fbpx
วิกิพีเดีย

จันทรายาน-1

จันทรายาน-1 (สันสกฤต: चंद्रयान-1, เตลูกู: చంద్రయాన్-1) เป็นยานอวกาศสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ของอินเดีย ออกแบบและสร้างโดยองค์การวิจัยด้านอวกาศแห่งอินเดีย (Indian Space Research Organisation - ISRO) ส่งขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เวลา 06.22 น. ตามเวลาในท้องถิ่น หรือ 00:52 น. ตามเวลาสากลเชิงพิกัด จากศูนย์อวกาศสาทิศธาวัน รัฐอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย

จันทรายาน-1
ประเภทภารกิจLunar orbiter
ผู้ดำเนินการIndian Space Research Organisation
COSPAR ID2008-052A
SATCAT no.33405
เว็บไซต์www.isro.gov.in/Spacecraft/chandrayaan-1
ระยะภารกิจแผน: 2 ปี
Final: 10 months, 6 days
ข้อมูลยานอวกาศ
มวลขณะส่งยาน1,380 kg (3,040 lb)
มวลแห้ง560 kg (1,230 lb)
มวลบรรทุก105 kg (231 lb)
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น22 October 2008, 00:52 (2008-10-22UTC00:52) UTC
จรวดนำส่งPSLV-XL C11
ฐานส่งSatish Dhawan Second Pad
ผู้ดำเนินงานISRO
สิ้นสุดภารกิจ
ติดต่อครั้งสุดท้ายแม่แบบ:End-date UTC
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงSelenocentric
กึ่งแกนเอก1,758 กิโลเมตร (1,092 ไมล์)convert: bug
ความเยื้อง0.0
ระยะใกล้สุด200 km (120 mi)
ระยะไกลสุด200 km (120 mi)
วันที่ใช้อ้างอิง19 พฤษภาคม ค.ศ.2009
โคจรรอบ ดวงจันทร์
เข้าวงโคจร8 พฤศจิกายน ค.ศ.2008
Orbits3,400 at EOM
Indian Lunar Exploration Program
จันทรายาน-2 →
 

จันทรายาน-1 เข้าสู่วงโคจรของดวงจันทร์ในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ส่วนตัวยานลูก Moon Impact Probe ที่จันทรายาน-1 นำขึ้นไปด้วย ได้ลงจอดบริเวณขั้วใต้ของดวงจันทร์ได้สำเร็จเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ของปีเดียวกัน

จันทรายาน-1 เป็นยานสำรวจรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ น้ำหนัก 1.3 ตัน มีภารกิจโคจรรอบดวงจันทร์ เพื่อทำแผนที่พื้นผิวดวงจันทร์แบบ 3 มิติ และแผนที่ส่วนประกอบและแร่ธาตุ โดยเฉพาะการสำรวจเพื่อค้นหาฮีเลียม 3 และน้ำแข็ง โดยจะส่งยานลูก (Moon Impact probe - MIP) น้ำหนัก 30 กิโลกรัม กระทบพื้นผิวดวงจันทร์ เพื่อวิเคราะห์อนุภาคฝุ่น

อ้างอิง

  1. Datta, Jayati; Chakravarty, S. C. (PDF). VSSC.gov.in. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 16 August 2019. สืบค้นเมื่อ 16 August 2019.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ISRO-Mission
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ mission_end_1
  4. "PSLV-C11 Successfully Launches Chandrayaan-1". Indian Express. 2008-10-22. สืบค้นเมื่อ 2008-10-22. (อังกฤษ)
  5. "Chandrayaan-1 Successfully Enters Lunar Orbit". ISRO. สืบค้นเมื่อ 2008-11-08. (อังกฤษ)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของจันทรายาน-1
  • Chandrayaan-1 Mission Profile 2008-05-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by NASA's Solar System Exploration
  • NSSDC Chandrayaan-1 page


นทรายาน, สำหร, บกล, องโทรทรรศน, อวกาศของนาซา, กล, องโทรทรรศน, อวกาศจ, นทรา, นสกฤต, रय, เตล, రయ, เป, นยานอวกาศสำรวจพ, นผ, วดวงจ, นทร, ของอ, นเด, ออกแบบและสร, างโดยองค, การว, ยด, านอวกาศแห, งอ, นเด, indian, space, research, organisation, isro, งข, นส, อวกาศในว, . sahrbklxngothrthrrsnxwkaskhxngnasa duthi klxngothrthrrsnxwkascnthra cnthrayan 1 snskvt च द रय न 1 etluku చ ద రయ న 1 epnyanxwkassarwcphunphiwdwngcnthrkhxngxinediy xxkaebbaelasrangodyxngkhkarwicydanxwkasaehngxinediy Indian Space Research Organisation ISRO sngkhunsuxwkasinwnthi 22 tulakhm ph s 2551 ewla 06 22 n tamewlainthxngthin hrux 00 52 n tamewlasaklechingphikd 4 caksunyxwkassathisthawn rthxanthrpraeths praethsxinediycnthrayan 1praephthpharkicLunar orbiterphudaeninkarIndian Space Research OrganisationCOSPAR ID2008 052ASATCAT no 33405ewbistwww wbr isro wbr gov wbr in wbr Spacecraft wbr chandrayaan 1rayapharkicaephn 2 pi Final 10 months 6 dayskhxmulyanxwkasmwlkhnasngyan1 380 kg 3 040 lb mwlaehng560 kg 1 230 lb 1 mwlbrrthuk105 kg 231 lb 1 erimtnpharkicwnthisngkhun22 October 2008 00 52 2008 10 22UTC00 52 UTCcrwdnasngPSLV XL C11 2 thansngSatish Dhawan Second PadphudaeninnganISROsinsudpharkictidtxkhrngsudthayaemaebb End date UTClksnawngokhcrrabbxangxingSelenocentrickungaeknexk1 758 kiolemtr 1 092 iml convert bugkhwameyuxng0 0rayaiklsud200 km 120 mi rayaiklsud200 km 120 mi wnthiichxangxing19 phvsphakhm kh s 2009okhcrrxb dwngcnthrekhawngokhcr8 phvscikayn kh s 2008Orbits3 400 at EOM 3 Indian Lunar Exploration Programcnthrayan 2 cnthrayan 1 ekhasuwngokhcrkhxngdwngcnthrinwnthi 8 phvscikayn ph s 2551 5 swntwyanluk Moon Impact Probe thicnthrayan 1 nakhunipdwy idlngcxdbriewnkhwitkhxngdwngcnthridsaercemuxwnthi 14 phvscikayn khxngpiediywkncnthrayan 1 epnyansarwcrupsiehliymlukbask nahnk 1 3 tn mipharkicokhcrrxbdwngcnthr ephuxthaaephnthiphunphiwdwngcnthraebb 3 miti aelaaephnthiswnprakxbaelaaerthatu odyechphaakarsarwcephuxkhnhahieliym 3 aelanaaekhng odycasngyanluk Moon Impact probe MIP nahnk 30 kiolkrm krathbphunphiwdwngcnthr ephuxwiekhraahxnuphakhfunxangxing aekikh 1 0 1 1 Datta Jayati Chakravarty S C Chandrayaan 1 India s First Mission to Moon PDF VSSC gov in khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 16 August 2019 subkhnemux 16 August 2019 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux ISRO Mission xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux mission end 1 PSLV C11 Successfully Launches Chandrayaan 1 Indian Express 2008 10 22 subkhnemux 2008 10 22 xngkvs Chandrayaan 1 Successfully Enters Lunar Orbit ISRO subkhnemux 2008 11 08 xngkvs aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb cnthrayan 1ewbistxyangepnthangkarkhxngcnthrayan 1 Chandrayaan 1 Mission Profile Archived 2008 05 19 thi ewyaebkaemchchin by NASA s Solar System Exploration NSSDC Chandrayaan 1 pageekhathungcak https th wikipedia org w index php title cnthrayan 1 amp oldid 9563733, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม