fbpx
วิกิพีเดีย

ซีกโลกเหนือ

ซีกโลกเหนือ (อังกฤษ: northern hemisphere) คือบริเวณของโลกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปจนถึงขั้วโลกเหนือ ตรงข้ามกับซีกโลกใต้ ค่าพิกัดภูมิศาสตร์ของละติจูดของตำแหน่งใดก็ตามบนซีกโลกเหนือจะเป็นบวกเสมอและใช้สัญลักษณ์แทนด้วยตัว N ฤดูหนาวของพื้นที่ในซีกโลกเหนือจะเริ่มตั้งแต่เหมายัน (ราววันที่ 21 ธันวาคม) จนถึงวสันตวิษุวัต (ราววันที่ 20 มีนาคม) ส่วนฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่ครีษมายัน (ราววันที่ 21 มิถุนายน) ไปจนถึงศารทวิษุวัต (ราววันที่ 23 กันยายน)

แผนที่ทางภูมิศาสตร์ของซีกโลกเหนือ
บริเวณสีน้ำเงินคือซีกโลกเหนือ ส่วนบริเวณสีเหลืองคือซีกโลกใต้ แนวเขตที่แบ่งซีกโลกออกเป็นสองซีกคือเส้นศูนย์สูตร

ซีกโลกเหนือประกอบด้วยพื้นน้ำมากกว่าแผ่นดินอย่างชัดเจน แต่ก็ยังปกคลุมด้วยแผ่นดินมากกว่าซีกโลกใต้ ซีกโลกเหนือประกอบด้วยแผ่นดิน 39% และพื้นน้ำ 61% ประชากรราว 90% ของโลกอาศัยอยู่ในซีกโลกเหนือ แผ่นดินส่วนใหญ่เป็นทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทวีปอเมริกาเหนือ และส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกา นอกจากนี้ยังมีบางส่วนของทวีปอเมริกาใต้ กรีนแลนด์ เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มหาสมุทรที่มีพื้นที่อยู่ในซีกโลกเหนือได้แก่มหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิกและแอตแลนติกราวครึ่งหนึ่ง และมหาสมุทรอินเดียบางส่วน

จุดศูนย์กลางของซีกโลกเหนือคือขั้วโลกเหนือ ซึ่งเป็นจุดตัดทิศเหนือระหว่างขั้วโลกกับพื้นผิวของโลก ส่วนขั้วแม่เหล็กเหนือจะแปรผันไปเหนือเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล ออโรราที่เกิดขึ้นในซีกโลกเหนือเรียกว่า aurora borealis หรือ แสงเหนือ ในภาษาไทย

เนื่องจากแรงคอริออลิสจากการหมุนของโลก บริเวณความกดอากาศต่ำที่กำเนิดในซีกโลกเหนือ เช่น เฮอร์ริเคนหรือไต้ฝุ่น จะปรากฏการหมุนของพายุในทิศทวนเข็มนาฬิกาเสมอ

ซีกเหนือของดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะสามารถนิยามได้จาก บริเวณของดาวที่มีซีกฟ้าเดียวกับขั้วโลกเหนือเมื่อเทียบกับระนาบไม่แปรผันของระบบสุริยะ

พื้นที่ที่ตั้งอยู่บนซีกโลกเหนือ

อ้างอิง

  1. Peter Hupfer, Wilhelm Kuttler, Ernst Heyer, Frank-Michael Chmielewski: Witterung und Klima: eine Einführung in die Meteorologie und Klimatologie. Vieweg+Teubner Verlag, 2006, ISBN 3835100963, หน้า 13 (เยอรมัน)
  2. , Ogden, Philip E. "Density and Distribution of Population." [1] Encyclopedia of Population. Vol. 1., 2003. หน้า 221-226.
  3. Report of the IAU Working Group on cartographic coordinates and rotational elements: 2009, 23 ตุลาคม 2010

แหล่งข้อมูลอื่น

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ซีกโลกเหนือ

กโลกเหน, งกฤษ, northern, hemisphere, อบร, เวณของโลกท, อย, เหน, อเส, นศ, นย, ตรข, นไปจนถ, งข, วโลกเหน, ตรงข, ามก, บซ, กโลกใต, าพ, ดภ, ศาสตร, ของละต, ดของตำแหน, งใดก, ตามบนจะเป, นบวกเสมอและใช, ญล, กษณ, แทนด, วยต, ฤด, หนาวของพ, นท, ในจะเร, มต, งแต, เหมาย, ราวว, น. sikolkehnux xngkvs northern hemisphere khuxbriewnkhxngolkthixyuehnuxesnsunysutrkhunipcnthungkhwolkehnux trngkhamkbsikolkit khaphikdphumisastrkhxnglaticudkhxngtaaehnngidktambnsikolkehnuxcaepnbwkesmxaelaichsylksnaethndwytw N vduhnawkhxngphunthiinsikolkehnuxcaerimtngaetehmayn rawwnthi 21 thnwakhm cnthungwsntwisuwt rawwnthi 20 minakhm swnvdurxncaerimtngaetkhrismayn rawwnthi 21 mithunayn ipcnthungsarthwisuwt rawwnthi 23 knyayn aephnthithangphumisastrkhxngsikolkehnux briewnsinaenginkhuxsikolkehnux swnbriewnsiehluxngkhuxsikolkit aenwekhtthiaebngsikolkxxkepnsxngsikkhuxesnsunysutr sikolkehnuxprakxbdwyphunnamakkwaaephndinxyangchdecn aetkyngpkkhlumdwyaephndinmakkwasikolkit sikolkehnuxprakxbdwyaephndin 39 aelaphunna 61 1 prachakrraw 90 khxngolkxasyxyuinsikolkehnux 2 aephndinswnihyepnthwipyuorp thwipexechiy sungepnthwipthiihythisudinolk thwipxemrikaehnux aelaswnihykhxngthwipaexfrika nxkcakniyngmibangswnkhxngthwipxemrikait krinaelnd ekaathiihythisudinolk mhasmuthrthimiphunthixyuinsikolkehnuxidaekmhasmuthrxarktik mhasmuthraepsifikaelaaextaelntikrawkhrunghnung aelamhasmuthrxinediybangswncudsunyklangkhxngsikolkehnuxkhuxkhwolkehnux sungepncudtdthisehnuxrahwangkhwolkkbphunphiwkhxngolk swnkhwaemehlkehnuxcaaeprphnipehnuxesnxarktikesxrekhil xxorrathiekidkhuninsikolkehnuxeriykwa aurora borealis hrux aesngehnux inphasaithyenuxngcakaerngkhxrixxliscakkarhmunkhxngolk briewnkhwamkdxakastathikaenidinsikolkehnux echn ehxrriekhnhruxitfun capraktkarhmunkhxngphayuinthisthwnekhmnalikaesmxsikehnuxkhxngdawekhraahdwngxuninrabbsuriyasamarthniyamidcak briewnkhxngdawthimisikfaediywkbkhwolkehnuxemuxethiybkbranabimaeprphnkhxngrabbsuriya 3 phunthithitngxyubnsikolkehnux aekikhthwipyuorpthngthwip thwipxemrikaehnux xemrikaklangthngthwip phumiphakhaekhribebiyn ykewndinaednophnthaelbangaehng phunthiekuxbthnghmdkhxngthwipexechiy ykewntimxrtawnxxkthixyusikolkit xinodniesiyaelamldifsbangswnthimiphunthikhabekiywkbesnsunysutr phunthirawsxnginsamkhxngthwipaexfrika tngaetbriewncangxyaexfrikakhunip phunthirawhnunginsibkhxngthwipxemrikait tngaetbriewnthisehnuxkhxngpakaemnaaexmasxnkhunipxangxing aekikh Peter Hupfer Wilhelm Kuttler Ernst Heyer Frank Michael Chmielewski Witterung und Klima eine Einfuhrung in die Meteorologie und Klimatologie Vieweg Teubner Verlag 2006 ISBN 3835100963 hna 13 eyxrmn Ogden Philip E Density and Distribution of Population 1 Encyclopedia of Population Vol 1 2003 hna 221 226 Report of the IAU Working Group on cartographic coordinates and rotational elements 2009 23 tulakhm 2010aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb sikolkehnuxekhathungcak https th wikipedia org w index php title sikolkehnux amp oldid 9447426, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม