fbpx
วิกิพีเดีย

ตุ่มรับรส

ตุ่มรับรส (อังกฤษ: Taste buds) เป็นโครงสร้างรูปลูกเลมอน/หัวกระเทียมที่ฝังอยู่ในเนื้อเยื่อบุผิวและประกอบด้วยเซลล์รับรส 40-60 เซลล์ ซึ่งก็จะมีหน่วยรับรส (taste receptor) ที่เยื่อหุ้มเซลล์อันทำให้สามารถรับรู้รสชาติ ตุ่มรับรสจะอยู่ที่ปุ่ม (papillae) ของผิวลิ้น ที่เพดานอ่อน ที่หลอดอาหารส่วนบน ที่แก้ม และที่ฝากล่องเสียง โดยเฉลี่ยแล้ว ลิ้นมนุษย์จะมีตุ่มรับรส 2,000-8,000 ตุ่ม และแต่ละตุ่มจะมีเซลล์รับรสซึ่งอยู่ร่วมกับเซลล์ค้ำจุนกับเซลล์ต้นกำเนิดที่ฐาน (basal stem cell)

ตุ่มรับรส
(Taste buds)
แผนภาพแสดงเยื่อเมือกของลิ้นส่วนหนึ่ง โดยมีปุ่มรูปเห็ด (fungiform papillæ) 2 ปุ่ม ที่ปุ่มรูปด้าย (filiform papillæ) บางปุ่ม ส่วนยื่นของเยื่อบุผิวจะตั้งตรง ที่ปุ่มหนึ่ง พวกมันแผ่ออก ที่ปุ่ม 3 ปุ่ม มันม้วนเข้า
ตุ่มรับรส]]
รายละเอียด
ตัวระบุ
ภาษาละตินcaliculus gustatererius
MeSHD013650
นิวโรเล็กซ์ IDbirnlex_4101
TA98A15.4.00.002
TA27037
THH3.04.01.0.02116, H3.04.01.0.03013
FMA54825
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ]

โครงสร้างเหล่านี้มีบทบาทในการรับรู้รสหลัก ๆ 5 อย่าง คือ เค็ม เปรี้ยว ขม หวาน และอุมะมิ ซึ่งเมื่อรวมกันก็จะเป็นรสชาติของสิ่งที่อยู่ในปาก มีข่าวลอยว่า มีส่วนต่าง ๆ ของลิ้นที่รับรสโดยเฉพาะ ๆ แต่ความจริงลิ้นทั้งหมดสามารถรับรสได้ทุกรส ผ่านช่องเล็ก ๆ ในเนื้อเยื่อของลิ้นซึ่งเรียกได้ว่า รูรับรส (taste pore) โดยอาหารบางส่วนจะละลายในน้ำลาย ท่วมรูรับรส แล้วทำให้ถูกกับหน่วยรับรส เซลล์รับรสจะเป็นตัวส่งข้อมูลที่ได้จากหน่วยรับรสและช่องไอออนกลุ่มต่าง ๆ ไปยังเปลือกสมองส่วนรับรส (gustatory cortex) ผ่านประสาทสมองคือเส้นประสาทเฟเชียล (7), เส้นประสาทลิ้นคอหอย (9), และเส้นประสาทเวกัส (10)

ถึงกระนั้น ลิ้นบางส่วนก็ยังอาจไวรสหนึ่ง ๆ มากกว่ารสอื่น ๆ คือ

  • ปลายลิ้นจะไวรสหวานมากที่สุด
  • ข้าง ๆ ลิ้นจะไวรสเปรี้ยวและรสเค็ม
  • ด้านหลังลิ้น (ที่ปุ่มเซอร์คัมแวลเลต) จะไวรสขมมากที่สุด

ปุ่มลิ้น

ดูบทความหลักที่: ปุ่มลิ้น

ตุ่มรับรสบนลิ้นจะอยู่บนผิวที่นูนขึ้นของลิ้นซึ่งเรียกว่า ปุ่มลิ้น (lingual papilla) ซึ่งแม้มีทั้งหมด 4 ประเภท แต่เพียง 3 ประเภทเท่านั้นจะมีตุ่มรับรสบนลิ้นมนุษย์

  • ปุ่มรูปเห็ด (fungiform papillae) เป็นปุ่มที่ดูเหมือนเห็ดถ้ามองเมื่อตัดตามยาว ซึ่งโดยมากจะอยู่ที่ผิวลิ้นทางด้านหน้าและด้านข้าง และจะส่งกระแสประสาทไปทางเส้นประสาทเฟเชียล
  • ปุ่มรูปใบไม้ (foliate papillae) เป็นสันและร่องขนานที่อยู่ทางด้านหลังของลิ้นตามขอบ ๆ ปุ่มทางด้านหน้าจะส่งกระแสประสาทไปตามเส้นประสาทเฟเชียล (VII) และปุ่มทางด้านหลังจะส่งไปตามเส้นประสาทลิ้นคอหอย (IX)
  • ปุ่มเซอร์คัมแวลเลต หรือปุ่มล้อมด้วยกำแพง (circumvallate papillae) ซึ่งมนุษย์โดยมากจะมีระหว่าง 10-14 ปุ่ม จะอยู่ที่ด้านหลังของลิ้น โดยจะเรียงกันเป็นแถวหนึ่งที่แต่ละข้างของลิ้นติดกับด้านหน้าของ sulcus terminalis เฉียงไปทางด้านหลังและประจบกันที่เส้นกลางเป็นรูปตัว V เป็นปุ่มที่สัมพันธ์กับ Von Ebner's glands และส่งกระแสประสาทไปตามเส้นประสาทลิ้นคอหอย (IX)

ปุ่มลิ้นแบบที่สี่ คือ ปุ่มรูปเส้นด้าย (filiform papillae) แม้มีจำนวนมากที่สุดแต่ก็ไม่มีตุ่มรับรส เป็นปุ่มที่มีเคอราทิน (keratin) มากกว่าประเภทอื่น ๆ จึงค่อนข้างแข็งและมีบทบาทในการทำให้ลิ้นสาก

ตุ่มรับรส

ตุ่มรับรสที่ปุ่มลิ้นสามารถแยกแยะรสชาติต่าง ๆ ผ่านปฏิสัมพันธ์ที่มีกับโมเลกุลหรือไอออนต่าง ๆ รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในตุ่มรับรส

รสพื้นฐานแต่ละรสจะมีหน่วยรับรสโดยเฉพาะ ๆ ซึ่งแสดงออกในเซลล์รับรสบางส่วนโดยเฉพาะ ๆ เป็นการแสดงว่า เซลล์รับรสอุมะมิ รสหวาน และรสขม เป็นเซลล์กลุ่มต่าง ๆ กัน แต่ตุ่มรับรสซึ่งประกอบด้วยเซลล์รับรสเป็นสิบ ๆ ก็อาจมีเซลล์ที่รับรสพื้นฐานต่าง ๆ กันได้

ตุ่มรับรสประกอบด้วยเซลล์สามชนิด คือ เซลล์รับรส (gustatory cell) เซลล์ค้ำจุน (supporting/sustentacular cell) และเซลล์ต้นกำเนิด เซลล์รับรสเป็นตัวรับสารเคมีรูปกระสวย/รูปกล้วยที่อยู่ในส่วนกลางของตุ่ม แต่ละตัวจะมีนิวเคลียสรูปกลมขนาดใหญ่ใกล้ตรงกลางของเซลล์ ยอดของเซลล์จะเป็นใยขนละเอียด (microvilli) ซึ่งเรียกได้ว่า ขนรับรส (gustatory/taste hair) โดยอยู่ที่รูรับรส (taste pore) ซึ่งอยู่ที่ผิวเนื้อเยื่อของลิ้น และขนจะทำหน้าที่เป็นพื้นผิวให้หน่วยรับรสทำปฏิกิริยากับสารมีรสได้ ส่วนยื่นไปทางระบบประสาทกลางของเซลล์จะวิ่งไปทางส่วนลึกของตุ่ม และไปยุติที่ฐานเป็นปุ่มสองปุ่มหรือปุ่มเดียว เซลล์รับรสเป็นเซลล์เยื่อบุผิว (epithelial cell) ไม่ใช่เซลล์ประสาท แต่ก็มีไซแนปส์กับใยประสาทที่ฐานและมีถุงไซแนปส์ (synaptic vesicle) เพื่อหลั่งสารสื่อประสาทแบบเร้าให้ใยประสาท

เส้นประสาทเป็นใยฝอยและไร้ปลอกไมอีลิน จะวิ่งเข้าไปในตุ่มรับรส โดยไปยุติเป็นปลายละเอียดระหว่างเซลล์รับรส ๆ และเส้นประสาทเป็นใยฝอยอื่น ๆ ก็จะแตกสาขาระหว่างเซลล์ค้ำจุน ๆ แล้วยุติเป็นปลายละเอียด ๆ แต่เส้นประสาทอย่างหลังนี่เชื่อว่าสำหรับส่งข้อมูลความรู้สึกอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รส

ตุ่มรับรสจะมีอายุประมาณ 10 วัน โดยเซลล์กำเนิดที่ฐานจะแบ่งตัวแล้วทดแทนเซลล์รับรสที่ตายนั้น

ส่วนเซลล์ค้ำจุนจะเรียงตัวเหมือนกับแผ่นไม้ที่ประกอบเป็นกำแพงรอบถังไม้ใส่ของเหลวโดยล้อมรอบตุ่มไว้ แต่ก็มีบางตัวที่พบภายในตุ่มในระหว่างเซลล์รับรส ๆ แม้เซลล์ค้ำจุนจะมีรูปร่างเหมือนเซลล์รับรส แต่ก็ไม่มีขนรับรส ไม่มีถุงไซแนปส์ และไม่มีบทบาทในการรับรส

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. "taste bud", Lexitron พจนานุกรมไทย<=>อังกฤษ รุ่น 2.6, หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิทยาการมนุษยภาษา, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2546, ตุ่มรับรส (ที่ลิ้น) Check date values in: |year= (help)
  2. Saladin 2010a, pp. 595 (611)
  3. Buck & Bargmann 2013a, Taste Detection Occurs in Taste Buds, pp. 727-728
  4. "Taste Bud". Encyclopædia Britannica Online. 2009.
  5. Shier, David (2016). Hole's Human Anatomy and Physiology. New York: McGraw-Hill Education. ISBN 978-0-07-802429-0.
  6. Saladin 2010a, Physiology, pp. 595-597 (611-613)
  7. PMID 15272380 (PMID 15272380)
    Citation will be completed automatically in a few minutes. Jump the queue or expand by hand
  8. "10". Human Physiology: An integrated approach (5th ed.). Silverthorn. p. 354.
  9. Purves et al 2008a, Taste Perception in Humans, pp. 384-387
  10. Buck & Bargmann 2013a, Each Taste Is Detected by a Distinct Sensory Transduction Mechanism and Distinct Population of Taste Cells, pp. 728-732
  11. PMID 16843606 (PMID 16843606)
    Citation will be completed automatically in a few minutes. Jump the queue or expand by hand

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Saladin, KS (2010a). "16.3 The Chemical Senses". Anatomy and Physiology: The Unity of Form and Function (5th ed.). New York: McGraw-Hill. pp. 595-597 (611-613). ISBN 978-0-39-099995-5.
  • Purves, Dale; Augustine, George J; Fitzpatrick, David; Hall, William C; Lamantia, Anthony Samuel; McNamara, James O; White, Leonard E, บ.ก. (2008a). "15 - The Chemical Senses". Neuroscience (4th ed.). Sinauer Associates. pp. 363, 381–393. ISBN 978-0-87893-697-7.CS1 maint: uses editors parameter (link)
  • Buck, Linda B; Bargmann, Cornelia I (2013a). "32 - Smell and Taste: The Chemical Senses". ใน Kandel, Eric R; Schwartz, James H; Jessell, Thomas M; Siegelbaum, Steven A; Hudspeth, AJ (บ.ก.). Principles of Neural Science (5th ed.). United State of America: McGraw-Hill. pp. 712–735. ISBN 978-0-07-139011-8.CS1 maint: uses editors parameter (link) CS1 maint: ref=harv (link)
  • Taste Perception: Cracking the Code
  • Scientists Explore the Workings of Taste Buds from National Public Radio's Talk of the Nation, July 22, 2005
  • http://kidshealth.org/kid/talk/qa/taste_buds.html For kids about taste buds!
  • http://www.newser.com/story/103744/your-lungs-have-their-own-taste-buds.html

มร, บรส, งกฤษ, taste, buds, เป, นโครงสร, างร, ปล, กเลมอน, วกระเท, ยมท, งอย, ในเน, อเย, อบ, วและประกอบด, วยเซลล, บรส, เซลล, งก, จะม, หน, วยร, บรส, taste, receptor, เย, อห, มเซลล, นทำให, สามารถร, บร, รสชาต, จะอย, papillae, ของผ, วล, เพดานอ, อน, หลอดอาหารส, วนบน,. tumrbrs 1 xngkvs Taste buds epnokhrngsrangruplukelmxn hwkraethiymthifngxyuinenuxeyuxbuphiwaelaprakxbdwyesllrbrs 40 60 esll 2 3 sungkcamihnwyrbrs taste receptor thieyuxhumesllxnthaihsamarthrbrurschati tumrbrscaxyuthipum papillae khxngphiwlin thiephdanxxn thihlxdxaharswnbn thiaekm aelathifaklxngesiyng odyechliyaelw linmnusycamitumrbrs 2 000 8 000 tum 4 aelaaetlatumcamiesllrbrssungxyurwmkbesllkhacunkbeslltnkaenidthithan basal stem cell 2 tumrbrs Taste buds aephnphaphaesdngeyuxemuxkkhxnglinswnhnung odymipumrupehd fungiform papillae 2 pum thipumrupday filiform papillae bangpum swnyunkhxngeyuxbuphiwcatngtrng thipumhnung phwkmnaephxxk thipum 3 pum mnmwnekhatumrbrs raylaexiydtwrabuphasalatincaliculus gustatereriusMeSHD013650niworelks IDbirnlex 4101TA98A15 4 00 002TA27037THH3 04 01 0 02116 H3 04 01 0 03013FMA54825xphithansphthkaywiphakhsastr aekikhbnwikisneths okhrngsrangehlanimibthbathinkarrbrurshlk 5 xyang khux ekhm epriyw khm hwan aelaxumami sungemuxrwmknkcaepnrschatikhxngsingthixyuinpak mikhawlxywa miswntang khxnglinthirbrsodyechphaa aetkhwamcringlinthnghmdsamarthrbrsidthukrs phanchxngelk inenuxeyuxkhxnglinsungeriykidwa rurbrs taste pore odyxaharbangswncalalayinnalay thwmrurbrs aelwthaihthukkbhnwyrbrs 5 esllrbrscaepntwsngkhxmulthiidcakhnwyrbrsaelachxngixxxnklumtang ipyngepluxksmxngswnrbrs gustatory cortex phanprasathsmxngkhuxesnprasathefechiyl 7 esnprasathlinkhxhxy 9 aelaesnprasathewks 10 thungkrann linbangswnkyngxaciwrshnung makkwarsxun khux 6 playlincaiwrshwanmakthisud khang lincaiwrsepriywaelarsekhm danhlnglin thipumesxrkhmaewlelt caiwrskhmmakthisudenuxha 1 pumlin 2 tumrbrs 3 duephim 4 echingxrrthaelaxangxing 5 aehlngkhxmulxunpumlin aekikhdubthkhwamhlkthi pumlin tumrbrsbnlincaxyubnphiwthinunkhunkhxnglinsungeriykwa pumlin lingual papilla sungaemmithnghmd 4 praephth aetephiyng 3 praephthethanncamitumrbrsbnlinmnusy pumrupehd fungiform papillae epnpumthiduehmuxnehdthamxngemuxtdtamyaw sungodymakcaxyuthiphiwlinthangdanhnaaeladankhang aelacasngkraaesprasathipthangesnprasathefechiyl pumrupibim foliate papillae epnsnaelarxngkhnanthixyuthangdanhlngkhxnglintamkhxb pumthangdanhnacasngkraaesprasathiptamesnprasathefechiyl VII aelapumthangdanhlngcasngiptamesnprasathlinkhxhxy IX pumesxrkhmaewlelt hruxpumlxmdwykaaephng circumvallate papillae sungmnusyodymakcamirahwang 10 14 pum caxyuthidanhlngkhxnglin odycaeriyngknepnaethwhnungthiaetlakhangkhxnglintidkbdanhnakhxng sulcus terminalis echiyngipthangdanhlngaelapracbknthiesnklangepnruptw V epnpumthismphnthkb Von Ebner s glands aelasngkraaesprasathiptamesnprasathlinkhxhxy IX pumlinaebbthisi khux pumrupesnday filiform papillae aemmicanwnmakthisudaetkimmitumrbrs 7 epnpumthimiekhxrathin keratin makkwapraephthxun cungkhxnkhangaekhngaelamibthbathinkarthaihlinsaktumrbrs aekikhtumrbrsthipumlinsamarthaeykaeyarschatitang phanptismphnththimikbomelkulhruxixxxntang rshwan xumami aelakhm caerimcakkarcbknkhxngomelkulkb G protein coupled receptors thieyuxhumesllkhxngesllrbrs swnkhwamekhmaelakhwamhwancaruidemuxolhaaexlkhailhruxixxxnihodrecn tamladb ihlekhaipintumrbrs 8 rsphunthanaetlarscamihnwyrbrsodyechphaa sungaesdngxxkinesllrbrsbangswnodyechphaa epnkaraesdngwa esllrbrsxumami rshwan aelarskhm epnesllklumtang kn 9 10 aettumrbrssungprakxbdwyesllrbrsepnsib kxacmiesllthirbrsphunthantang knid 10 tumrbrsprakxbdwyesllsamchnid khux esllrbrs gustatory cell esllkhacun supporting sustentacular cell aelaeslltnkaenid 2 esllrbrsepntwrbsarekhmirupkraswy rupklwythixyuinswnklangkhxngtum aetlatwcaminiwekhliysrupklmkhnadihyikltrngklangkhxngesll yxdkhxngesllcaepniykhnlaexiyd microvilli sungeriykidwa khnrbrs gustatory taste hair odyxyuthirurbrs taste pore sungxyuthiphiwenuxeyuxkhxnglin aelakhncathahnathiepnphunphiwihhnwyrbrsthaptikiriyakbsarmirsid 2 swnyunipthangrabbprasathklangkhxngesllcawingipthangswnlukkhxngtum aelaipyutithithanepnpumsxngpumhruxpumediyw esllrbrsepneslleyuxbuphiw epithelial cell imichesllprasath aetkmiisaenpskbiyprasaththithanaelamithungisaenps synaptic vesicle ephuxhlngsarsuxprasathaebberaihiyprasath 2 esnprasathepniyfxyaelairplxkimxilin cawingekhaipintumrbrs odyipyutiepnplaylaexiydrahwangesllrbrs aelaesnprasathepniyfxyxun kcaaetksakharahwangesllkhacun aelwyutiepnplaylaexiyd aetesnprasathxyanghlngniechuxwasahrbsngkhxmulkhwamrusukxun thiimichrstumrbrscamixayupraman 10 wn 11 odyesllkaenidthithancaaebngtwaelwthdaethnesllrbrsthitaynn 2 swnesllkhacuncaeriyngtwehmuxnkbaephnimthiprakxbepnkaaephngrxbthngimiskhxngehlwodylxmrxbtumiw aetkmibangtwthiphbphayintuminrahwangesllrbrs aemesllkhacuncamiruprangehmuxnesllrbrs aetkimmikhnrbrs immithungisaenps aelaimmibthbathinkarrbrs 2 duephim aekikhaephnthilinechingxrrthaelaxangxing aekikh taste bud Lexitron phcnanukrmithy lt gt xngkvs run 2 6 hnwyptibtikarwicywithyakarmnusyphasa sunyethkhonolyixielkthrxniksaelakhxmphiwetxraehngchati sanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati krathrwngwithyasastraelaethkhonolyi 2546 tumrbrs thilin Check date values in year help 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 2 5 2 6 Saladin 2010a pp 595 611 Buck amp Bargmann 2013a Taste Detection Occurs in Taste Buds pp 727 728 Taste Bud Encyclopaedia Britannica Online 2009 Shier David 2016 Hole s Human Anatomy and Physiology New York McGraw Hill Education ISBN 978 0 07 802429 0 Saladin 2010a Physiology pp 595 597 611 613 PMID 15272380 PMID 15272380 Citation will be completed automatically in a few minutes Jump the queue or expand by hand 10 Human Physiology An integrated approach 5th ed Silverthorn p 354 Purves et al 2008a Taste Perception in Humans pp 384 387 10 0 10 1 Buck amp Bargmann 2013a Each Taste Is Detected by a Distinct Sensory Transduction Mechanism and Distinct Population of Taste Cells pp 728 732 PMID 16843606 PMID 16843606 Citation will be completed automatically in a few minutes Jump the queue or expand by handaehlngkhxmulxun aekikhSaladin KS 2010a 16 3 The Chemical Senses Anatomy and Physiology The Unity of Form and Function 5th ed New York McGraw Hill pp 595 597 611 613 ISBN 978 0 39 099995 5 Purves Dale Augustine George J Fitzpatrick David Hall William C Lamantia Anthony Samuel McNamara James O White Leonard E b k 2008a 15 The Chemical Senses Neuroscience 4th ed Sinauer Associates pp 363 381 393 ISBN 978 0 87893 697 7 CS1 maint uses editors parameter link Buck Linda B Bargmann Cornelia I 2013a 32 Smell and Taste The Chemical Senses in Kandel Eric R Schwartz James H Jessell Thomas M Siegelbaum Steven A Hudspeth AJ b k Principles of Neural Science 5th ed United State of America McGraw Hill pp 712 735 ISBN 978 0 07 139011 8 CS1 maint uses editors parameter link CS1 maint ref harv link Taste Perception Cracking the Code Scientists Explore the Workings of Taste Buds from National Public Radio s Talk of the Nation July 22 2005 http kidshealth org kid talk qa taste buds html For kids about taste buds http www newser com story 103744 your lungs have their own taste buds htmlekhathungcak https th wikipedia org w index php title tumrbrs amp oldid 7612968, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม