fbpx
วิกิพีเดีย

กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร

กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร หรือ กลุ่มอาการกีแยง-บาร์เร (อังกฤษ: Guillain–Barré syndrome) เป็นโรคแพ้ภูมิตัวเอง (autoimmune disorder) อย่างหนึ่งซึ่งเกิดกับระบบประสาทส่วนปลาย ส่วนใหญ่ถูกกระตุ้นโดยการอักเสบติดเชื้อเฉียบพลัน กลุ่มอาการนี้ตั้งชื่อตามแพทย์ชาวฝรั่งเศสชื่อ Guillain, Barré และ Strohl ซึ่งได้อธิบายกลุ่มอาการนี้ไว้ในปี ค.ศ. 1961 บางครั้งเรียกว่าอาการชาแบบแลนดรี (Landry's paralysis) ตามแพทย์ชาวฝรั่งเศสที่ได้อธิบายโรคคล้ายกันนี้ไว้ในปี ค.ศ. 1859 โรคนี้ถูกจัดอยู่ในกลุ่มพยาธิสภาพของเส้นประสาทส่วนปลาย (peripheral neuropathy) กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เรถูกแบ่งออกเป็นหลายประเภท แต่ส่วนใหญ่เมื่อกล่าวถึงกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เรจะหมายถึงประเภทที่พบบ่อยที่สุด คือประเภทที่มีพยาธิภาพของเส้นประสาทหลายเส้นแบบทำลายไมอิลินโดยการอักเสบเฉียบพลัน หรือเอไอดีพี (acute inflammatory demyelinating polyneuropathy, AIDP) กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เรเป็นโรคที่พบน้อยโดยมีอุบัติการณ์อยู่ที่ 1–2 ต่อ 100,000 ประชากร ส่วนใหญ่อาการมักรุนแรงและปรากฏเป็นอาการอ่อนแรงแบบเป็นจากปลายมาหาต้น (ascending paralysis) โดยมีอาการอ่อนแรงของขา ค่อย ๆ ลามมายังแขนและใบหน้าพร้อมกับการหายไปของรีเฟลกซ์เอ็นลึก (deep tendon reflex) หากได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีด้วยการเปลี่ยนน้ำเลือด (plasmapheresis) หรือการให้อิมมูโนกลอบูลินทางหลอดเลือดดำ (intravenous immunoglobulin) ร่วมกับการรักษาประคับประคอง (supportive treatment) แล้วผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติ อย่างไรก็ดีหากมีภาวะแทรกซ้อนทางปอดรุนแรงหรือมีความผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติแล้วอาจเสียชีวิตได้ กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เรเป็นหนึ่งในสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของการเป็นอัมพาตที่ไม่ได้เกิดจากการบาดเจ็บ

กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร
(Guillain-Barré syndrome)
ชื่ออื่นGuillain–Barré–Strohl syndrome, Landry's paralysis, postinfectious polyneuritis
การออกเสียง
สาขาวิชาประสาทวิทยา
อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเริ่มจากเท้าและมือ, มักจะมีอาการจากส่วนล่างขึ้นไปด้านบน
ภาวะแทรกซ้อนหายใจลำบาก, มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจและความดันโลหิต
การตั้งต้นเร็ว (ชั่วโมงถึงสัปดาห์)
สาเหตุไม่ทราบ
วิธีวินิจฉัยขึ้นกับอาการ, ตรวจการชักนำกระแสประสาท, การเจาะเอว
การรักษาการดูแลแบบประคับประคอง, อิมมูโนโกลบูลินทางหลอดเลือดดำ, การแยกส่วนของน้ำเลือด
พยากรณ์โรคใช้เวลาสัปดาห์ถึงปีสำหรับการฟื้นฟู
ความชุก2 ต่อ 100,000 ประชากรต่อปี
การเสียชีวิต7.5% ของผู้ที่มีอาการ

สาเหตุ

กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เรทุกรูปแบบเกิดจากการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันเพื่อต่อต้านแอนติเจนจากภายนอก (เช่น เชื้อโรค) แต่ภูมิคุ้มกันที่สร้างกลับไปทำลายเนื้อเยื่อประสาทของผู้ป่วยแทน ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า "molecular mimicry" เป้าหมายที่ถูกระบบภูมิคุ้มกันทำลายเชื่อว่าเป็นสารประกอบที่พบได้เป็นปริมาณมากในเนื้อเยื่อประสาทส่วนปลายของมนุษย์ชื่อว่า แกงกลิโอไซด์ (ganglioside) เชื้อโรคที่ชักนำให้เกิดภาวะผิดปกติทางภูมิคุ้มกันดังกล่าวที่พบบ่อยที่สุดคือเชื้อแบคทีเรีย Campylobacter jejuni  รองลงมาคือเชื้อไซโตเมกาโลไวรัส (cytomegalovirus; CMV) อย่างไรก็ตามมีจำนวนผู้ป่วยร้อยละ 60 ที่ไม่พบว่าเกิดจากการติดเชื้อใดนำมาก่อน ผู้ป่วยบางรายอาจเกิดการกระตุ้นจากการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ หรือจากปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ พบว่ามีอุบัติการณ์ของกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เรเพิ่มขึ้นหลังจากการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในช่วงระหว่างการเกิดโรคไข้หวัดหมูระบาดทั่วในปี ค.ศ. 1976–1977 แต่จากการศึกษาทางระบาดวิทยาในภายหลังพบว่าการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่มีอัตราเสียงที่จะชักนำให้การเกิดกลุ่มอาการนี้เพิ่มขึ้นน้อยมาก (คือเพิ่มขึ้นน้อยกว่า 1 รายในการให้วัคซีน 1 ล้านคน) หรือแทบไม่มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเลย

ผลจากการที่ระบบภูมิคุ้มกันเข้ามาทำลายเนื้อเยื่อประสาทส่วนปลาย ทำให้เยื่อไมอีลินซึ่งเป็นปลอกไขมันหุ้มรอบเส้นประสาทเสียหาย และทำให้การส่งกระแสประสาทถูกหยุดชะงัก และทำให้กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต และอาจพบร่วมกับความรู้สึกสัมผัสและประสาทอัตโนมัติถูกรบกวน

ในรายที่เป็นไม่มาก แอกซอนของเส้นประสาท (ส่วนนำประสาทขาออกของเซลล์ประสาท) จะยังทำงานได้และกลับสู่สภาพปกติได้อย่างรวดเร็วถ้าเยื่อไมอีลินถูกซ่อมแซมได้เป็นปกติ ในรายที่มีอาการมากแอกซอนอาจเสียหาย และการฟื้นสภาพต้องขึ้นกับการซ่อมแซมของเยื่อไมอีลิน ประมาณร้อยละ 80 ของผู้ป่วยจะสูญเสียเยื่อไมอีลินไป อีกร้อยละ 20 จะสูญเสียแอกซอน

กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เรแตกต่างจากกลุ่มอาการอื่น ๆ เช่นโรคมัลติเพิล สเกลอโรซิส (multiple sclerosis; MS) หรือ อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส (Amyotrophic lateral sclerosis; ALS) ตรงที่กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เรเป็นโรคที่เกิดกับระบบประสาทส่วนปลาย และโดยทั่วไปแล้วจะไม่ทำความเสียหายต่อสมองหรือไขสันหลัง

ระบาดวิทยา

อุบัติการณ์ของกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เรทั่วโลก ประมาณ 0.6–4 ต่อประชากร 100,000 คนต่อปี ผู้ชายเป็นมากกว่าผู้หญิง 1.5 เท่า อุบัติการณ์เพิ่มขึ้นตามอายุ ในผู้อายุต่ำกว่า 30 ปีพบประมาณ 1 รายต่อประชากร 100,000 คน และผู้อายุสูงกว่า 75 ปีพบประมาณ 4 รายต่อประชากร 100,000 คน อุบัติการณ์ในระหว่างตั้งครรภ์ประมาณ 1.7 รายต่อประชากร 100,000 คน มีรายงานผู้ป่วยกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เรแต่กำเนิดและในระยะแรกเกิด

อ้างอิง

  1. Ferri FF (2016). Ferri's Clinical Advisor 2017: 5 Books in 1 (ภาษาอังกฤษ). Elsevier Health Sciences. p. 529. ISBN 9780323448383. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-21.
  2. "Guillain–Barré Syndrome Fact Sheet". NIAMS. June 1, 2016. จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 August 2016. สืบค้นเมื่อ 13 August 2016.
  3. Sejvar JJ, Baughman AL, Wise M, Morgan OW (2011). "Population incidence of Guillain-Barré syndrome: a systematic review and meta-analysis". Neuroepidemiology. 36 (2): 123–33. doi:10.1159/000324710. PMC 5703046. PMID 21422765.
  4. บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย (อังกฤษ-ไทย) ฉบับปี 2009. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2552.
  5. ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน ข้อมูลปรับปรุงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2544
  6. Mayo Clinic.com. GBS definition.. Retrieved 8-20-2009.
  7. U.S. National Library of Medicine. Medline Plus: "Guillain–Barré syndrome". Retrieved 8-28-2009.
  8. Yuki N (2008). "[Campylobacter genes responsible for the development and determinant of clinical features of Guillain-Barré syndrome]". Nippon Rinsho. Japanese Journal of Clinical Medicine (ภาษาญี่ปุ่น). 66 (6): 1205–10. PMID 18540372.
  9. Kuwabara S. (2004-08-10). "Does Campylobacter jejuni infection elicit "demyelinating" Guillain-Barré syndrome?". Neurology. Lippincott Williams & Wilkins. 63 (3): 529–33. PMID 15304587.
  10. Orlikowski D (2011). "Guillain–Barré Syndrome following Primary Cytomegalovirus Infection: A Prospective Cohort Study". Clin Infect Dis. (2011) 52 (7) : 837-844. 52 (7): 837–844. doi:10.1093/cid/cir074. PMID 21427390.
  11. Sivadon-Tardy V. (Jan 1, 2009). "Guillain-Barré syndrome and influenza virus infection". Clinical Infectious Diseases. The University of Chicago Press. 48 (1): 48–56. doi:10.1086/594124. PMID 19025491.
  12. Haber P (Nov 24, 2004). "Guillain-Barré syndrome following influenza vaccination". JAMA. 292 (20): 2478–81. PMID 15562126.
  13. Lehmann HC P (Sep 2010). "Guillain-Barré syndrome following influenza vaccination". Lancet Infect Dis. 10 (9): 643–51. PMID 20797646.
  14. Liang (2011). "Safety of Influenza A (H1N1) Vaccine in Postmarketing Surveillance in China". New England Journal of Medicine. 364: 638–647. doi:10.1056/NEJMoa1008553. PMID 21288090.
  15. Pithadia AB, Kakadia N. (2010). "Guillain-Barré syndrome (GBS)" (PDF). Pharmacol Rep. 62 (2): 220–32. PMID 20508277.
  16. Brooks, H; Christian AS; May AE (2000). "Pregnancy, anaesthesia and Guillain-Barré syndrome". Anaesthesia. 55 (9): 894–8. doi:10.1046/j.1365-2044.2000.01367.x. PMID 10947755.
  17. Iannello, S (2004). Guillain–Barré syndrome: Pathological, clinical and therapeutical aspects. Nova Publishers. ISBN 1594541701.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Mayo Clinic (2009). MayoClinic.com, Guillain-Barré
  • GBS/CIDP Foundation International
  • Guillain–Barré Syndrome Support Group (UK and Ireland)
  • ข้อมูลจากสมาคม GBS แหล่งนิวเซาท์เวลส์ (AU)
  • NINDS Miller Fisher Syndrome Information Page


การจำแนกโรค
V · T · D
  • ICD-10: G61.0
  • ICD-9-CM: 357.0
  • OMIM: 139393
  • MeSH: D020275
  • DiseasesDB: 5465
ทรัพยากรภายนอก
  • MedlinePlus: 000684
  • eMedicine: emerg/222 neuro/7 pmr/48 neuro/598
  • Patient UK: กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร

กล, มอาการก, ลแลง, บาร, เร, หร, กล, มอาการก, แยง, บาร, เร, งกฤษ, guillain, barré, syndrome, เป, นโรคแพ, วเอง, autoimmune, disorder, อย, างหน, งซ, งเก, ดก, บระบบประสาทส, วนปลาย, วนใหญ, กกระต, นโดยการอ, กเสบต, ดเช, อเฉ, ยบพล, กล, มอาการน, งช, อตามแพทย, ชาวฝร, งเ. klumxakarkilaelng barer 4 hrux klumxakarkiaeyng barer 5 xngkvs Guillain Barre syndrome epnorkhaephphumitwexng autoimmune disorder xyanghnungsungekidkbrabbprasathswnplay swnihythukkratunodykarxkesbtidechuxechiybphln klumxakarnitngchuxtamaephthychawfrngesschux Guillain Barre aela Strohl sungidxthibayklumxakarniiwinpi kh s 1961 bangkhrngeriykwaxakarchaaebbaelndri Landry s paralysis tamaephthychawfrngessthiidxthibayorkhkhlayknniiwinpi kh s 1859 orkhnithukcdxyuinklumphyathisphaphkhxngesnprasathswnplay peripheral neuropathy klumxakarkilaelng barerthukaebngxxkepnhlaypraephth aetswnihyemuxklawthungklumxakarkilaelng barercahmaythungpraephththiphbbxythisud khuxpraephththimiphyathiphaphkhxngesnprasathhlayesnaebbthalayimxilinodykarxkesbechiybphln hruxexixdiphi acute inflammatory demyelinating polyneuropathy AIDP klumxakarkilaelng barerepnorkhthiphbnxyodymixubtikarnxyuthi 1 2 tx 100 000 prachakr 6 swnihyxakarmkrunaerngaelapraktepnxakarxxnaerngaebbepncakplaymahatn ascending paralysis odymixakarxxnaerngkhxngkha khxy lammayngaekhnaelaibhnaphrxmkbkarhayipkhxngrieflksexnluk deep tendon reflex hakidrbkarrksaxyangthnthwngthidwykarepliynnaeluxd plasmapheresis hruxkarihximmuonklxbulinthanghlxdeluxdda intravenous immunoglobulin rwmkbkarrksaprakhbprakhxng supportive treatment aelwphupwyswnihysamarthklbmaichchiwitidtampkti xyangirkdihakmiphawaaethrksxnthangpxdrunaernghruxmikhwamphidpktikhxngrabbprasathxtonmtiaelwxacesiychiwitid 7 klumxakarkilaelng barerepnhnunginsaehtuthiphbbxythisudkhxngkarepnxmphatthiimidekidcakkarbadecbklumxakarkilaelng barer Guillain Barre syndrome chuxxunGuillain Barre Strohl syndrome Landry s paralysis postinfectious polyneuritis 1 karxxkesiyngUK ˈ ɡ iː j ae ˈ b aer eɪ US ɡ i ˈ j ae n b e ˈ r eɪ phasafrngess ɡilɛ baʁe sakhawichaprasathwithyaxakarklamenuxxxnaerngerimcakethaaelamux mkcamixakarcakswnlangkhunipdanbn 2 phawaaethrksxnhayiclabak mipyhaekiywkbhwicaelakhwamdnolhit 1 2 kartngtnerw chwomngthungspdah 2 saehtuimthrab 2 withiwinicchykhunkbxakar trwckarchknakraaesprasath karecaaexw 2 karrksakarduaelaebbprakhbprakhxng ximmuonoklbulinthanghlxdeluxdda karaeykswnkhxngnaeluxdphyakrnorkhichewlaspdahthungpisahrbkarfunfu 2 khwamchuk2 tx 100 000 prachakrtxpi 2 3 karesiychiwit7 5 khxngphuthimixakar 1 enuxha 1 saehtu 2 rabadwithya 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunsaehtu aekikhklumxakarkilaelng barerthukrupaebbekidcakkartxbsnxngkhxngrabbphumikhumknephuxtxtanaexntiecncakphaynxk echn echuxorkh aetphumikhumknthisrangklbipthalayenuxeyuxprasathkhxngphupwyaethn praktkarnnieriykwa molecular mimicry epahmaythithukrabbphumikhumknthalayechuxwaepnsarprakxbthiphbidepnprimanmakinenuxeyuxprasathswnplaykhxngmnusychuxwa aekngklioxisd ganglioside echuxorkhthichknaihekidphawaphidpktithangphumikhumkndngklawthiphbbxythisudkhuxechuxaebkhthieriy Campylobacter jejuni 8 9 rxnglngmakhuxechuxisotemkaoliwrs cytomegalovirus CMV 10 xyangirktammicanwnphupwyrxyla 60 thiimphbwaekidcakkartidechuxidnamakxn phupwybangrayxacekidkarkratuncakkartidechuxiwrsikhhwdihy hruxcakptikiriyathangphumikhumkntxechuxiwrsikhhwdihy 11 phbwamixubtikarnkhxngklumxakarkilaelng barerephimkhunhlngcakkarihwkhsinikhhwdihy inchwngrahwangkarekidorkhikhhwdhmurabadthwinpi kh s 1976 1977 12 aetcakkarsuksathangrabadwithyainphayhlngphbwakarihwkhsinikhhwdihymixtraesiyngthicachknaihkarekidklumxakarniephimkhunnxymak khuxephimkhunnxykwa 1 rayinkarihwkhsin 1 lankhn hruxaethbimmikhwamesiyngephimkhunely 13 14 phlcakkarthirabbphumikhumknekhamathalayenuxeyuxprasathswnplay thaiheyuximxilinsungepnplxkikhmnhumrxbesnprasathesiyhay aelathaihkarsngkraaesprasaththukhyudchangk aelathaihklamenuxepnxmphat aelaxacphbrwmkbkhwamrusuksmphsaelaprasathxtonmtithukrbkwninraythiepnimmak aexksxnkhxngesnprasath swnnaprasathkhaxxkkhxngesllprasath cayngthanganidaelaklbsusphaphpktiidxyangrwderwthaeyuximxilinthuksxmaesmidepnpkti inraythimixakarmakaexksxnxacesiyhay aelakarfunsphaphtxngkhunkbkarsxmaesmkhxngeyuximxilin pramanrxyla 80 khxngphupwycasuyesiyeyuximxilinip xikrxyla 20 casuyesiyaexksxnklumxakarkilaelng bareraetktangcakklumxakarxun echnorkhmltiephil seklxorsis multiple sclerosis MS hrux xaimoxothrfik aelethxrl seklxorsis Amyotrophic lateral sclerosis ALS trngthiklumxakarkilaelng barerepnorkhthiekidkbrabbprasathswnplay aelaodythwipaelwcaimthakhwamesiyhaytxsmxnghruxikhsnhlngrabadwithya aekikhxubtikarnkhxngklumxakarkilaelng barerthwolk praman 0 6 4 txprachakr 100 000 khntxpi phuchayepnmakkwaphuhying 1 5 etha xubtikarnephimkhuntamxayu inphuxayutakwa 30 piphbpraman 1 raytxprachakr 100 000 khn aelaphuxayusungkwa 75 piphbpraman 4 raytxprachakr 100 000 khn 15 xubtikarninrahwangtngkhrrphpraman 1 7 raytxprachakr 100 000 khn 16 miraynganphupwyklumxakarkilaelng bareraetkaenidaelainrayaaerkekid 17 xangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Ferri FF 2016 Ferri s Clinical Advisor 2017 5 Books in 1 phasaxngkvs Elsevier Health Sciences p 529 ISBN 9780323448383 ekb cakaehlngedimemux 2016 08 21 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 2 5 2 6 Guillain Barre Syndrome Fact Sheet NIAMS June 1 2016 ekb cakaehlngedimemux 5 August 2016 subkhnemux 13 August 2016 Sejvar JJ Baughman AL Wise M Morgan OW 2011 Population incidence of Guillain Barre syndrome a systematic review and meta analysis Neuroepidemiology 36 2 123 33 doi 10 1159 000324710 PMC 5703046 PMID 21422765 bychicaaenkorkhrahwangpraeths chbbpraethsithy xngkvs ithy chbbpi 2009 sanknoybayaelayuththsastr sanknganpldkrathrwngsatharnsukh 2552 sphthbyytirachbnthitysthan khxmulprbprungwnthi 6 singhakhm ph s 2544 Mayo Clinic com GBS definition Retrieved 8 20 2009 U S National Library of Medicine Medline Plus Guillain Barre syndrome Retrieved 8 28 2009 Yuki N 2008 Campylobacter genes responsible for the development and determinant of clinical features of Guillain Barre syndrome Nippon Rinsho Japanese Journal of Clinical Medicine phasayipun 66 6 1205 10 PMID 18540372 Kuwabara S 2004 08 10 Does Campylobacter jejuni infection elicit demyelinating Guillain Barre syndrome Neurology Lippincott Williams amp Wilkins 63 3 529 33 PMID 15304587 Orlikowski D 2011 Guillain Barre Syndrome following Primary Cytomegalovirus Infection A Prospective Cohort Study Clin Infect Dis 2011 52 7 837 844 52 7 837 844 doi 10 1093 cid cir074 PMID 21427390 Sivadon Tardy V Jan 1 2009 Guillain Barre syndrome and influenza virus infection Clinical Infectious Diseases The University of Chicago Press 48 1 48 56 doi 10 1086 594124 PMID 19025491 Haber P Nov 24 2004 Guillain Barre syndrome following influenza vaccination JAMA 292 20 2478 81 PMID 15562126 Lehmann HC P Sep 2010 Guillain Barre syndrome following influenza vaccination Lancet Infect Dis 10 9 643 51 PMID 20797646 Liang 2011 Safety of Influenza A H1N1 Vaccine in Postmarketing Surveillance in China New England Journal of Medicine 364 638 647 doi 10 1056 NEJMoa1008553 PMID 21288090 Pithadia AB Kakadia N 2010 Guillain Barre syndrome GBS PDF Pharmacol Rep 62 2 220 32 PMID 20508277 Brooks H Christian AS May AE 2000 Pregnancy anaesthesia and Guillain Barre syndrome Anaesthesia 55 9 894 8 doi 10 1046 j 1365 2044 2000 01367 x PMID 10947755 Iannello S 2004 Guillain Barre syndrome Pathological clinical and therapeutical aspects Nova Publishers ISBN 1594541701 aehlngkhxmulxun aekikhMayo Clinic 2009 MayoClinic com Guillain Barre GBS CIDP Foundation International Guillain Barre Syndrome Support Group UK and Ireland khxmulcaksmakhm GBS aehlngniwesathewls AU NINDS Miller Fisher Syndrome Information Page karcaaenkorkhV T DICD 10 G61 0ICD 9 CM 357 0OMIM 139393MeSH D020275DiseasesDB 5465thrphyakrphaynxkMedlinePlus 000684eMedicine emerg 222 neuro 7 pmr 48 neuro 598Patient UK klumxakarkilaelng barer bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title klumxakarkilaelng barer amp oldid 9289141, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม