fbpx
วิกิพีเดีย

การแปลงเชิงปริพันธ์

การแปลงเชิงปริพันธ์ (อังกฤษ: integral transform) ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง การแปลง T ใดๆ ที่อยู่ในรูป

โดยส่งผ่านฟังก์ชัน f เข้าสู่การแปลง และได้ผลลัพธ์ออกมาในรูป Tf การแปลงเชิงปริพันธ์นี้เป็นตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ชนิดหนึ่ง

การแปลงเชิงปริพันธ์ที่มีประโยชน์นั้นมีอยู่หลายชนิด ขึ้นอยู่กับฟังก์ชันสองตัวแปร K ที่เลือกใช้ ฟังก์ชัน K นี้เรียกว่า เคอร์เนลของการแปลง (kernel of the transform) หรือ นิวเคลียส ของการแปลง

เคอร์เนลบางตัวนั้นมี เคอร์เนลอินเวอร์ส ซึ่งให้การแปลงกลับ:

เคอร์เนลที่สมมาตร (symmetric kernel) คือ เคอร์เนลที่มีหน้าตาเหมือนกัน เมื่อสลับที่ตัวแปรทั้งสอง

สิ่งจูงใจ

หากไม่กล่าวถึงเรื่องประโยชน์ที่ได้จากการใช้รูปแบบเครื่องหมาย สิ่งจูงใจของการใช้การแปลงเชิงปริพันธ์ที่เห็นได้ชัดเจนก็คือ ในบางปัญหาทางคณิตศาสตร์ซึ่งมีรูปแบบดั้งเดิมยากแก่การแก้ปัญหา การใช้การแปลงเชิงปริพันธ์เพื่อทำการแปลง รูปแบบของสมการจากในโดเมนดั้งเดิม ไปยังอีกโดเมนหนึ่งนั้น จะช่วยทำให้การจัดรูปและแก้ปัญหาสมการนั้นง่ายขึ้น หลังจากแก้ปัญหาสมการในโดเมนของการแปลงแล้ว ก็ทำการแปลงกลับให้มาอยู่ในโดเมนดั้งเดิมได้

การแปลงเชิงปริพันธ์ ใช้หลักการของการแยกองค์ประกอบสเปกตรัม (spectral factorization) ตาม ฐานเชิงตั้งฉากปรกติ (หรือ หมายความง่าย ๆ ว่า เราสามารถเขียนฟังก์ชันที่ซับซ้อน ให้อยู่ในรูปผลบวกของฟังก์ชันที่ซับซ้อนน้อยกว่านั่นเอง

ประวัติ

การแปลงเชิงปริพันธ์ นั้นมีประวัติความเป็นมาเริ่มต้นจากการเขียนแทนฟังก์ชันในช่วงจำกัด ในรูปอนุกรมฟูรีเย และพัฒนาต่อมาเป็นการแปลงฟูรีเย เพื่อใช้สำหรับฟังก์ชันในช่วงไม่จำกัด

การเขียนฟังก์ชันในรูปอนุกรมฟูรีเย ฟังก์ชันจะถูกเขียนอยู่ในรูปผลบวกของฟังก์ชันไซน์ และ โคไซน์ ที่มีขนาด และ ตำแหน่ง ต่าง ๆ โดยฟังก์ชันไซน์ และ โคไซน์ นี้ก็เป็นตัวอย่างของฐานเชิงตั้งฉากปรกติ

ความสำคัญของฐานที่ตั้งฉาก

ฟังก์ชันฐานที่ตั้งฉาก (orthogonal) นั้นหมายถึง ปริพันธ์ของผลคูณของสองฟังก์ชันฐานที่ต่างกัน ตลอดทั้งช่วงโดเมนของมันจะต้องมีค่าเป็นศูนย์ การแปลงเชิงปริพันธ์นั้นเพียงเป็นการเปลี่ยนรูปฟังก์ชันจากที่แสดงโดยฐานเชิงตั้งฉากปรกติหนึ่ง เป็นอีกฐานเชิงตั้งฉากปรกติหนึ่งเท่านั้น ค่าที่แต่ละจุดของฟังก์ชันในโดเมนของการแปลงคือ ค่าขนาดของฟังก์ชันฐานเชิงตั้งฉากปรกติหนึ่ง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบของการกระจายฟังก์ชันจากการแปลง กระบวนการกระจายฟังก์ชันจากรูปแบบมาตรฐาน เป็นผลบวกของฟังก์ชันฐานเชิงตั้งฉากปรกติ ซึ่งอาจถูกปรับขนาด และ ตำแหน่ง เรียกว่า การแยกองค์ประกอบสเปกตรัม (spectral factorization) กระบวนการนี้คล้ายกับหลักการของการแทนจุดใด ๆ ในปริภูมิ 3 มิติ ด้วยค่าตามแกน x, y, z ซึ่งค่าแต่ละแกนจะตั้งฉากกัน และเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ในการหาขนาดองค์ประกอบในการแยกองค์ประกอบสเปกตรัมของฟังก์ชัน F ตามฟังก์ชันฐานเชิงตั้งฉากปรกติหนึ่ง ๆ นั้นจะใช้คำว่า โพรเจกชัน (projection) ของ F ไปบนฟังก์ชันฐานนั้น เช่นเดียวกับในกรณีของเวกเตอร์

เราสามารถมองกราฟของฟังก์ชันบนพิกัดคาร์ทีเซียน เหมือนกับเป็นการกระจายบนฐานเชิงตั้งฉากปรกติเช่นกัน โดยแต่ละจุดบนกราฟจะเป็นองค์ประกอบของแต่ละฟังก์ชันฐานเชิงตั้งฉากปรกติ เช่นจุด (3,5) บนกราฟ หมายถึง องค์ประกอบ ของฟังก์ชันฐานเชิงตั้งฉากปรกติ δ(x-3) โดยที่ "δ" คือ ฟังก์ชันครอเนกเคอร์เดลต้า (Kronecker delta function) ที่มีขนาดเท่ากับ 5 หากมองเช่นนี้แล้ว กราฟต่อเนื่องของฟังก์ชันจำนวนจริงบนระนาบ ก็คือผลรวมของฟังก์ชันฐานจำนวนไม่จำกัด เพราะหากฟังก์ชันฐานมีจำนวนจำกัด เส้นกราฟก็ควรจะมีรูปร่างเป็นจุด ๆ แทนที่จะเป็นเส้นต่อเนื่อง

ตารางการแปลงเชิงปริพันธ์

ตารางการแปลงเชิงปริพันธ์
การแปลง สัญลักษณ์   t1 t2   u1 u2
การแปลงฟูรีเย (Fourier transform)              
การแปลงฮาร์ทลีย์ (Hartley transform)              
การแปลงเมลลิน (Mellin transform)              
การแปลงลาปลาสสองด้าน (Two-sided Laplace
transform)
             
การแปลงลาปลาส (Laplace transform)              
การแปลงแฮงเคิล (Hankel transform)            
การแปลงอาเบล (Abel transform)            
การแปลงฮิลเบิร์ต (Hilbert transform)              
การแปลงเอกลักษณ์ (Identity transform)            

ในการแปลงกลับ ค่า c เป็นค่าคงที่ซึ่งขึ้นกับฟังก์ชันของการแปลง เช่น สำหรับการแปลงลาปลาสด้านเดียว และสองด้าน c จะต้องมีค่ามากกว่า ค่าส่วนจำนวนจริงที่มากที่สุดของค่าศูนย์(zero) ฟังก์ชันของการแปลง

ดูเพิ่ม

การแปลงเช, งปร, นธ, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งก, ามภาษา, ในบทค. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudkaraeplngechingpriphnth xngkvs integral transform inthangkhnitsastr hmaythung karaeplng T id thixyuinrup T f u t 1 t 2 f t K t u d t displaystyle Tf u int t 1 t 2 f t K t u dt odysngphanfngkchn f ekhasukaraeplng aelaidphllphthxxkmainrup Tf karaeplngechingpriphnthniepntwdaeninkarthangkhnitsastrchnidhnungkaraeplngechingpriphnththimipraoychnnnmixyuhlaychnid khunxyukbfngkchnsxngtwaepr K thieluxkich fngkchn K nieriykwa ekhxrenlkhxngkaraeplng kernel of the transform hrux niwekhliys khxngkaraeplngekhxrenlbangtwnnmi ekhxrenlxinewxrs K 1 u t displaystyle K 1 u t sungihkaraeplngklb f t u 1 u 2 K 1 u t T f u d u displaystyle f t int u 1 u 2 K 1 u t Tf u du ekhxrenlthismmatr symmetric kernel khux ekhxrenlthimihnataehmuxnkn emuxslbthitwaeprthngsxng enuxha 1 singcungic 2 prawti 3 khwamsakhykhxngthanthitngchak 4 tarangkaraeplngechingpriphnth 5 duephimsingcungic aekikhhakimklawthungeruxngpraoychnthiidcakkarichrupaebbekhruxnghmay singcungickhxngkarichkaraeplngechingpriphnththiehnidchdecnkkhux inbangpyhathangkhnitsastrsungmirupaebbdngedimyakaekkaraekpyha karichkaraeplngechingpriphnthephuxthakaraeplng rupaebbkhxngsmkarcakinodemndngedim ipyngxikodemnhnungnn cachwythaihkarcdrupaelaaekpyhasmkarnnngaykhun hlngcakaekpyhasmkarinodemnkhxngkaraeplngaelw kthakaraeplngklbihmaxyuinodemndngedimidkaraeplngechingpriphnth ichhlkkarkhxngkaraeykxngkhprakxbsepktrm spectral factorization tam thanechingtngchakprkti hrux hmaykhwamngay wa erasamarthekhiynfngkchnthisbsxn ihxyuinrupphlbwkkhxngfngkchnthisbsxnnxykwannexngprawti aekikhkaraeplngechingpriphnth nnmiprawtikhwamepnmaerimtncakkarekhiynaethnfngkchninchwngcakd inrupxnukrmfuriey aelaphthnatxmaepnkaraeplngfuriey ephuxichsahrbfngkchninchwngimcakdkarekhiynfngkchninrupxnukrmfuriey fngkchncathukekhiynxyuinrupphlbwkkhxngfngkchnisn aela okhisn thimikhnad aela taaehnng tang odyfngkchnisn aela okhisn nikepntwxyangkhxngthanechingtngchakprktikhwamsakhykhxngthanthitngchak aekikhfngkchnthanthitngchak orthogonal nnhmaythung priphnthkhxngphlkhunkhxngsxngfngkchnthanthitangkn tlxdthngchwngodemnkhxngmncatxngmikhaepnsuny karaeplngechingpriphnthnnephiyngepnkarepliynrupfngkchncakthiaesdngodythanechingtngchakprktihnung epnxikthanechingtngchakprktihnungethann khathiaetlacudkhxngfngkchninodemnkhxngkaraeplngkhux khakhnadkhxngfngkchnthanechingtngchakprktihnung thiepnxngkhprakxbkhxngkarkracayfngkchncakkaraeplng krabwnkarkracayfngkchncakrupaebbmatrthan epnphlbwkkhxngfngkchnthanechingtngchakprkti sungxacthukprbkhnad aela taaehnng eriykwa karaeykxngkhprakxbsepktrm spectral factorization krabwnkarnikhlaykbhlkkarkhxngkaraethncudid inpriphumi 3 miti dwykhatamaekn x y z sungkhaaetlaaekncatngchakkn aelaepnxisraimkhunaekkn inkarhakhnadxngkhprakxbinkaraeykxngkhprakxbsepktrmkhxngfngkchn F tamfngkchnthanechingtngchakprktihnung nncaichkhawa ophreckchn projection khxng F ipbnfngkchnthannn echnediywkbinkrnikhxngewketxrerasamarthmxngkrafkhxngfngkchnbnphikdkharthiesiyn ehmuxnkbepnkarkracaybnthanechingtngchakprktiechnkn odyaetlacudbnkrafcaepnxngkhprakxbkhxngaetlafngkchnthanechingtngchakprkti echncud 3 5 bnkraf hmaythung xngkhprakxb khxngfngkchnthanechingtngchakprkti d x 3 odythi d khux fngkchnkhrxenkekhxredlta Kronecker delta function thimikhnadethakb 5 hakmxngechnniaelw kraftxenuxngkhxngfngkchncanwncringbnranab kkhuxphlrwmkhxngfngkchnthancanwnimcakd ephraahakfngkchnthanmicanwncakd esnkrafkkhwrcamiruprangepncud aethnthicaepnesntxenuxngtarangkaraeplngechingpriphnth aekikhtarangkaraeplngechingpriphnth karaeplng sylksn K displaystyle K t1 t2 K 1 displaystyle K 1 u1 u2karaeplngfuriey Fourier transform F displaystyle mathcal F e i u t 2 p displaystyle frac e iut sqrt 2 pi displaystyle infty displaystyle infty e i u t 2 p displaystyle frac e iut sqrt 2 pi displaystyle infty displaystyle infty karaeplngharthliy Hartley transform H displaystyle mathcal H cos u t sin u t 2 p displaystyle frac cos ut sin ut sqrt 2 pi displaystyle infty displaystyle infty cos u t sin u t 2 p displaystyle frac cos ut sin ut sqrt 2 pi displaystyle infty displaystyle infty karaeplngemllin Mellin transform M displaystyle mathcal M t u 1 displaystyle t u 1 0 displaystyle 0 displaystyle infty t u 2 p i displaystyle frac t u 2 pi i c i displaystyle c i infty c i displaystyle c i infty karaeplnglaplassxngdan Two sided Laplacetransform B displaystyle mathcal B e u t displaystyle e ut displaystyle infty displaystyle infty e u t 2 p i displaystyle frac e ut 2 pi i c i displaystyle c i infty c i displaystyle c i infty karaeplnglaplas Laplace transform L displaystyle mathcal L e u t displaystyle e ut 0 displaystyle 0 displaystyle infty e u t 2 p i displaystyle frac e ut 2 pi i c i displaystyle c i infty c i displaystyle c i infty karaeplngaehngekhil Hankel transform t J n u t displaystyle t J nu ut 0 displaystyle 0 displaystyle infty u J n u t displaystyle u J nu ut 0 displaystyle 0 displaystyle infty karaeplngxaebl Abel transform 2 t t 2 u 2 displaystyle frac 2t sqrt t 2 u 2 u displaystyle u displaystyle infty 1 p u 2 t 2 d d u displaystyle frac 1 pi sqrt u 2 t 2 frac d du t displaystyle t displaystyle infty karaeplnghilebirt Hilbert transform H i l displaystyle mathcal H il 1 p 1 u t displaystyle frac 1 pi frac 1 u t displaystyle infty displaystyle infty 1 p 1 u t displaystyle frac 1 pi frac 1 u t displaystyle infty displaystyle infty karaeplngexklksn Identity transform d u t displaystyle delta u t t 1 lt u displaystyle t 1 lt u t 2 gt u displaystyle t 2 gt u d t u displaystyle delta t u u 1 lt t displaystyle u 1 lt t u 2 gt t displaystyle u 2 gt t inkaraeplngklb kha c epnkhakhngthisungkhunkbfngkchnkhxngkaraeplng echn sahrbkaraeplnglaplasdanediyw aelasxngdan c catxngmikhamakkwa khaswncanwncringthimakthisudkhxngkhasuny zero fngkchnkhxngkaraeplngduephim aekikhraychuxkaraeplng khnitsastr bthkhwamekiywkbkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy khnitsastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title karaeplngechingpriphnth amp oldid 4702403, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม