่สุดแล้ว จะมีเฉพาะเชื้อแบคทีเรียที่ได้รับการตกแต่งสารพันธุกรรมเท่านั้นที่สามารถเจริญเติบโตในสภาวะดังกล่าวได้

อ้างอิง

  1. . The American Society of Health-System Pharmacists. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 10 September 2017. สืบค้นเมื่อ 6 December 2016. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  2. . www.drugs.com. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 20 December 2016. สืบค้นเมื่อ 7 December 2016. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  3. Sneader, Walter (2005). (ภาษาอังกฤษ). John Wiley & Sons. p. 302. ISBN 9780471899792. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2016-12-20. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  4. (PDF). World Health Organization. April 2015. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 13 December 2016. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  5. "Kanamycin Sulfate". International Drug Price Indicator Guide. สืบค้นเมื่อ 7 December 2016.[ลิงก์เสีย]
  6. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2017-09-10. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  7. Briggs, Gerald (2011). Drugs in Pregnancy and Lactation: A Reference Guide to Fetal and Neonatal Risk. Lippincott Williams & Wilkins. p. 787.
  8. , 2 April 2008, คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 3 May 2008, สืบค้นเมื่อ 2008-05-04 Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  9. "kanamycin biosynthesis pathway in MetaCyc". MetaCyc.org. สืบค้นเมื่อ 30 September 2014.
  10. Pestka, S.: "The Use of Inhibitors in Studies on Protein Synthesis", Methods in Enzymology 30, pp.261-282, 1975
  11. Misumi, M. & Tanaka, N.: "Mechanism of Inhibition of Translocation by Kanamycin and Viomycin: A Comparative Study with Fusidic Acid, Biochem.Biophys.Res.Commun. 92, pp.647-654, 1980
  12. DrugBank, บ.ก. (2016-08-17). . DrugBank. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2016-11-08. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  13. United States. National Institutes of Health. Kanamycin Compound Summary. PubChem. Web. 21 Aug. 2012.


กานาม, ยซ, เอ, ระว, งส, บสนก, กานาม, ยซ, งกฤษ, kanamycin, หร, อท, ยมเร, ยกก, นง, ายๆ, กานาม, ยซ, เป, นยาปฏ, วนะชน, ดหน, งในกล, มอะม, โนไกลโคไซด, องบ, งใช, ในการร, กษาโรคท, เก, ดจากการต, ดเช, อแบคท, เร, ยท, นแรง, และว, ณโรค, แต, ไม, กจ, ดให, เป, นการร, กษาทางเล. rawngsbsnkb kanamysin bi kanamysin ex xngkvs Kanamycin A hruxthiniymeriykknngay khux kanamysin epnyaptichiwnachnidhnunginklumxamioniklokhisd mikhxngbngichinkarrksaorkhthiekidcakkartidechuxaebkhthieriythirunaerng aelawnorkh 1 aetimthukcdihepnkarrksathangeluxkaerk 1 odykanamysinmithnginrupaebbyarbprathan yasahrbkarchidekhahlxdeluxdda aelayasahrbkarchidekhaklamenux 1 thngni karichkanamysininkarrksaorkhthiekidcakkartidechuxaebkhthieriyidnnaenanaihichyaniinrayasnethann odypktikhux 7 10 wn 1 xyangirktam kanamysinimmiphlintaniwrsechnediywknkbyaptichiwnachnidxun 1 kanamysin exkhxmulthangkhlinikAHFS Drugs comMonographradbkhwamesiyngtxtharkinkhrrphDchxngthangkarrbyakarrbprathan chidekhahlxdeluxdda chidekhaklamenuxrhs ATCA07AA08 WHO J01GB04 S01AA24khxmulephschclnsastrchiwprasiththiphltamakhakbriharyathangpakkarepliynaeplngyaimthrabaenchdkhrungchiwitthangchiwphaph2 chwomng 30 nathikarkhbxxkpssawa inrupthiimepliynaeplng twbngchichuxtamrabb IUPAC 2 aminomethyl 6 4 6 diamino 3 4 amino 3 5 dihydroxy 6 hydroxymethyl tetrahydropyran 2 yl oxy 2 hydroxy cyclohexoxy tetrahydropyran 3 4 5 triolelkhthaebiyn CAS59 01 8 CAS PubChem CID6032DrugBankDB01172 7ChemSpider5810 7UNIIRUC37XUP2PChEBICHEBI 17630 7ChEMBLCHEMBL1384 7PDB ligandKAN PDBe RCSB PDB ECHA InfoCard100 000 374khxmulthangkayphaphaelaekhmisutrC 18H 36N 4O 11mwltxoml484 499aebbcalxng 3D JSmol Interactive imageSMILES O C H 2 C H O C H O C H 1O C H CN C H O C H O C H 1O C H N C C H 2N C H 3O C H C H O C H N C H 3O COInChI InChI 1S C18H36N4O11 c19 2 6 10 25 12 27 13 28 18 30 6 33 16 5 21 1 4 20 15 14 16 29 32 17 11 26 8 22 9 24 7 3 23 31 17 h4 18 23 29H 1 3 19 22H2 t4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 m1 s1 7Key SBUJHOSQTJFQJX NOAMYHISSA N 7 verify saranukrmephschkrrmenuxngdwykanamysinepnyainklumxamioniklokhisd 1 dngnncungmiklikkarxxkvththithikhlaykhluknkbyaxuninklum klawkhux kanamysincaxxkvththiybyngkarsngekhraahoprtinkhxngaebkhthieriy thaihaebkhthieriyepahmaykhadoprtinthicaepninkardarngchiwitaelaephimcanwn thaihesllaebkhthieriynntayinthisud 1 xakarimphungprasngkhthisakhycakkaridrbkarrksadwykanamysin khux karekidpyhaekiywkbkaridyinaelakarthrngtw 1 inbangrayxacphbwayathaihitmikarthanganthildnxylngid 1 thngni imaenanaihichkanamysininhyingtngkhrrph enuxngcakyanixackxihekidxntrayaektharkinkhrrphid 1 swnkarichinhyingihnmbutrnnmikhwamplxdphykhxnkhangsung enuxngcakyanithukkhbxxkthangnanmidnxymak 2 kanamysinthukkhnphbinpi kh s 1957 odynkwithyasastrchawyipun hamaoxa xuemsawa Hamao Umezawa odysamarthaeykkanamysinidcakechuxaebkhthieriy Streptomyces kanamyceticus 1 3 odyyaniidthukcdepnhnunginraykaryacaepnkhxngxngkhkarxnamyolk World Health Organization s List of Essential Medicines sungepnraykaryathimiprasiththiphaphaelakhwamplxdphysung aelamikhwamsakhyepnladbaerkkhxngrabbsukhphaphphunthankhxngprachachninpraethstang 4 inpi kh s 2014 rakhasahrbkarkhaysngkhxngkanamysininpraethskalngphthnamimulkharahwang 0 85 1 52 dxllarshrth txkarbriharyahnungkhrng 5 pccubn yaniimmicahnayintladyakhxngshrthxemrikaaelw 1 enuxha 1 karichpraoychnthangkaraephthy 1 1 khxbekhtkarxxkvththi 1 2 karichinklumprachakrphiess 2 xakarimphungprasngkh 3 ephschwithya 3 1 chiwsngekhraah 3 2 klikkarxxkvththi 3 3 swnprakxb 4 karichinkarthdlxng 5 xangxingkarichpraoychnthangkaraephthy aekikhkhxbekhtkarxxkvththi aekikh kanamysinmikhxbngichsahrbkarrksarayasnsahrborkhthiekidcakkartidechuxaebthieriy E coli skulopretiys thngkrni indole positive aela indole negative Enterobacter aerogenes Klebsiella pneumoniae Serratia marcescens aelaskulxsienotaebkhetxr inkrnithiepnkartidechuxxyangrunaerngaetimthrabechuxsaehtuthiaenchd phupwycaidrbkarrksadwykanamysinrwmkbephnisillinhruxesfaolspxrininrupaebbchid xyangidxyanghnung cnkwacathrabphlkarephaaeliyngechuxhruxphlthdsxbkhwamiwkhxngechuxsaehtutxyaptichiwnachnidtang inkrniorkhthiekidcakkartidechuxiwrsnn kanamysinimmiprasiththiphaphinkarrksaechnediywknkbyaptichiwnachnidxun 6 karichinklumprachakrphiess aekikh kanamysinepnyaptichiwnaxikchnidhnungthikhwrhlikeliyngkarichinhyingtngkhrrph enuxngcakxackxihekidxntrayaektwxxninkhrrphid radbkhwamesiyngtxtharkinkhrrph radb D 6 swnkarichyaniinhyingthikalngxyuinchwngihnmbutrnnmikhwamplxdphykhxnkhangsung enuxngcakkanamysinthukkhbxxkthangnanmidnxymak xyangirktamephuxldkhwamesiyngthixacekidkhunkbthark thangphuphlitidaenanaihhyudkarihnmrahwangiidrbkanamysin hruxhlikeliyngipichyaxun aetsmakhmkumarewchsastraehngshrthxemrika American Academy of Pediatrics idlngkhwamehnodyxasykhxmulcakkarsuksathdlxngtangwa kanamysinnnsamarthichidxyangplxdphyinhyingihnmbutr 7 swninedkaelatharknn samarthichkanamysininkarrksaorkhtidechuxaebkhieriytamkhxbngichthikahndid aetxactxngmikarprbldkhnadyakanamysinlng enuxngcakityngthanganidimetmthiethaphuihy thaihesiyngtxkarekidphisaelaxakarimphungprasngkhcakyaid hakichkanamysininprimanpktithwip 6 xakarimphungprasngkh aekikhxakarimphungprasngkhcakkarichkanamysinthirunaerngnn idaek karidyinesiyngphidpktiinhu hrux karsuyesiykaridyin sungepnsyyanthibngbxkthungphawathiyaepnphistxhu karekidphistxit aelaptikiriyakaraephya 8 swnxakarimphungprasngkhxunthixacphbekidkhunid idaek khlunis xaeciyn thxngesiy orkhklamenuxxxnaerngchnidray pwdsirsa khwamrusuksmphsephiyn karmxngehnphidpkti klamenuxxxnaerng aelakardudsumxaharphidpkti 6 ephschwithya aekikhchiwsngekhraah aekikh kanamysin ex epnyaptichiwnathikhdaeykidcakaebkhthieriy Streptomyces kanamyceticus nxkcaknikarkhdaeykdngklawyngmiyaptichiwnaxunepnswnphsmxikhlaychnid idaek kanamysin bi kanamysin si kanamysin di aelakanamysin exks aetkanamysin ex nnthuxepnsarhlkthiskdidchiwsngekhraahkhxngkanamysinnnaebngxxkepn 2 swn odyswnaerknncakhlaykhlungknkarsngekhraahyaptichiwnaxuninklumxamioniklokhisd echn butriorsin aelanioxmysin epntn odyhlngsinsudkrabwnkarsrang aminocyclitol 2 deoxystreptamine cak D glucopyranose 6 phosphate thng 4 khntxn krabwnkarsngekhraahkanamysincaaebngxxkepn 2 thang thngnienuxngmacakkhwamhlakhlaykhxngexnismthiekhathaptikiriyainkhntxnnn odyinkhntxnnicaichtwihhmuiklokhsil 2 chnid khux UDP N acetyl a D glucosamine aela UDP a D glucose aelaidphlitphnthsudthayepnkanamysin si aelakanamysin bi swnxikchxngthanghnungnncaidphlitphnthsudthayepn kanamysin di aelakanamysin exks xyangirktam thngkanamysin bi aelakanamysin di samarththukepliynihepnkanamysin ex id dngnn chxngthangkarsngekhraahthngsxngcungsamarthsrangphlitphnthsudthayepnkanamysin ex idthnghmd 9 klikkarxxkvththi aekikh kanamysinxxkvththiodyekhacbkbhnwyyxy 30 exskhxngirobosminesllophrkharioxt sngphlihekidkaraeprrhsphnthukrrmphidphlad sngphlihladbebsinsayphxliephphithdepliynaeplngip cnimsamarththanganid nxkcaknikanamysinyngybyngkaryaytaaehnng Translocation inkrabwnkarkarsngekhraahoprtin 10 11 12 swnprakxb aekikh kanamysinepnyathiprakxbipdwyyaptichiwna 3 chnid khux kanamysin ex kanamysin bi aelakanamysin si odykanamysin biaelasi samarthepliynepnkanamysin ex id 13 xyangirktam yngimmikarsuksathiaenchdthungphlkhxngkanamysinaetlachnidtxesllophrkharioxtaelayukharioxtkarichinkarthdlxng aekikhinkarsuksadanchiwwithyaradbomelkul idminaexakanamysinmaichepnsarinkaraeykaebkhthieriy E coli thithukphthnasayphnthukhun echn karichphlasmid ephuxihduxtxyakanamysin swnihyepnyinthisrangexnism Neomycin phosphotransferase II NPT II Neo odyaebkhthieriythiidrbkarddaeplngsayphnthu wungmiphlasmidthimiswnyiythiduxtxkanamysinxyuphayinesllcathukchubdwykanamysin khwamekhmkhn 50 100 ug ml incanephaaechux hruxplxyihecriyetibotinxahareliyngechuxthimiswnphsmkhxngkanamysin khwamekhmkhn 50 100 ug ml sungthaythisudaelw camiechphaaechuxaebkhthieriythiidrbkartkaetngsarphnthukrrmethannthisamarthecriyetibotinsphawadngklawidxangxing aekikh 1 00 1 01 1 02 1 03 1 04 1 05 1 06 1 07 1 08 1 09 1 10 1 11 Kanamycin Sulfate The American Society of Health System Pharmacists khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 10 September 2017 subkhnemux 6 December 2016 Unknown parameter deadurl ignored help Kanamycin Kantrex Use During Pregnancy www drugs com khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 20 December 2016 subkhnemux 7 December 2016 Unknown parameter deadurl ignored help Sneader Walter 2005 Drug Discovery A History phasaxngkvs John Wiley amp Sons p 302 ISBN 9780471899792 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2016 12 20 Unknown parameter deadurl ignored help WHO Model List of Essential Medicines 19th List PDF World Health Organization April 2015 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 13 December 2016 subkhnemux 8 December 2016 Unknown parameter deadurl ignored help Kanamycin Sulfate International Drug Price Indicator Guide subkhnemux 7 December 2016 lingkesiy 6 0 6 1 6 2 6 3 Kanamycin By injection khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2017 09 10 Unknown parameter deadurl ignored help Briggs Gerald 2011 Drugs in Pregnancy and Lactation A Reference Guide to Fetal and Neonatal Risk Lippincott Williams amp Wilkins p 787 Consumer Drug Information Kanamycin 2 April 2008 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 3 May 2008 subkhnemux 2008 05 04 Unknown parameter deadurl ignored help kanamycin biosynthesis pathway in MetaCyc MetaCyc org subkhnemux 30 September 2014 Pestka S The Use of Inhibitors in Studies on Protein Synthesis Methods in Enzymology 30 pp 261 282 1975 Misumi M amp Tanaka N Mechanism of Inhibition of Translocation by Kanamycin and Viomycin A Comparative Study with Fusidic Acid Biochem Biophys Res Commun 92 pp 647 654 1980 DrugBank b k 2016 08 17 Kanamycin DrugBank khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2016 11 08 Unknown parameter deadurl ignored help United States National Institutes of Health Kanamycin Compound Summary PubChem Web 21 Aug 2012 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title kanamysin ex amp oldid 9614157, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม