fbpx
วิกิพีเดีย

ความสัมพันธ์เยอรมนี–ไทย

ความสัมพันธ์เยอรมนี-ไทย เป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเยอรมนีกับประเทศไทย ที่เริ่มต้นอย่างเป็นทางการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเยือนยุโรปใน พ.ศ. 2440 และ พ.ศ. 2450 รวมทั้งโอรสหลายพระองค์ต่างทรงรับการศึกษาที่ประเทศเยอรมนี ดังเช่น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้สำเร็จราชการในสมัยนั้น ที่ทรงอภิเษกสมรสกับสตรีชาวเยอรมัน

ความสัมพันธ์เยอรมนี–ไทย

เยอรมนี

ไทย
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์และประธานาธิบดีไฮน์ริช ลึพเคอ ระหว่างการเสด็จเยือนประเทศเยอรมนี พ.ศ. 2503

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้เอง ที่มีชาวต่างชาติรวมถึงชาวเยอรมันที่เดินทางมายังประเทศสยามเพื่อนำความรู้มาพัฒนาประเทศให้ทันสมัย ทั้งทางรถไฟ การไปรษณีย์โทรเลขต่างได้รับการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญชาวเยอรมัน รวมถึงพระเจนดุริยางค์ หรือชื่อเดิม ปีเตอร์ ไฟท์ เป็นบุตรของชาวเยอรมันที่อพยพมาอาศัยอยู่ในประเทศไทย เป็นผู้ประพันธ์ทำนองเพลงชาติไทย

ความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศนี้ยังคงมีมาโดยตลอด โครงการที่รัฐบาลเยอรมันให้ความสำคัญ คือการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ดังเช่น การวิจัยการสืบพันธุ์ของช้างเอเชีย โดยมีการขอยืมช้างไทยไปวิจัยศึกษาที่สวนสัตว์ในโคโลญ อันเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการและวิทยาศาสตร์ระหว่างสองประเทศ

การเปรียบเทียบ

  สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี   ราชอาณาจักรไทย
ตราแผ่นดิน    
ธงชาติ    
ประชากร 83,019,200 คน 68,863,514 คน
พื้นที่ 357,578 ตร.กม. (138,062 ตร.ไมล์) 513,120 ตร.กม. (198,120 ตร.ไมล์)
ความหนาแน่น 232 คน/ตร.กม. (600.9 คน/ตร.ไมล์) 132.1 คน/ตร.กม. (342.1 คน/ตร.ไมล์)
เมืองหลวง เบอร์ลิน กรุงเทพมหานคร
เมืองที่ใหญ่ที่สุด เบอร์ลิน – 3,748,148 คน (เขตปริมณฑล 6,004,857 คน) กรุงเทพมหานคร – 8,305,218 คน (เขตปริมณฑล 10,624,700 คน)
การปกครอง สหพันธรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ประมุขแห่งรัฐ ประธานาธิบดี: ฟรังค์-วัลเทอร์ ชไตน์ไมเออร์ พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
หัวหน้ารัฐบาล นายกรัฐมนตรี: อังเกลา แมร์เคิล นายกรัฐมนตรี: ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ภาษาราชการ ภาษาเยอรมัน ภาษาไทย
ศาสนาหลัก
กลุ่มชาติพันธุ์
จีดีพี (ราคาตลาด) 4.117 ล้านล้านดอลลาร์ (ต่อหัว 49,692 ดอลลาร์) 516 พันล้านดอลลาร์ (ต่อหัว 7,607 ดอลลาร์)
ค่าใช้จ่ายทางทหาร 43.9 พันล้านดอลลาร์ 5.69 พันล้านดอลลาร์

ความสัมพันธ์ทางการทูต

ในสมัยที่เยอรมนียังคงแยกเป็นรัฐเสรีหลายรัฐ ได้มีรัฐสำคัญอย่างปรัสเซียที่จัดตั้งจัดตั้งคณะทูตสันถวไมตรีแห่งปรัสเซียมายังสยาม โดยมีหัวหน้าคณะทูตคือ เคานท์ ซู ออยเลนบวร์ก พร้อมคณะ ซึ่งประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์กับชาวเยอรมันผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ โดยเดินทางมาถึงสยาม ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2405 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

การเจรจาการค้าพระราชไมตรี ด้านการค้าและการเดินเรือระหว่างสองประเทศเริ่มขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2406 โดยมีเจ้าฟ้ากรมหลวงวงศาธิราชสนิท เป็นหัวหน้าคณะเจรจาฝ่ายไทย ซึ่งทางปรัสเซียไม่มีนโยบายล่าอาณานิคมในแถบเอเชียอาคเนย์ การเจรจาเสร็จสิ้นและลงนามสัญญา ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2406 โดยสัญญาระบุถึงการปฏิบัติไมตรีต่อกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2422 ได้มีการตั้งสถานทูตไทย ณ กรุงเบอร์ลิน และ พ.ศ. 2431 ได้มีการเลื่อนระดับสถานกงสุลเยอรมนีขึ้นเป็นสถานอัครราชทูตเยอรมนี ณ กรุงเทพมหานคร

อ้างอิง

  1. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-11-14. สืบค้นเมื่อ 2011-06-17.
  2. 150 ปีความสัมพันธ์เยอรมัน-ไทย[ลิงก์เสีย]
  3. ความสัมพันธ์ไทย-เยอรมัน Thai relationship

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • คัททิยากร ศศิธรามาศ. “ความสัมพันธ์ไทย-เยอรมันจากจุดเริ่มต้นถึงสงครามโลกครั้งที่ 2: ข้อสรุปจากหลักฐานชั้นต้น.” ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (บก.), 70 ปีแห่งการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2: ไทยจากเอกสารจดหมายเหตุต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย เยอรมนี ญี่ปุ่น ตุรกี และจีน. ม.ป.ท., 2558.
  • คัททิยากร ศศิธรามาศ. “ชาวเยอรมันในสยามในสมัยรัชกาลที่ 5.” ใน ประวัติศาสตร์ใน “Twentieth Century Impressions of Siam: Its History, People, Commerce, Industries, and Resources”. พิมพ์ครั้งที่ 3. นครปฐม: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2562.
  • คัททิยากร ศศิธรามาศ. “บทบาทของ ดร.รูดอล์ฟ อาสมีส ทูตเยอรมันประจำกรุงเทพมหานครกับการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสยามและเยอรมนี พ.ศ. 2468-2475.” วารสารศิลปศาสตร์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) 13, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2556), น. 50-61.
  • ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา. “ปริทรรศน์เอกสารเกี่ยวกับสยามจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติเยอรมนี: ข้อค้นพบและการตีความเอกสารแนวใหม่.” ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (บก.), 70 ปีแห่งการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2: ไทยจากเอกสารจดหมายเหตุต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย เยอรมนี ญี่ปุ่น ตุรกี และจีน. ม.ป.ท., 2558.
  • ภาวรรณ เรืองศิลป์. “รายงานผลการค้นคว้าเอกสารทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ในหอจดหมายเหตุแห่งชาติเยอรมนี: เอกสารเยอรมันว่าด้วยค่าครองชีพในประเทศไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2.” ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (บก.), 70 ปีแห่งการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2: ไทยจากเอกสารจดหมายเหตุต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย เยอรมนี ญี่ปุ่น ตุรกี และจีน. ม.ป.ท., 2558.
  • ราตรี วานิชลักษ์. “ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับเยอรมนีตั้งแต่ พ.ศ. 2405-2460.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519.
  • Catthiyakorn Sasitharamas. Die deutsch-thailändischen Beziehungen in der Zeit der Weimarer Republik bis zum Ende des Zweiten Weltkriegs (ความสัมพันธ์ระหว่างเยอรมันกับไทยในยุคสาธารณรัฐไวมาร์จนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง). Hamburg: Verlag Dr. Kovač, 2012.
  • Catthiyakorn Sasitharamas. People in Adolf Bastian’s “Journey in Siam in 1863” (ผู้คนใน “การเดินทางสู่สยาม” ของอดอล์ฟ บาสเตียน). in Proceedings of 131st IASTEM International Conference (pp.27-31). 9th-10th August 2018.
  • Stoffers, Andreas. Im Lande des weißen Elefanten: die Beziehungen zwischen Deutschland und Thailand von den Anfängen bis 1962 (ในดินแดนของช้างเผือก: ความสัมพันธ์ระหว่างเยอรมนีกับประเทศไทยตั้งแต่ต้นจนถึงปี 1962). Bonn: Deutsch-Thailändische Gesellschaft, 1995.
  • Manich Jumsai, M.L. Documentary Thai history and Thai-Deutsche freundschaftliche Verhaettnisse (สารคดีประวัติศาสตร์ไทยและความสัมพันธ์ฉันมิตรไทย-เยอรมนี). Bangkok: Chalermnit, 1976.
  • Rathje, Stefanie. Unternehmenskultur als Interkultur: Entwicklung und Gestaltung interkultureller Unternehmenskultur am Beispiel deutscher Unternehmen in Thailand (วัฒนธรรมองค์กรในฐานะวัฒนธรรมร่วม: การพัฒนาและออกแบบวัฒนธรรมองค์กรโดยใช้ตัวอย่างของบริษัทเยอรมันในประเทศไทย). Sternenfels: Wissenschaft und Praxis, 2004.

ความส, มพ, นธ, เยอรมน, ไทย, ความส, มพ, นธ, เยอรมน, ไทย, เป, นความส, มพ, นธ, ระหว, างประเทศเยอรมน, บประเทศไทย, เร, มต, นอย, างเป, นทางการต, งแต, ชสม, ยพระบาทสมเด, จพระจอมเกล, าเจ, าอย, อมา, พระบาทสมเด, จพระจ, ลจอมเกล, าเจ, าอย, เสด, จเย, อนย, โรปใน, 2440, และ, . khwamsmphntheyxrmni ithy epnkhwamsmphnthrahwangpraethseyxrmnikbpraethsithy thierimtnxyangepnthangkartngaetrchsmyphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw 1 txma phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw esdceyuxnyuorpin ph s 2440 aela ph s 2450 rwmthngoxrshlayphraxngkhtangthrngrbkarsuksathipraethseyxrmni dngechn smedcphraecabrmwngsethx phraxngkhecarngsitprayurskdi krmphrayachynathnernthr phusaercrachkarinsmynn thithrngxphiesksmrskbstrichaweyxrmn 2 khwamsmphntheyxrmni ithy eyxrmni ithysmedcphranangecasirikitiaelaprathanathibdiihnrich luphekhx rahwangkaresdceyuxnpraethseyxrmni ph s 2503 inrchsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwniexng thimichawtangchatirwmthungchaweyxrmnthiedinthangmayngpraethssyamephuxnakhwamrumaphthnapraethsihthnsmy thngthangrthif kariprsniyothrelkhtangidrbkarsnbsnuncakphuechiywchaychaweyxrmn rwmthungphraecnduriyangkh hruxchuxedim pietxr ifth epnbutrkhxngchaweyxrmnthixphyphmaxasyxyuinpraethsithy epnphupraphnththanxngephlngchatiithy 2 khwamsmphnthrahwangsxngpraethsniyngkhngmimaodytlxd okhrngkarthirthbaleyxrmnihkhwamsakhy khuxkarwicythangwithyasastr dngechn karwicykarsubphnthukhxngchangexechiy odymikarkhxyumchangithyipwicysuksathiswnstwinokholy xnepnkaraelkepliynkhwamruthangwichakaraelawithyasastrrahwangsxngpraeths 3 enuxha 1 karepriybethiyb 2 khwamsmphnththangkarthut 3 xangxing 4 hnngsuxxanephimkarepriybethiyb aekikh shphnthsatharnrtheyxrmni rachxanackrithytraaephndin thngchati prachakr 83 019 200 khn 68 863 514 khnphunthi 357 578 tr km 138 062 tr iml 513 120 tr km 198 120 tr iml khwamhnaaenn 232 khn tr km 600 9 khn tr iml 132 1 khn tr km 342 1 khn tr iml emuxnghlwng ebxrlin krungethphmhankhremuxngthiihythisud ebxrlin 3 748 148 khn ekhtprimnthl 6 004 857 khn krungethphmhankhr 8 305 218 khn ekhtprimnthl 10 624 700 khn karpkkhrxng shphnthrth prachathipityaebbrthspha prachathipityxnmiphramhakstriythrngepnpramukhpramukhaehngrth prathanathibdi frngkh wlethxr chitnimexxr phramhakstriy phrabathsmedcphrawchireklaecaxyuhw hwhnarthbal naykrthmntri xngekla aemrekhil naykrthmntri prayuthth cnthroxchaphasarachkar phasaeyxrmn phasaithysasnahlk khrist 57 immisasna 36 xislam 5 xun 2 phuthth 94 6 xislam 4 2 khrist 1 1 xun 0 1 klumchatiphnthu eyxrmn 75 3 turki 3 3 xun 19 9 ithy 76 4 cin 14 xun 12 cidiphi rakhatlad 4 117 lanlandxllar txhw 49 692 dxllar 516 phnlandxllar txhw 7 607 dxllar khaichcaythangthhar 43 9 phnlandxllar 5 69 phnlandxllarkhwamsmphnththangkarthut aekikhinsmythieyxrmniyngkhngaeykepnrthesrihlayrth idmirthsakhyxyangprsesiythicdtngcdtngkhnathutsnthwimtriaehngprsesiymayngsyam odymihwhnakhnathutkhux ekhanth su xxyelnbwrk phrxmkhna sungprakxbdwynkwithyasastrkbchaweyxrmnphuechiywchaysakhatang odyedinthangmathungsyam n wnthi 22 phvscikayn ph s 2405 sungtrngkbrchsmykhxngphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwkarecrcakarkhaphrarachimtri dankarkhaaelakaredineruxrahwangsxngpraethserimkhuninwnthi 6 mkrakhm ph s 2406 odymiecafakrmhlwngwngsathirachsnith epnhwhnakhnaecrcafayithy sungthangprsesiyimminoybaylaxananikhminaethbexechiyxakheny karecrcaesrcsinaelalngnamsyya n wnthi 7 kumphaphnth ph s 2406 odysyyarabuthungkarptibtiimtritxkn txmainpi ph s 2422 idmikartngsthanthutithy n krungebxrlin aela ph s 2431 idmikareluxnradbsthankngsuleyxrmnikhunepnsthanxkhrrachthuteyxrmni n krungethphmhankhr 1 xangxing aekikh 1 0 1 1 exksaraenb Ministry of Foreign Affairs khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 11 14 subkhnemux 2011 06 17 2 0 2 1 150 pikhwamsmphntheyxrmn ithy lingkesiy khwamsmphnthithy eyxrmn Thai relationshiphnngsuxxanephim aekikhkhththiyakr ssithramas khwamsmphnthithy eyxrmncakcuderimtnthungsngkhramolkkhrngthi 2 khxsrupcakhlkthanchntn in smedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari bk 70 piaehngkarsinsudsngkhramolkkhrngthi 2 ithycakexksarcdhmayehtutangpraeths shrthxemrika xngkvs frngess rsesiy eyxrmni yipun turki aelacin m p th 2558 khththiyakr ssithramas chaweyxrmninsyaminsmyrchkalthi 5 in prawtisastrin Twentieth Century Impressions of Siam Its History People Commerce Industries and Resources phimphkhrngthi 3 nkhrpthm phakhwichaprawtisastr khnaxksrsastr mhawithyalysilpakr 2562 khththiyakr ssithramas bthbathkhxng dr rudxlf xasmis thuteyxrmnpracakrungethphmhankhrkbkarsrangkhwamsmphnthrahwangsyamaelaeyxrmni ph s 2468 2475 warsarsilpsastr mhawithyalythrrmsastr 13 1 m kh mi y 2556 n 50 61 tuly xisrangkur n xyuthya prithrrsnexksarekiywkbsyamcakhxcdhmayehtuaehngchatieyxrmni khxkhnphbaelakartikhwamexksaraenwihm in smedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari bk 70 piaehngkarsinsudsngkhramolkkhrngthi 2 ithycakexksarcdhmayehtutangpraeths shrthxemrika xngkvs frngess rsesiy eyxrmni yipun turki aelacin m p th 2558 phawrrn eruxngsilp raynganphlkarkhnkhwaexksarthangprawtisastrithysmysngkhramolkkhrngthi 2 inhxcdhmayehtuaehngchatieyxrmni exksareyxrmnwadwykhakhrxngchiphinpraethsithysmysngkhramolkkhrngthi 2 in smedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari bk 70 piaehngkarsinsudsngkhramolkkhrngthi 2 ithycakexksarcdhmayehtutangpraeths shrthxemrika xngkvs frngess rsesiy eyxrmni yipun turki aelacin m p th 2558 ratri wanichlks khwamsmphnthrahwangithykbeyxrmnitngaet ph s 2405 2460 withyaniphnthmhabnthit aephnkwichaprawtisastr bnthitwithyaly culalngkrnmhawithyaly 2519 Catthiyakorn Sasitharamas Die deutsch thailandischen Beziehungen in der Zeit der Weimarer Republik bis zum Ende des Zweiten Weltkriegs khwamsmphnthrahwangeyxrmnkbithyinyukhsatharnrthiwmarcnkrathngsinsudsngkhramolkkhrngthisxng Hamburg Verlag Dr Kovac 2012 Catthiyakorn Sasitharamas People in Adolf Bastian s Journey in Siam in 1863 phukhnin karedinthangsusyam khxngxdxlf basetiyn in Proceedings of 131st IASTEM International Conference pp 27 31 9th 10th August 2018 Stoffers Andreas Im Lande des weissen Elefanten die Beziehungen zwischen Deutschland und Thailand von den Anfangen bis 1962 indinaednkhxngchangephuxk khwamsmphnthrahwangeyxrmnikbpraethsithytngaettncnthungpi 1962 Bonn Deutsch Thailandische Gesellschaft 1995 Manich Jumsai M L Documentary Thai history and Thai Deutsche freundschaftliche Verhaettnisse sarkhdiprawtisastrithyaelakhwamsmphnthchnmitrithy eyxrmni Bangkok Chalermnit 1976 Rathje Stefanie Unternehmenskultur als Interkultur Entwicklung und Gestaltung interkultureller Unternehmenskultur am Beispiel deutscher Unternehmen in Thailand wthnthrrmxngkhkrinthanawthnthrrmrwm karphthnaaelaxxkaebbwthnthrrmxngkhkrodyichtwxyangkhxngbristheyxrmninpraethsithy Sternenfels Wissenschaft und Praxis 2004 bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamsmphntheyxrmni ithy amp oldid 9618961, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม