fbpx
วิกิพีเดีย

ข้อตั้ง

ข้อตั้ง (อังกฤษ: premise) คือข้อความที่ถูกกล่าวอ้างในการอ้างเหตุผลว่าจะอุปนัยหรือให้ความถูกต้องกับข้อสรุป เป็นฐานคติว่าสิ่ง ๆ หนึ่งเป็นจริง

คำอธิบาย

ในตรรกศาสตร์ การอ้างเหตุผล (argument) ต้องการเซตของประโยคบอกเล่า (อย่างน้อย) สองประโยค (หรือ "ประพจน์") เรียกว่า "ข้อตั้ง" พร้อม ๆ กับประโยคบอกเล่า (categorical proposition) อีกประโยค (หรือ "ประพจน์") เรียกว่าข้อสรุป โครงสร้างของข้อตั้งสองข้อและข้อสรุปหนึ่งข้อนี้ก่อโครงสร้างของการอ้างเหตุผลพื้นฐาน การอ้างเหตุผลที่ซับซ้อนกว่านี้สามารถใช้ลำดับของกฏต่าง ๆ เพื่อเชื่อมต่อข้อตั้งหลายข้อเข้ากับข้อสรุปข้อเดียว หรือเพื่ออนุพันธ์ข้อสรุปจำนวนหนึ่งจากข้อตั้งข้อ ๆ เดิม ซึ่งก็ปฏิบัติเสมือนเป็นข้อตั้งของข้อสรุปต่อมาเพิ่มเติม ตัวอย่างของนี่เช่นการใช้กฏของการอนุมานที่พบเจออยู่ในตรรกศาสตร์เชิงสัญลักษณ์

แอริสตอเติลถือว่าการอ้างเหตุผลเชิงตรรกะใด ๆ สามารถลดรูปจนเหลือข้อตั้งสองข้อและข้อสรุปหนึ่งข้อ ข้อตั้งบางครั้งถูกละไว้บางครั้ง ในกรณีนั้นจะเรียกว่าข้อตั้งที่หายไป ตัวอย่างเช่น:

โสกราตีสเป็นมัตตัยเพราะทุกมนุษย์เป็นมัตตัย

มันชัดเจนว่าการกล่าวอ้างที่เข้าใจกันโดยปริยายคือที่โสกราตีสเป็นมนุษย์ การให้เหตุผลฉบับเต็บจึงเป็นดังว่า:

เพราะทุกมนุษย์เป็นมัตตัยและโสกราตัสเป็นมนุษย์ โสกราตีสเป็นมัตตัย

ในตัวอย่างนี้ อนุประโยค (clause (logic)) อิสระที่อยู่ก่อนเว้นวรรค (คือ "ทุกมนุษย์เป็นมัตตัย" และ "โสกราตีสเป็นมนุษย์") เป็นข้อตั้ง ในขณะที่ "โสกราตีสเป็นมัตตัย" เป็นข้อสรุป

การพิสูจน์ข้อสรุปนี้ขึ้นอยู่กับทั้งความจริงของข้อตั้ง และความสมเหตุสมผล (validity (logic)) ของการอ้างเหตุผล นอกจากนั้น เราต้องการข้อมูลเกี่ยวกับความหมายของข้อตั้งเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาว่าความหมายเต็มของข้อสรุปตรงกับ [ข้อสรุปที่ได้มา] ไหม (Instead, further information is required over and above the meaning of the premise to determine if the full meaning of the conclusion coincides with what is [the conclusion].)

สำหรับยุคลิด ข้อตั้งเป็นตัวประกอบสองในสามประพจน์ในตรรกบท (syllogism) โดยประพจน์ที่สามคือข้อสรุป ประพจน์แบบจัดกลุ่มเหล่านี้ประกอบด้วยสามพจน์: ประธานและภาคแสดงของข้อสรุปและพจน์ที่อยู่ตรงกลาง ประธานของข้อสรุปจะเรียกว่าพจน์รองในขณะที่ภาคแสดงเป็นพจน์หลัก ข้อตั้งที่ประกอบด้วยพจน์กลางและพจน์หลักเรียกว่าข้อตั้งหลัก และข้อตั้งที่ประกอบด้วยพจน์กลางและพจน์รองเรียกว่าข้อตั้งรอง ในกรณีของการอ้างเหตุผลก่อนหน้านี้ พจน์หลักคือโสกราตีส พจน์รองคือ(เป็น)มัตตัย และพจน์กลางคือ(เป็น/ทุก)มนุษย์

ข้อตั้งก็สามารถเป็นคำบ่งชี้ถ้าข้อความได้ถูกรวมเป็นการอ้างเหตุผลเชิงตรรกะ และคำจำพวกนี้ปฏิบัติหน้าที่ชี้บทบาทของข้อความข้อหนึ่งหรือมากกว่า มันจะบ่งชี้ว่าข้อความนั้นที่มันอยู่ข้างในเป็นข้อตั้ง

ดูเพิ่ม

  • เหตุภาพ
  • เงื่อนไขสอดคล้อง (Corresponding conditional)
  • ข้อตั้งเท็จ (False premise)

อ้างอิง

  1. Audi, Robert, บ.ก. (1999). The Cambridge Dictionary of Philosophy (2nd ed.). Cambridge: Cambridge University Press. p. 43. ISBN 0-521-63136-X. Argument: a sequence of statements such that some of them (the premises) purport to give reasons to accept another of them, the conclusion
  2. Gullberg, Jan (1997). Mathematics : From the Birth of Numbers. New York: W. W. Norton & Company. p. 216. ISBN 0-393-04002-X.
  3. Byrne, Patrick Hugh (1997). Analysis and Science in Aristotle. New York: State University of New York Press. p. 43. ISBN 0791433218.
  4. Ryan, John (2018). Studies in Philosophy and the History of Philosophy, Volume 1. Washington, D.C.: CUA Press. p. 178. ISBN 9780813231129.
  5. Potts, Robert (1864). Euclid's Elements of Geometry, Book 1. London: Longman, Green, Longman, Roberts, & Green. p. 50.
  6. Luckhardt, C. Grant; Bechtel, William (1994). How to Do Things with Logic. Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum Associates, Publishers. p. 13. ISBN 0805800751.

แหล่งข้อมูลอื่น

อต, งกฤษ, premise, อข, อความท, กกล, าวอ, างในการอ, างเหต, ผลว, าจะอ, ปน, ยหร, อให, ความถ, กต, องก, บข, อสร, เป, นฐานคต, าส, หน, งเป, นจร, เน, อหา, คำอธ, บาย, เพ, างอ, แหล, งข, อม, ลอ, นคำอธ, บาย, แก, ไขในตรรกศาสตร, การอ, างเหต, ผล, argument, องการเซตของประโยคบ. khxtng xngkvs premise khuxkhxkhwamthithukklawxanginkarxangehtuphlwacaxupnyhruxihkhwamthuktxngkbkhxsrup 1 epnthankhtiwasing hnungepncring enuxha 1 khaxthibay 2 duephim 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunkhaxthibay aekikhintrrksastr karxangehtuphl argument txngkarestkhxngpraoykhbxkela xyangnxy sxngpraoykh hrux praphcn eriykwa khxtng phrxm kbpraoykhbxkela categorical proposition xikpraoykh hrux praphcn eriykwakhxsrup okhrngsrangkhxngkhxtngsxngkhxaelakhxsruphnungkhxnikxokhrngsrangkhxngkarxangehtuphlphunthan karxangehtuphlthisbsxnkwanisamarthichladbkhxngkttang ephuxechuxmtxkhxtnghlaykhxekhakbkhxsrupkhxediyw hruxephuxxnuphnthkhxsrupcanwnhnungcakkhxtngkhx edim sungkptibtiesmuxnepnkhxtngkhxngkhxsruptxmaephimetim twxyangkhxngniechnkarichktkhxngkarxnumanthiphbecxxyuintrrksastrechingsylksnaexristxetilthuxwakarxangehtuphlechingtrrkaid samarthldrupcnehluxkhxtngsxngkhxaelakhxsruphnungkhx 2 khxtngbangkhrngthuklaiwbangkhrng inkrninncaeriykwakhxtngthihayip twxyangechn oskratisepnmttyephraathukmnusyepnmttymnchdecnwakarklawxangthiekhaicknodypriyaykhuxthioskratisepnmnusy karihehtuphlchbbetbcungepndngwa ephraathukmnusyepnmttyaelaoskratsepnmnusy oskratisepnmttyintwxyangni xnupraoykh clause logic xisrathixyukxnewnwrrkh khux thukmnusyepnmtty aela oskratisepnmnusy epnkhxtng inkhnathi oskratisepnmtty epnkhxsrupkarphisucnkhxsrupnikhunxyukbthngkhwamcringkhxngkhxtng aelakhwamsmehtusmphl validity logic khxngkarxangehtuphl nxkcaknn eratxngkarkhxmulekiywkbkhwamhmaykhxngkhxtngephimetimephuxphicarnawakhwamhmayetmkhxngkhxsruptrngkb khxsrupthiidma ihm Instead further information is required over and above the meaning of the premise to determine if the full meaning of the conclusion coincides with what is the conclusion 3 sahrbyukhlid khxtngepntwprakxbsxnginsampraphcnintrrkbth syllogism odypraphcnthisamkhuxkhxsrup 4 praphcnaebbcdklumehlaniprakxbdwysamphcn prathanaelaphakhaesdngkhxngkhxsrupaelaphcnthixyutrngklang prathankhxngkhxsrupcaeriykwaphcnrxnginkhnathiphakhaesdngepnphcnhlk khxtngthiprakxbdwyphcnklangaelaphcnhlkeriykwakhxtnghlk aelakhxtngthiprakxbdwyphcnklangaelaphcnrxngeriykwakhxtngrxng 5 inkrnikhxngkarxangehtuphlkxnhnani phcnhlkkhuxoskratis phcnrxngkhux epn mtty aelaphcnklangkhux epn thuk mnusykhxtngksamarthepnkhabngchithakhxkhwamidthukrwmepnkarxangehtuphlechingtrrka aelakhacaphwkniptibtihnathichibthbathkhxngkhxkhwamkhxhnunghruxmakkwa 6 mncabngchiwakhxkhwamnnthimnxyukhanginepnkhxtng 6 duephim aekikhehtuphaph enguxnikhsxdkhlxng Corresponding conditional khxtngethc False premise xangxing aekikh Audi Robert b k 1999 The Cambridge Dictionary of Philosophy 2nd ed Cambridge Cambridge University Press p 43 ISBN 0 521 63136 X Argument a sequence of statements such that some of them the premises purport to give reasons to accept another of them the conclusion Gullberg Jan 1997 Mathematics From the Birth of Numbers New York W W Norton amp Company p 216 ISBN 0 393 04002 X Byrne Patrick Hugh 1997 Analysis and Science in Aristotle New York State University of New York Press p 43 ISBN 0791433218 Ryan John 2018 Studies in Philosophy and the History of Philosophy Volume 1 Washington D C CUA Press p 178 ISBN 9780813231129 Potts Robert 1864 Euclid s Elements of Geometry Book 1 London Longman Green Longman Roberts amp Green p 50 6 0 6 1 Luckhardt C Grant Bechtel William 1994 How to Do Things with Logic Hillsdale NJ Lawrence Erlbaum Associates Publishers p 13 ISBN 0805800751 aehlngkhxmulxun aekikh wikikhakhmmikhakhmekiywkb khxtng bthkhwamekiywkbprchya hrux namthrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title khxtng amp oldid 8931634, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม