fbpx
วิกิพีเดีย

การค้นหาแบบสองทิศทาง

การค้นหาแบบสองทิศทาง (อังกฤษ: Bidirectional Search) คือวิธีหนึ่งที่ใช้สำหรับการค้นหาข้อมูลภายในกราฟระบุทิศทาง โดยมีจุดประสงค์เป็นการหาวิถีสั้นสุดจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุดบนกราฟ หลักการค้นหาที่เป็นเอกลักษณ์ของวิธีการนี้ก็คือเราจะทำการค้นหาจากจุดเริ่มไปยังจุดสิ้นสุดและจากจุดสิ้นสุดกลับมายังจุดเริ่มต้นไปพร้อมๆกัน และเมื่อการค้นหามาบรรจบพร้อมกันที่จุดๆหนึ่งระหว่างกลางก็จะถือเป็นอันสิ้นสุด นอกจากนี้การค้นหาแบบสองทิศทางนี้ยังสามารถนำเอาไปประยุกต์รวมเข้ากับการค้นหาแบบอื่นๆเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้นได้ ตัวอย่างของวิธีการค้นหาที่สามารถนำเอามาประยุกต์กับการค้นหาแบบสองทิศทางเช่น การค้นตามแนวกว้าง, การค้นแบบดีที่สุด, ขั้นตอนวิธีเอสตาร์เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาให้ดีที่สุดนั่นเอง

การค้นหาแบบสองทิศทางผสมกับการค้นหาแบบกระจายตามแนวขวาง

นิยาม

การค้นหาแบบสองทิศทางนั้นโดยนิยามแล้วก็คือขั้นตอนวิธีที่ใช้หลักการซึ่งคล้ายกับขั้นตอนวิธีแบ่งแยกเพื่อเอาชนะ(อังกฤษ: Divide and conquer)ในกรณีที่เราทราบตำแหน่งของเป้าหมายที่จะค้นหาแล้ว แทนที่จะค่อยๆเริ่มจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดปลายเราจะทำการค้นหาจากจุดปลายย้อนกลับมาหาจุดเริ่มต้นไปพร้อมๆกันแทน ด้วยวิธีนี้ความเร็วในการค้นหาของแต่ละเส้นทางจะอยู่ที O (bd/2) เมื่อ   คือจำนวนการแตกกิ่งก้าน (Branching factor) และ   คือระยะทางทั้งหมดจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุด ซึ่งเมื่อนำระยะเวลาการค้นหามารวมกันแล้วก็ยังถือว่าได้ลดเวลาในการค้นหาลงไปอย่างมากหากเทียบกับการค้นหาแบบปกติ O (bd)

อย่างไรก็ตามแม้ว่าวิธีการนี้จะดูเหมือนว่าสามารถที่จะลดเวลาการค้นหาไปได้อย่างมากก็ตาม ข้อเสียของมันก็ยังมีอยู่หลายข้อด้วยกันคือ

  • วิธีการค้นหาแบบสองทิศทางมีลักษณะที่เป็นศึกษาสำนึกหรือก็คือไม่สามารถบอกได้อย่างแน่นอนว่าเส้นทางที่หาได้เป็นเส้นทางที่ดีที่สุดหรือไม่
  • ในการออกแบบขั้นตอนวิธีจำเป็นที่จะต้องคิดหาวิธีการที่จะทำให้สามารถค้นหาจากจุดปลายให้ย้อนกลับมายังจุดเริ่มต้นได้
  • ต้องออกแบบวิธีการหาจุดเชื่อมต่อที่มาจากการค้นของทั้งสองทิศทาง
  • ต้องมีการกำหนดเป้าหมายว่าอยู่ที่ใดบนกราฟ

ด้วยสาเหตุทั้งปวงที่กล่าวมาทำให้การนำเอาวิธีการค้นหาแบบสองทิศทางไปใช้งานจริงนั้นจึงยุ่งยากพอสมควร

ประวัติ

Ira Pohlคือบุคคลแรกที่ออกแบบและนำเอาการค้นหาแบบสองทิศทางมาใช้ในปีค.ศ.1971 เริ่มแรกนั้นขั้นตอนวิธีดังกล่าวไม่มีประสิทธิภาพมากนักคือการค้นหาจากสองทางมักจะพลาดไม่ได้มาบรรจบกันทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ผิดพลาด ต่อมาในปีค.ศ.1983 Des Champeaux ได้ออกแบบขั้นตอนวิธีใหม่เพื่อเข้ามาใช้แก้ปัญหาดังกล่าวด้วยวิธีแบบBHFFA(Bidirectional heuristic front to front algorithm)แต่ก็ทำให้เกิดปัญหาในเรื่องพื้นที่หน่วยความจำ ต่อมาในปีค.ศ.1984 PohlและPolitowiskyได้นำเสนอทางออกอีกแบบที่เขาเรียกว่า D-node retargetingขึ้นมาซึ่งสามารถช่วยแก้ปัญหาที่มีมาแต่เดิมรวมถึงเรื่องของหน่วยความจำได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าเก่า

หลังจากนั้นวิธีการค้นหาแบบสองทิศทางก็ได้ผ่านการปรับปรุงเรื่อยมาอีกหลายครั้งจนถึงล่าสุดคือปีค.ศ.2009โดยWimและHenk ซึ่งได้คิดค้นออกแบบการค้นหาแบบสองทิศทางของเอสตาร์ที่ได้รับการปรังปรุงให้ค้นหาได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การทำงาน

 
ภาพตัวอย่างของการค้นหาแบบสองทิศทาง


จากกราฟด้านบนเราจะสามารถมองเห็นการทำงานคร่าวๆได้โดย หากเราสมมติให้ วงกลมแต่ละวงคือปมของกราฟโดยที่แต่ละปมจะเก็บค่าตำแหน่งของปมนั้นๆเอาไว้ เส้นเชื่อมที่หนาจะหมายถึงค่าใช้จ่ายที่มากกว่าในการเดินทางผ่าน ส่วนปมที่ถูกทาด้วยสีฟ้าจะหมายถึงเป็นปมที่ถูกเลือกและปมสีแดงคือจุดที่คาดว่าการค้นหาจากสองทิศทางมาบรรจบกัน เส้นประใช้แสดงขอบเขตของการค้นหาแยกแต่ละฝั่งเอาไว้ ในแง่ของการนำเอาไปใช้งานจริงนั้น การค้นหาแบบสองทิศทางมักจะถูกนำไปรวมเข้ากับขั้นตอนวิธีแบบอื่นเสียมากกว่า ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามแต่ที่ต้องการ

รหัสเทียม

ขั้นตอนวิธีสามารถแสดงโดยสังเขปด้วยรหัสเทียมได้ดังนี้

 function BiderectionalSearch(xs,xg)  define Qs,Qg as priority queue  //กำหนดแถวคอยแบบลำดับความสำคัญ ให้Qsคือแถวคอยที่ใช้เก็บเริ่มจากปมเริ่มต้น และQgคือแถวคอยที่ใช้เก็บเริ่มจากปมเป้าหมาย  Qs.insert(xs) and mark xs as visited //นำปมเริ่มต้น xsใส่ลงในQs และเปลี่ยนสถานะของxsให้เป็นปมที่ถูกพิจารณาแล้ว  Qg.insert(xg) and mark xg as visited //นำปมเป้าหมาย xgใส่ลงในQg และเปลี่ยนสถานะของxgให้เป็นปมที่ถูกพิจารณาแล้ว  while Qs not empty and Qg not empty  if(Qs not empty)  x:=Qs.getFirst()  if x = xg or x ɛ Qg  //ถ้าหากว่าปมที่กำลังดูเป็นปมเป้าหมายหรือว่าเป็นปมที่อยู่ในแถวคอยของเป้าหมายแล้วก็ให้แสดงออกไปว่าหาพบและเลิกทำ  return SUCCESS  for each v ɛ adj(x)  //สำหรับทุกๆปมที่มีเส้นเชื่อมต่อออกx หากปมๆนั้นยังไม่เคยถูกพิจารณาก็ให้เอาเข้าแถวคอยไป  if v is not visited   Mark v status as visited   Qs.insert(v)  if(Qg not empty)  xr:=Qg.getFirst()  if xr = xs or xr ɛ Qs  //ถ้าหากว่าปมที่กำลังดูเป็นปมเริ่มต้นหรือว่าเป็นปมที่อยู่ในแถวคอยของปมเริ่มต้นแล้วก็ให้แสดงออกไปว่าหาพบและเลิกทำ  return SUCCESS  for each vr ɛ inversed_adj(xr) //สำหรับทุกๆปมที่มีเส้นเชื่อมมายังxr หากปมๆนั้นยังไม่เคยถูกพิจารณาก็ให้เอาเข้าแถวคอยไป  if vr is not visited   Mark vr status as visited   Qs.insert(vr)  return FAILURE   //ถ้าทำจนหมดแล้วยังเชื่อมเส้นกันไม่ได้ก็คือไม่มีเส้นเชื่อมระหว่างxsกับxg 



อ้างอิง

  • de Champeaux, Dennis; Sint, Lenie (1977), "An improved bidirectional heuristic search algorithm", Journal of the ACM, 24 (2): 177–191, doi:10.1145/322003.322004.
  • de Champeaux, Dennis (1983), "Bidirectional heuristic search again", Journal of the ACM, 30 (1): 22–32, doi:10.1145/322358.322360.
  • Ghosh, Subrata; Mahanti, Ambuj (1991), "Bidirectional Heuristic Search with Limited Resources", Inf. Process. Lett.: 335–340.
  • Pohl, Ira (1971), "Bi-directional Search", ใน Meltzer, Bernard; Michie, Donald (บ.ก.), Machine Intelligence, 6, Edinburgh University Press, pp. 127–140.
  • Russell, Stuart J.; Norvig, Peter (2002), "3.4 Uninformed search strategies", Artificial Intelligence: A Modern Approach (2nd ed.), Prentice Hall.
  • Davis, Henry W.; Pollack, Randy B.; Sudkamp, Thomas (1984), "Towards a better understanding of Bidirectional search", AAAI'84: 68–72.
  • Pijls, Wim; Post, Henk (2009), "A new bidirectional search algorithm with shortened postprocessing", European Journal of Operational Research: 363–369.

การค, นหาแบบสองท, ศทาง, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, งกฤษ, bidirectional, search, อว, หน, งท, ใช, สำหร, บการค, นหาข, อม. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudkarkhnhaaebbsxngthisthang xngkvs Bidirectional Search khuxwithihnungthiichsahrbkarkhnhakhxmulphayinkrafrabuthisthang odymicudprasngkhepnkarhawithisnsudcakcuderimtnipyngcudsinsudbnkraf hlkkarkhnhathiepnexklksnkhxngwithikarnikkhuxeracathakarkhnhacakcuderimipyngcudsinsudaelacakcudsinsudklbmayngcuderimtnipphrxmkn aelaemuxkarkhnhamabrrcbphrxmknthicudhnungrahwangklangkcathuxepnxnsinsud nxkcaknikarkhnhaaebbsxngthisthangniyngsamarthnaexaipprayuktrwmekhakbkarkhnhaaebbxunephuxihidprasiththiphaphthidiyingkhunid twxyangkhxngwithikarkhnhathisamarthnaexamaprayuktkbkarkhnhaaebbsxngthisthangechn karkhntamaenwkwang karkhnaebbdithisud khntxnwithiexstarepntn thngnikephuxthicaephimprasiththiphaphinkarkhnhaihdithisudnnexngkarkhnhaaebbsxngthisthangphsmkbkarkhnhaaebbkracaytamaenwkhwang enuxha 1 niyam 2 prawti 3 karthangan 4 rhsethiym 5 xangxingniyam aekikhkarkhnhaaebbsxngthisthangnnodyniyamaelwkkhuxkhntxnwithithiichhlkkarsungkhlaykbkhntxnwithiaebngaeykephuxexachna xngkvs Divide and conquer inkrnithierathrabtaaehnngkhxngepahmaythicakhnhaaelw aethnthicakhxyerimcakcuderimtnipyngcudplayeracathakarkhnhacakcudplayyxnklbmahacuderimtnipphrxmknaethn dwywithinikhwamerwinkarkhnhakhxngaetlaesnthangcaxyuthi O bd 2 emux b displaystyle b khuxcanwnkaraetkkingkan Branching factor aela d displaystyle d khuxrayathangthnghmdcakcuderimtnipyngcudsinsud sungemuxnarayaewlakarkhnhamarwmknaelwkyngthuxwaidldewlainkarkhnhalngipxyangmakhakethiybkbkarkhnhaaebbpkti O bd xyangirktamaemwawithikarnicaduehmuxnwasamarththicaldewlakarkhnhaipidxyangmakktam khxesiykhxngmnkyngmixyuhlaykhxdwyknkhux withikarkhnhaaebbsxngthisthangmilksnathiepnsuksasanukhruxkkhuximsamarthbxkidxyangaennxnwaesnthangthihaidepnesnthangthidithisudhruxim inkarxxkaebbkhntxnwithicaepnthicatxngkhidhawithikarthicathaihsamarthkhnhacakcudplayihyxnklbmayngcuderimtnid txngxxkaebbwithikarhacudechuxmtxthimacakkarkhnkhxngthngsxngthisthang txngmikarkahndepahmaywaxyuthiidbnkrafdwysaehtuthngpwngthiklawmathaihkarnaexawithikarkhnhaaebbsxngthisthangipichngancringnncungyungyakphxsmkhwrprawti aekikhIra Pohlkhuxbukhkhlaerkthixxkaebbaelanaexakarkhnhaaebbsxngthisthangmaichinpikh s 1971 erimaerknnkhntxnwithidngklawimmiprasiththiphaphmaknkkhuxkarkhnhacaksxngthangmkcaphladimidmabrrcbknthaihidphllphththiphidphlad txmainpikh s 1983 Des Champeaux idxxkaebbkhntxnwithiihmephuxekhamaichaekpyhadngklawdwywithiaebbBHFFA Bidirectional heuristic front to front algorithm aetkthaihekidpyhaineruxngphunthihnwykhwamca txmainpikh s 1984 PohlaelaPolitowiskyidnaesnxthangxxkxikaebbthiekhaeriykwa D node retargetingkhunmasungsamarthchwyaekpyhathimimaaetedimrwmthungeruxngkhxnghnwykhwamcaidxyangmiprasiththiphaphkwaekahlngcaknnwithikarkhnhaaebbsxngthisthangkidphankarprbprungeruxymaxikhlaykhrngcnthunglasudkhuxpikh s 2009odyWimaelaHenk sungidkhidkhnxxkaebbkarkhnhaaebbsxngthisthangkhxngexstarthiidrbkarprngprungihkhnhaidxyangmiprasiththiphaphyingkhunkarthangan aekikh phaphtwxyangkhxngkarkhnhaaebbsxngthisthang cakkrafdanbneracasamarthmxngehnkarthangankhrawidody hakerasmmtiih wngklmaetlawngkhuxpmkhxngkrafodythiaetlapmcaekbkhataaehnngkhxngpmnnexaiw esnechuxmthihnacahmaythungkhaichcaythimakkwainkaredinthangphan swnpmthithukthadwysifacahmaythungepnpmthithukeluxkaelapmsiaedngkhuxcudthikhadwakarkhnhacaksxngthisthangmabrrcbkn esnpraichaesdngkhxbekhtkhxngkarkhnhaaeykaetlafngexaiw inaengkhxngkarnaexaipichngancringnn karkhnhaaebbsxngthisthangmkcathuknaiprwmekhakbkhntxnwithiaebbxunesiymakkwa thngnikephuxthicaihidphllphthxxkmatamaetthitxngkarrhsethiym aekikhkhntxnwithisamarthaesdngodysngekhpdwyrhsethiymiddngni function BiderectionalSearch xs xg define Qs Qg as priority queue kahndaethwkhxyaebbladbkhwamsakhy ihQskhuxaethwkhxythiichekberimcakpmerimtn aelaQgkhuxaethwkhxythiichekberimcakpmepahmay Qs insert xs and mark xs as visited napmerimtn xsislnginQs aelaepliynsthanakhxngxsihepnpmthithukphicarnaaelw Qg insert xg and mark xg as visited napmepahmay xgislnginQg aelaepliynsthanakhxngxgihepnpmthithukphicarnaaelw while Qs not empty and Qg not empty if Qs not empty x Qs getFirst if x xg or x ɛ Qg thahakwapmthikalngduepnpmepahmayhruxwaepnpmthixyuinaethwkhxykhxngepahmayaelwkihaesdngxxkipwahaphbaelaeliktha return SUCCESS for each v ɛ adj x sahrbthukpmthimiesnechuxmtxxxkx hakpmnnyngimekhythukphicarnakihexaekhaaethwkhxyip if v is not visited Mark v status as visited Qs insert v if Qg not empty xr Qg getFirst if xr xs or xr ɛ Qs thahakwapmthikalngduepnpmerimtnhruxwaepnpmthixyuinaethwkhxykhxngpmerimtnaelwkihaesdngxxkipwahaphbaelaeliktha return SUCCESS for each vr ɛ inversed adj xr sahrbthukpmthimiesnechuxmmayngxr hakpmnnyngimekhythukphicarnakihexaekhaaethwkhxyip if vr is not visited Mark vr status as visited Qs insert vr return FAILURE thathacnhmdaelwyngechuxmesnknimidkkhuximmiesnechuxmrahwangxskbxgxangxing aekikhde Champeaux Dennis Sint Lenie 1977 An improved bidirectional heuristic search algorithm Journal of the ACM 24 2 177 191 doi 10 1145 322003 322004 de Champeaux Dennis 1983 Bidirectional heuristic search again Journal of the ACM 30 1 22 32 doi 10 1145 322358 322360 Ghosh Subrata Mahanti Ambuj 1991 Bidirectional Heuristic Search with Limited Resources Inf Process Lett 335 340 Pohl Ira 1971 Bi directional Search in Meltzer Bernard Michie Donald b k Machine Intelligence 6 Edinburgh University Press pp 127 140 Russell Stuart J Norvig Peter 2002 3 4 Uninformed search strategies Artificial Intelligence A Modern Approach 2nd ed Prentice Hall Davis Henry W Pollack Randy B Sudkamp Thomas 1984 Towards a better understanding of Bidirectional search AAAI 84 68 72 Pijls Wim Post Henk 2009 A new bidirectional search algorithm with shortened postprocessing European Journal of Operational Research 363 369 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karkhnhaaebbsxngthisthang amp oldid 4700731, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม