fbpx
วิกิพีเดีย

ซูเปอร์เทสเตอร์

ซูเปอร์เทสเตอร์ (อังกฤษ: supertaster แปลอย่างหนึ่งได้ว่า สุดยอดคนชิมอาหาร) เป็นบุคคลผู้ที่สามารถรับรสของสิ่งที่อยู่ที่ลิ้น ในระดับที่เข้มข้นมากกว่าคนอื่นโดยเฉลี่ย ในประชากรทั้งหมด ผู้หญิง 35% และผู้ชาย 15% เป็นซูเปอร์เทสเตอร์ และมีโอกาสที่จะสืบเชื้อสายมาจากคนเอเซีย คนอัฟริกา และคนอเมริกาใต้มากกว่าคนเชื้อชาติอื่น ๆ

เหตุของระดับการตอบสนองที่สูงขึ้นเช่นนี้ยังไม่ชัดเจน ถึงแม้จะเชื่อกันว่า มีเหตุเกี่ยวข้องกับการมียีน TAS2R38 ซึ่งทำให้สามารถรับรสของสาร Propylthiouracil และ Phenylthiocarbamide ได้ และโดยส่วนหนึ่ง มีเหตุจากมีปุ่มรูปดอกเห็ด (fungiform papillae ที่ประกอบด้วยเซลล์รับรส) บนลิ้นที่มากกว่าปกติ

การได้เปรียบของความสามารถนี้ในวิวัฒนาการไม่ใชัดเจน ในสิ่งแวดล้อมบางประเภท การตอบสนองทางรสชาติในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะต่อรสขม อาจจะเป็นความได้เปรียบที่สำคัญใช้ในการหลีกเลี่ยงสารแอลคาลอยด์ที่อาจเป็นพิษในพืช แต่ในสิ่งแวดล้อมอื่น การตอบสนองในระดับที่สูงขึ้นอาจจะจำกัดอาหารที่ทานแล้วรู้สึกอร่อย

fungiform papillae ที่ลิ้นปรากฏเพราะสีอาหารสีน้ำเงิน

คำนี้บัญญัติโดยนักจิตวิทยาเชิงทดลองชื่อว่า ลินดา บาร์โทชัก ซึ่งทำงานวิจัยเป็นอาชีพเป็นเวลานานเกี่ยวกับความแตกต่างในยีนของการรับรู้รส ในต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1990 ดร. บาร์โทชัก และคณะได้ตั้งข้อสังเกตว่า ผู้รับการทดลองบางจำพวกดูเหมือนจะมีการตอบสนองต่อรสชาติในระดับที่สูงกว่าปกติ แล้วก็ได้เริ่มเรียกบุคคลเหล่านั้นว่า ซูเปอร์เทสเตอร์[ไม่แน่ใจ] การตอบสนองในระดับที่สูงขึ้นนี้ ไม่ใช่เกิดจาก response bias หรือเกิดจากการกำหนดค่าที่ไม่เหมือนกันในระหว่างบุคคล แต่ปรากฏว่ามีรากฐานทางกายภาพหรือทางชีวภาพจริง ๆ

ประวัติ

ในปี ค.ศ. 1931 นักเคมีของบริษัทดูป็อนต์ (DuPont) ชื่อว่าอาร์เธอร์ ฟ็อกซ์ ค้นพบว่า บุคคลบางจำพวกบอกว่าสาร phenylthiocarbamide (PTC) มีรสขม แต่บางพวกกลับบอกว่า ไม่มีรส ในงานประชุมปี ค.ศ. 1931 ของสมาคมอเมริกันเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ (American Association for the Advancement of Science) ฟ็อกซ์ได้เข้าร่วมงานกับนักพันธุศาสตร์อัลเบิรต์ เบลกสลี ทำการทดลองให้ผู้เข้าประชุมลิ้มรส PTC แล้วพบว่า 65% บอกว่า ขม 28% บอกว่า ไม่มีรสชาติ และ 6% บอกว่า มีรสอื่น งานวิจัยต่อ ๆ มาพบว่า ความสามารถในการรับรสของ PTC มีเหตุมาจากยีน]

ในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 โรแลนด์ ฟิชเช่อร์ เป็นบุคคลแรกที่เชื่อมความสามารถในการลิ้มรส PTC และสารประกอบที่เกี่ยวข้องกันคือ propylthiouracil (PROP) กับความชอบใจในอาหารและกับรูปร่างของร่างกาย ปัจจุบันนี้ PROP ได้แทนที่ PTC เพื่อใช้ในงานวิจัยเกี่ยวกับการลิ้มรสเพราะ PTC มีกลิ่นกำมะถันเล็กน้อย และเพราะความกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยของ PTC

ดังที่กล่าวมาก่อน ดร. บาร์โทชักและคณะได้ค้นพบว่า กลุ่มคนผู้รับรสอาหารสามารถแบ่งออกเป็นระดับกลางและระดับซูเปอร์ ค่าประเมินโดยมากเสนอว่า 25% ในประชากรเป็นผู้รับรสพื้นฐาน (nontaster) 50% รับรสได้ในระดับกลาง และ 25% เป็นซูเปอร์เทสเตอร์

มีการเชื่อมโยงยีนของตัวรับรส TAS2R38 กับความสามารถในการได้รส PROP และ PTC แต่ว่า เหตุนี้ก็ยังไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้ได้อย่างหมดสิ้น

หลังจากนั้น ก็มีการเชื่อมต่อลักษณะทางพันธุกรรม (genotype) ประเภท T2R38 กับการชอบของหวาน ๆ ในเด็ก การหลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์ ความชุกที่สูงขึ้นของมะเร็งลำไส้ใหญ่ (เพราะการบริโภคผักผลไม้ที่ไม่เพียงพอ) และการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่

การทดสอบหาบุคคลผู้เป็นซูเปอร์เทสเตอร์

ในตอนแรก มีการตรวจหาซูเปอร์เทสเตอร์โดยเทียบระดับความรู้สึกถึงรสของ PROPโดยเทียบกับน้ำเกลือที่เป็นรสอ้างอิง แต่เพราะว่า ซูเปอร์เทสเตอร์มีความรู้สึกที่มีกำลังกว่าคนชิมอาหารระดับกลางและ nontaster การใช้รสอ้างอิงแบบนี้อาจนำไปสู่ การให้ค่ารสชาติที่แตกต่างกันตามสัดส่วนในระหว่างบุคคล (scaling artifact) ดังนั้น หลังจากนั้น จึงได้ใช้เสียง (ที่ไม่ใช่เสียงพูด) เพื่อสร้างระดับการรับรู้อ้างอิงแทน นั่นก็คือ ถ้าคนสองคนให้ค่าระดับความรู้สึกที่เท่า ๆ กันตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางกายภาพที่มีระดับเท่ากัน แต่คนหนึ่งให้ค่าความขมของสารละลาย PROP เป็นสองเท่า ผู้ทดลองก็จะสามารถมีความมั่นใจว่า มีความต่างกันจริง ๆ ไม่ใช่เป็นผลของการที่บุคคลใช้อัตราส่วนที่แตกต่างกัน[ต้องการอ้างอิง]

แต่ว่า งานวิจัยหลายงานก็ไม่ได้ใช้ระดับความรู้สึกอ้างอิงที่ข้ามระบบประสาท และทำการจำแนกบุคคลโดยค่าความขมของสารละลาย PROP หรือกระดาษที่อิ่มด้วย PROP นอกจากนั้นแล้ว ยังสามารถทำการวินิจฉัยด้วยตนที่ค่อนข้างจะแม่นยำโดยดูลิ้นแล้วหาจำนวนของปุ่มรูปดอกเห็ด (fungiform papillae)[ต้องการอ้างอิง] และสีอาหารสีน้ำเงินอาจทำงานนี้ให้ง่ายขึ้น (ดูรูป) เนื่องจากว่า มีทั้งซูเปอร์เทสเตอร์และ nontaster ในกลุ่มประชากรโดยปกติ เหมือนกับมีสีของตาและผมที่ต่าง ๆ กัน ไม่จำเป็นที่จะต้องไปหาหมอเพราะเหตุนั้น

ความไวต่ออาหารบางประเภท

แม้ว่า จะไม่มีแบบความชอบใจในการเลือกอาหารของซูเปอร์เทสเตอร์ ตัวอย่างที่มีการบันทึกไว้เกี่ยวกับอาหารเครื่องดื่มที่ซูเปอร์เทสเตอร์ไม่ชอบใจหรือไม่บริโภครวมทั้ง

โดยหลักฐานโดยอ้อม อาหารเครื่องดื่มประเภทอื่นที่ซูเปอร์เทสเตอร์อาจจะไม่ชอบใจอีก รวมทั้ง

ดูเพิ่ม

  • ภาวะขยายความรู้สึกจากกาย
  • Tetrachromacy (ภาวะที่ทำให้สามารถแยกแยะสีได้เพิ่มขึ้น)
  • ซูเปอร์เทสเตอร์ (ผู้ที่มีความสามารถรับรู้รสดีกว่าคนอื่น)
  • Hypergeusia (โรคเกี่ยวกับการลิ้มรสที่ความรู้สึกเพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติ)

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. ศัพท์ต่างประเทศที่ใช้แทนคำไทยได้ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2nd ed.). กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน. พ.ศ. 2549. ISBN 974-9588-58-4. Check date values in: |year= (help) ให้ใช้ศัพท์ต่างประเทศของคำว่า super และ taster แทนคำไทยได้, วิธีถอดอักษรโรมันเป็นไทยของราชบัณฑิตยสถานจะเขียนว่า "ซุปเป้อร์เท้สเต้อร์"
  2. http://www.dailymail.co.uk/health/article-173160/Women-better-taste.html
  3. Science of supertasters BBC
  4. Propylthiouracil เป็นยาที่แปลงมาจากสาร Thiouracil ใช้ในการรักษาโรคไทรอยด์รวมทั้งโรคคอพอกตาโปนโดยลดฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์
  5. Phenylthiocarbamide หรือเรียกว่า phenylthiourea เป็นสารประกอบประเภท organosulfur thiourea มีวงแหวนแบบ phenyl เป็นสารมีคุณสมบัติพิเศษที่มีรสชาติอาจจะเป็นขมมากหรือไม่มีรสอะไรเลย ขึ้นอยู่กับยีนของผู้ลิ้มรส
  6. Bartoshuk, Linda M.; Duffy, Valerie B.; Miller, Inglis J. (1994). "PTC/PROP tasting: Anatomy, psychophysics, and sex effects". Physiology & Behavior. 56 (6): 1165–71. doi:10.1016/0031-9384 (94) 90361-1 Check |doi= value (help). PMID 7878086.
  7. แอลคาลอยด์ เป็นกลุ่มสารประกอบเคมีที่เกิดขึ้นในธรรมชาติที่ประกอบด้วยอะตอมไนโตรเจนที่เป็นด่างโดยมาก
  8. Bartoshuk, L. M. (1991). "Sweetness: history, preference, and genetic variability". Food technology. 45 (11): 108–13. ISSN 0015-6639. INIST:5536670.
  9. response bias (แปลว่า ความลำเอียงในการตอบ) เป็น cognitive bias (แปลว่า ความลำเอียงโดยปริชาน) ซึ่งอาจมีอิทธิพลต่อการสำรวจทางสถิติ ถ้าผู้ตอบคำถามตอบปัญหาโดยคิดว่า ผู้ถามอยากจะให้ตอบอย่างนี้มากกว่าตอบตามใจของตน ปัญหานี้เกิดขึ้นได้ถ้าผู้ถามถามแบบอยากจะได้คำตอบอย่างใดอย่างหนึ่งแบบเห็นได้ชัด ๆ หรือถ้าผู้ตอบต้องการจะให้ผู้ถามพอใจด้วยคำตอบที่เป็นไปตามศีลธรรม ยกตัวอย่างก็คือ ผู้ถามอาจจะเป็นผู้หญิงที่ถามผู้ชายเกี่ยวกับทัศนคติของเขาเกี่ยวกับทารุณกรรมในครอบครัว หรือผู้ถามเป็นคนที่ปรากฏชัด ๆ ว่าเป็นผู้รักสิ่งแวดล้อมแล้วถามผู้ตอบว่า ให้ค่ากับเขตธรรมชาติเท่าไร
  10. Fox, AF (1931). "Six in ten 'tasteblind' to bitter chemical". Sci News Lett. 9: 249.
  11. Bartoshuk, LM (2000). "Psychophysical advances aid the study of genetic variation in taste". Appetite. 34 (1): 105. doi:10.1006/appe.1999.0287. PMID 10744897.
  12. Juliana Texley; Terry Kwan; John Summers (1 January 2004). Investigating Safely: A Guide for High School Teachers. NSTA Press. pp. 90–. ISBN 978-0-87355-202-8.
  13. Roxby, Philippa (9 December 2012). "Why taste is all in the senses". BBC News Health.
  14. Duffy, Valerie B.; Davidson, Andrew C.; Kidd, Judith R.; Kidd, Kenneth K.; Speed, William C.; Pakstis, Andrew J.; Reed, Danielle R.; Snyder, Derek J.; Bartoshuk, Linda M. (2004). "Bitter Receptor Gene (TAS2R38), 6-n-Propylthiouracil (PROP) Bitterness and Alcohol Intake". Alcoholism: Clinical & Experimental Research. 28 (11): 1629–37. doi:10.1097/01.ALC.0000145789.55183.D4. PMC 1397913. PMID 15547448.
  15. Bufe, Bernd; Breslin, Paul A.S.; Kuhn, Christina; Reed, Danielle R.; Tharp, Christopher D.; Slack, Jay P.; Kim, Un-Kyung; Drayna, Dennis; Meyerhof, Wolfgang (2005). "The Molecular Basis of Individual Differences in Phenylthiocarbamide and Propylthiouracil Bitterness Perception". Current Biology. 15 (4): 322–7. doi:10.1016/j.cub.2005.01.047. PMC 1400547. PMID 15723792.
  16. Hayes, J. E.; Bartoshuk, L. M.; Kidd, J. R.; Duffy, V. B. (2008). "Supertasting and PROP Bitterness Depends on More Than the TAS2R38 Gene". Chemical Senses. 33 (3): 255–65. doi:10.1093/chemse/bjm084. PMID 18209019.
  17. Mennella, J. A.; Pepino, MY; Reed, DR (2005). "Genetic and Environmental Determinants of Bitter Perception and Sweet Preferences". Pediatrics. 115 (2): e216–22. doi:10.1542/peds.2004-1582. PMC 1397914. PMID 15687429.
  18. Basson, Marc D.; Bartoshuk, Linda M.; Dichello, Susan Z.; Panzini, Lisa; Weiffenbach, James M.; Duffy, Valerie B. (2005). "Association Between 6-n-Propylthiouracil (PROP) Bitterness and Colonic Neoplasms". Digestive Diseases and Sciences. 50 (3): 483–9. doi:10.1007/s10620-005-2462-7. PMID 15810630.
  19. Cannon, Dale; Baker, Timothy; Piper, Megan; Scholand, Mary Beth; Lawrence, Daniel; Drayna, Dennis; McMahon, William; Villegas, G.Martin; Caton, Trace; Coon, Hilary; Leppert, Mark (2005). "Associations between phenylthiocarbamide gene polymorphisms and cigarette smoking". Nicotine & Tobacco Research. 7 (6): 853–8. doi:10.1080/14622200500330209. PMID 16298720.
  20. Prescott, J.; Ripandelli, N.; Wakeling, I. (2001). "Binary Taste Mixture Interactions in PROP Non-tasters, Medium-tasters and Super-tasters". Chemical Senses. 26 (8): 993–1003. doi:10.1093/chemse/26.8.993. PMID 11595676.
  21. Lanier, S; Hayes, J; Duffy, V (2005). "Sweet and bitter tastes of alcoholic beverages mediate alcohol intake in of-age undergraduates". Physiology & Behavior. 83 (5): 821. doi:10.1016/j.physbeh.2004.10.004.
  22. Sipiora, M.L; Murtaugh, M.A; Gregoire, M.B; Duffy, V.B (2000). "Bitter taste perception and severe vomiting in pregnancy". Physiology & Behavior. 69 (3): 259–67. doi:10.1016/S0031-9384 (00) 00223-7 Check |doi= value (help). PMID 10869591.
  23. Drewnowski, Adam; Henderson, Susan Ahlstrom; Levine, Alisa; Hann, Clayton (2007). "Taste and food preferences as predictors of dietary practices in young women". Public Health Nutrition. 2 (4). doi:10.1017/S1368980099000695.
  24. Drewnowski, Adam; Henderson, Susan Ahlstrom; Barratt-Fornell, Anne (2001). "Genetic taste markers and food preferences". Drug metabolism and disposition: the biological fate of chemicals. 29 (4 Pt 2): 535–8. PMID 11259346.
  25. Dinehart, M.E.; Hayes, J.E.; Bartoshuk, L.M.; Lanier, S.L.; Duffy, V.B. (2006). "Bitter taste markers explain variability in vegetable sweetness, bitterness, and intake". Physiology & Behavior. 87 (2): 304–13. doi:10.1016/j.physbeh.2005.10.018. PMID 16368118.
  26. "Health Report – 22/12/1997: Super Tasters". Abc.net.au. สืบค้นเมื่อ 2013-08-29.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Reed, Danielle R.; Tanaka, Toshiko; McDaniel, Amanda H. (2006). "Diverse tastes: Genetics of sweet and bitter perception". Physiology & Behavior. 88 (3): 215–26. doi:10.1016/j.physbeh.2006.05.033. PMC 1698869. PMID 16782140.
  • BBC Supertaster Test
  • Online 'Mendelian Inheritance in Man' (OMIM) 171200 (thiourea testing)
  • How we taste – and the truth about 'supertasters'. An interview with sensory scientist Juyun Lim of Oregon State University and winemaker John Eliassen (March 29, 2011)

เปอร, เทสเตอร, งกฤษ, supertaster, แปลอย, างหน, งได, ดยอดคนช, มอาหาร, เป, นบ, คคลผ, สามารถร, บรสของส, งท, อย, ในระด, บท, เข, มข, นมากกว, าคนอ, นโดยเฉล, ในประชากรท, งหมด, หญ, และผ, ชาย, เป, และม, โอกาสท, จะส, บเช, อสายมาจากคนเอเซ, คนอ, ฟร, กา, และคนอเมร, กาใต, ม. suepxrethsetxr 1 xngkvs supertaster aeplxyanghnungidwa sudyxdkhnchimxahar epnbukhkhlphuthisamarthrbrskhxngsingthixyuthilin inradbthiekhmkhnmakkwakhnxunodyechliy inprachakrthnghmd phuhying 35 aelaphuchay 15 epnsuepxrethsetxr 2 aelamioxkasthicasubechuxsaymacakkhnexesiy khnxfrika aelakhnxemrikaitmakkwakhnechuxchatixun 3 ehtukhxngradbkartxbsnxngthisungkhunechnniyngimchdecn thungaemcaechuxknwa miehtuekiywkhxngkbkarmiyin TAS2R38 sungthaihsamarthrbrskhxngsar Propylthiouracil 4 aela Phenylthiocarbamide 5 id aelaodyswnhnung miehtucakmipumrupdxkehd fungiform papillae thiprakxbdwyesllrbrs bnlinthimakkwapkti 6 karidepriybkhxngkhwamsamarthniinwiwthnakarimichdecn insingaewdlxmbangpraephth kartxbsnxngthangrschatiinradbthisungkhun odyechphaatxrskhm xaccaepnkhwamidepriybthisakhyichinkarhlikeliyngsaraexlkhalxyd 7 thixacepnphisinphuch aetinsingaewdlxmxun kartxbsnxnginradbthisungkhunxaccacakdxaharthithanaelwrusukxrxy fungiform papillae thilinpraktephraasixaharsinaengin khanibyytiodynkcitwithyaechingthdlxngchuxwa linda barothchk sungthanganwicyepnxachiphepnewlananekiywkbkhwamaetktanginyinkhxngkarrbrurs intnkhristthswrrsthi 1990 dr barothchk aelakhnaidtngkhxsngektwa phurbkarthdlxngbangcaphwkduehmuxncamikartxbsnxngtxrschatiinradbthisungkwapkti aelwkiderimeriykbukhkhlehlannwa suepxrethsetxr 8 imaenic phudkhuy kartxbsnxnginradbthisungkhunni imichekidcak response bias 9 hruxekidcakkarkahndkhathiimehmuxnkninrahwangbukhkhl aetpraktwamirakthanthangkayphaphhruxthangchiwphaphcring enuxha 1 prawti 2 karthdsxbhabukhkhlphuepnsuepxrethsetxr 3 khwamiwtxxaharbangpraephth 4 duephim 5 echingxrrthaelaxangxing 6 aehlngkhxmulxunprawti aekikhinpi kh s 1931 nkekhmikhxngbristhdupxnt DuPont chuxwaxarethxr fxks khnphbwa bukhkhlbangcaphwkbxkwasar phenylthiocarbamide 5 PTC mirskhm aetbangphwkklbbxkwa immirs 10 11 innganprachumpi kh s 1931 khxngsmakhmxemriknephuxkhwamkawhnathangwithyasastr American Association for the Advancement of Science fxksidekharwmngankbnkphnthusastrxlebirt eblksli thakarthdlxngihphuekhaprachumlimrs PTC aelwphbwa 65 bxkwa khm 28 bxkwa immirschati aela 6 bxkwa mirsxun nganwicytx maphbwa khwamsamarthinkarrbrskhxng PTC miehtumacakyin inkhristthswrrsthi 1960 oraelnd fichechxr epnbukhkhlaerkthiechuxmkhwamsamarthinkarlimrs PTC aelasarprakxbthiekiywkhxngknkhux propylthiouracil 4 PROP kbkhwamchxbicinxaharaelakbruprangkhxngrangkay pccubnni PROP idaethnthi PTC ephuxichinnganwicyekiywkbkarlimrsephraa PTC miklinkamathnelknxy aelaephraakhwamkngwlekiywkbkhwamplxdphykhxng PTC 12 dngthiklawmakxn dr barothchkaelakhnaidkhnphbwa klumkhnphurbrsxaharsamarthaebngxxkepnradbklangaelaradbsuepxr khapraeminodymakesnxwa 25 inprachakrepnphurbrsphunthan nontaster 50 rbrsidinradbklang aela 25 epnsuepxrethsetxr 13 mikarechuxmoyngyinkhxngtwrbrs TAS2R38 kbkhwamsamarthinkaridrs PROP 4 14 aela PTC 5 15 aetwa ehtunikyngimsamarthxthibaypraktkarnniidxyanghmdsin 16 hlngcaknn kmikarechuxmtxlksnathangphnthukrrm genotype praephth T2R38 kbkarchxbkhxnghwan inedk 17 karhlikeliyngaexlkxhxl 14 14 khwamchukthisungkhunkhxngmaernglaisihy ephraakarbriophkhphkphlimthiimephiyngphx 18 aelakarhlikeliyngkarsubbuhri 19 karthdsxbhabukhkhlphuepnsuepxrethsetxr aekikhintxnaerk mikartrwchasuepxrethsetxrodyethiybradbkhwamrusukthungrskhxng PROP 4 odyethiybkbnaekluxthiepnrsxangxing aetephraawa suepxrethsetxrmikhwamrusukthimikalngkwakhnchimxaharradbklangaela nontaster karichrsxangxingaebbnixacnaipsu karihkharschatithiaetktangkntamsdswninrahwangbukhkhl scaling artifact 11 dngnn hlngcaknn cungidichesiyng thiimichesiyngphud ephuxsrangradbkarrbruxangxingaethn nnkkhux thakhnsxngkhnihkharadbkhwamrusukthietha kntxbsnxngtxsingerathangkayphaphthimiradbethakn aetkhnhnungihkhakhwamkhmkhxngsarlalay PROP epnsxngetha phuthdlxngkcasamarthmikhwammnicwa mikhwamtangkncring imichepnphlkhxngkarthibukhkhlichxtraswnthiaetktangkn txngkarxangxing aetwa nganwicyhlayngankimidichradbkhwamrusukxangxingthikhamrabbprasath aelathakarcaaenkbukhkhlodykhakhwamkhmkhxngsarlalay PROP 20 21 hruxkradasthiximdwy PROP 22 nxkcaknnaelw yngsamarththakarwinicchydwytnthikhxnkhangcaaemnyaodydulinaelwhacanwnkhxngpumrupdxkehd fungiform papillae txngkarxangxing aelasixaharsinaenginxacthanganniihngaykhun durup enuxngcakwa mithngsuepxrethsetxraela nontaster inklumprachakrodypkti ehmuxnkbmisikhxngtaaelaphmthitang kn imcaepnthicatxngiphahmxephraaehtunnkhwamiwtxxaharbangpraephth aekikhaemwa caimmiaebbkhwamchxbicinkareluxkxaharkhxngsuepxrethsetxr twxyangthimikarbnthukiwekiywkbxaharekhruxngdumthisuepxrethsetxrimchxbichruximbriophkhrwmthng ekhruxngdummiaexlkxhxlbangpraephth 21 Brassica oleracea cultivars phuchphnthpluk Brassica oleracea mibrxkokhliepntn Brussels sprout 23 24 25 kahlapli 23 Kale 25 kaaef 23 naekrpfrut 24 chaekhiyw 24 phlitphnththwehluxng 24 karxdkaskharbxnidxxkisdinekhruxngdumechninosdaaelaebiyrepntn 26 odyhlkthanodyxxm xaharekhruxngdumpraephthxunthisuepxrethsetxrxaccaimchxbicxik rwmthng phlmakxks khuxinradbkhwamekhmkhnhnung ekluxcamirsthirunaerngkwasahrbsuepxrethsetxr txngkarxangxing duephim aekikhphawakhyaykhwamrusukcakkay Tetrachromacy phawathithaihsamarthaeykaeyasiidephimkhun suepxrethsetxr phuthimikhwamsamarthrbrursdikwakhnxun Hypergeusia orkhekiywkbkarlimrsthikhwamrusukephimkhunxyangphidpkti echingxrrthaelaxangxing aekikh sphthtangpraethsthiichaethnkhaithyid chbbrachbnthitysthan 2nd ed krungethphmhankhr rachbnthitysthan ph s 2549 ISBN 974 9588 58 4 Check date values in year help ihichsphthtangpraethskhxngkhawa super aela taster aethnkhaithyid withithxdxksrormnepnithykhxngrachbnthitysthancaekhiynwa supepxrethsetxr http www dailymail co uk health article 173160 Women better taste html Science of supertasters BBC 4 0 4 1 4 2 4 3 Propylthiouracil epnyathiaeplngmacaksar Thiouracil ichinkarrksaorkhithrxydrwmthngorkhkhxphxktaopnodyldhxromncaktxmithrxyd 5 0 5 1 5 2 Phenylthiocarbamide hruxeriykwa phenylthiourea epnsarprakxbpraephth organosulfur thiourea miwngaehwnaebb phenyl epnsarmikhunsmbtiphiessthimirschatixaccaepnkhmmakhruximmirsxairely khunxyukbyinkhxngphulimrs Bartoshuk Linda M Duffy Valerie B Miller Inglis J 1994 PTC PROP tasting Anatomy psychophysics and sex effects Physiology amp Behavior 56 6 1165 71 doi 10 1016 0031 9384 94 90361 1 Check doi value help PMID 7878086 aexlkhalxyd epnklumsarprakxbekhmithiekidkhuninthrrmchatithiprakxbdwyxatxminotrecnthiepndangodymak Bartoshuk L M 1991 Sweetness history preference and genetic variability Food technology 45 11 108 13 ISSN 0015 6639 INIST 5536670 response bias aeplwa khwamlaexiynginkartxb epn cognitive bias aeplwa khwamlaexiyngodyprichan sungxacmixiththiphltxkarsarwcthangsthiti thaphutxbkhathamtxbpyhaodykhidwa phuthamxyakcaihtxbxyangnimakkwatxbtamickhxngtn pyhaniekidkhunidthaphuthamthamaebbxyakcaidkhatxbxyangidxyanghnungaebbehnidchd hruxthaphutxbtxngkarcaihphuthamphxicdwykhatxbthiepniptamsilthrrm yktwxyangkkhux phuthamxaccaepnphuhyingthithamphuchayekiywkbthsnkhtikhxngekhaekiywkbtharunkrrminkhrxbkhrw hruxphuthamepnkhnthipraktchd waepnphurksingaewdlxmaelwthamphutxbwa ihkhakbekhtthrrmchatiethair Fox AF 1931 Six in ten tasteblind to bitter chemical Sci News Lett 9 249 11 0 11 1 Bartoshuk LM 2000 Psychophysical advances aid the study of genetic variation in taste Appetite 34 1 105 doi 10 1006 appe 1999 0287 PMID 10744897 Juliana Texley Terry Kwan John Summers 1 January 2004 Investigating Safely A Guide for High School Teachers NSTA Press pp 90 ISBN 978 0 87355 202 8 Roxby Philippa 9 December 2012 Why taste is all in the senses BBC News Health 14 0 14 1 14 2 Duffy Valerie B Davidson Andrew C Kidd Judith R Kidd Kenneth K Speed William C Pakstis Andrew J Reed Danielle R Snyder Derek J Bartoshuk Linda M 2004 Bitter Receptor Gene TAS2R38 6 n Propylthiouracil PROP Bitterness and Alcohol Intake Alcoholism Clinical amp Experimental Research 28 11 1629 37 doi 10 1097 01 ALC 0000145789 55183 D4 PMC 1397913 PMID 15547448 Bufe Bernd Breslin Paul A S Kuhn Christina Reed Danielle R Tharp Christopher D Slack Jay P Kim Un Kyung Drayna Dennis Meyerhof Wolfgang 2005 The Molecular Basis of Individual Differences in Phenylthiocarbamide and Propylthiouracil Bitterness Perception Current Biology 15 4 322 7 doi 10 1016 j cub 2005 01 047 PMC 1400547 PMID 15723792 Hayes J E Bartoshuk L M Kidd J R Duffy V B 2008 Supertasting and PROP Bitterness Depends on More Than the TAS2R38 Gene Chemical Senses 33 3 255 65 doi 10 1093 chemse bjm084 PMID 18209019 Mennella J A Pepino MY Reed DR 2005 Genetic and Environmental Determinants of Bitter Perception and Sweet Preferences Pediatrics 115 2 e216 22 doi 10 1542 peds 2004 1582 PMC 1397914 PMID 15687429 Basson Marc D Bartoshuk Linda M Dichello Susan Z Panzini Lisa Weiffenbach James M Duffy Valerie B 2005 Association Between 6 n Propylthiouracil PROP Bitterness and Colonic Neoplasms Digestive Diseases and Sciences 50 3 483 9 doi 10 1007 s10620 005 2462 7 PMID 15810630 Cannon Dale Baker Timothy Piper Megan Scholand Mary Beth Lawrence Daniel Drayna Dennis McMahon William Villegas G Martin Caton Trace Coon Hilary Leppert Mark 2005 Associations between phenylthiocarbamide gene polymorphisms and cigarette smoking Nicotine amp Tobacco Research 7 6 853 8 doi 10 1080 14622200500330209 PMID 16298720 Prescott J Ripandelli N Wakeling I 2001 Binary Taste Mixture Interactions in PROP Non tasters Medium tasters and Super tasters Chemical Senses 26 8 993 1003 doi 10 1093 chemse 26 8 993 PMID 11595676 21 0 21 1 Lanier S Hayes J Duffy V 2005 Sweet and bitter tastes of alcoholic beverages mediate alcohol intake in of age undergraduates Physiology amp Behavior 83 5 821 doi 10 1016 j physbeh 2004 10 004 Sipiora M L Murtaugh M A Gregoire M B Duffy V B 2000 Bitter taste perception and severe vomiting in pregnancy Physiology amp Behavior 69 3 259 67 doi 10 1016 S0031 9384 00 00223 7 Check doi value help PMID 10869591 23 0 23 1 23 2 Drewnowski Adam Henderson Susan Ahlstrom Levine Alisa Hann Clayton 2007 Taste and food preferences as predictors of dietary practices in young women Public Health Nutrition 2 4 doi 10 1017 S1368980099000695 24 0 24 1 24 2 24 3 Drewnowski Adam Henderson Susan Ahlstrom Barratt Fornell Anne 2001 Genetic taste markers and food preferences Drug metabolism and disposition the biological fate of chemicals 29 4 Pt 2 535 8 PMID 11259346 25 0 25 1 Dinehart M E Hayes J E Bartoshuk L M Lanier S L Duffy V B 2006 Bitter taste markers explain variability in vegetable sweetness bitterness and intake Physiology amp Behavior 87 2 304 13 doi 10 1016 j physbeh 2005 10 018 PMID 16368118 Health Report 22 12 1997 Super Tasters Abc net au subkhnemux 2013 08 29 aehlngkhxmulxun aekikhReed Danielle R Tanaka Toshiko McDaniel Amanda H 2006 Diverse tastes Genetics of sweet and bitter perception Physiology amp Behavior 88 3 215 26 doi 10 1016 j physbeh 2006 05 033 PMC 1698869 PMID 16782140 BBC Supertaster Test Online Mendelian Inheritance in Man OMIM 171200 thiourea testing How we taste and the truth about supertasters An interview with sensory scientist Juyun Lim of Oregon State University and winemaker John Eliassen March 29 2011 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title suepxrethsetxr amp oldid 5883712, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม