fbpx
วิกิพีเดีย

ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล

ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล (อังกฤษ: cosmogony; cosmogeny) หมายถึงทฤษฎีใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับที่มาของของตัวตนหรือต้นกำเนิดของจักรวาล หรือต้นตอของความเชื่อเกี่ยวกับความเป็นจริงในกำเนิดของจักรวาล คือ cosmogony มาจากภาษากรีก κοσμογονία หรือ κοσμογενία ที่กลายมาจาก κόσμος ที่แปลว่า cosmos ในบริบทเฉพาะทางวิทยาศาสตร์อวกาศและดาราศาสตร์ ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาลหมายถึงทฤษฎีว่าด้วยกำเนิดของระบบสุริยะและการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุริยะ เช่น ทฤษฎีเนบิวลาสุริยะ เป็นต้น

ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาลสามารถแยกแตกต่างออกจากวิชาจักรวาลวิทยา (Cosmology) ซึ่งเป็นการศึกษาเกี่ยวกับจักรวาลโดยรวมและเกี่ยวกับเรื่องราวตัวตนที่เป็นมาโดยตลอดของจักรวาลซึ่งโดยทางเทคนิคจะไม่แตะโดยตรงกับต้นตอแท้ ๆ ของจักรวาล อย่างไรก็ดี ก็ยังมีความคลุมเครือระหว่างระหว่างคำทั้งสองนี้อยู่บ้าง เช่น วิชาจักรวาลวิทยา ถกเถียงไปทางด้าน เทววิทยา ที่เกี่ยวข้องกับการมีตัวตนของพระเจ้ามากกว่าความคิดเกี่ยวกับจักรวาล ในเชิงปฏิบัติก็ยังคงมีความแตกต่างในความคิดทางวิทยาศาสตร์ระหว่าง "ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล" และ "จักรวาลวิทยา"

จักรวาลวิทยากายภาพ เป็นวิทยาศาสตร์ที่พยายามอธิบายถึงการสังเกตการณ์ทั้งหมดที่อยู่ในข่ายของวิวัฒนาการและลักษณะของจักรวาลโดยรวม คำถามที่ว่าทำไมจักรวาลจึงมีพฤติกรรมเป็นไปดังพรรณาไว้โดยนักฟิสิกส์และนักจักรวาลวิทยาว่าเป็นวิชานอกวิทยาศาสตร์ (extra-scientific) แม้จะมีการการอนุมานหลาย ๆ ด้าน จากมุมมองที่รวมถึงการประมาณค่านอกช่วงในทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่จะไม่ทดสอบความคิดเชิงระบอบ เชิงปรัชญาหรือทางศาสนา

ความพยายามที่จะสร้าง "ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล" เชิงธรรมชาตินิยมขึ้นอยู่กับข้อจำกัดที่แตกต่างกัน 2 ประการ ข้อแรกตั้งอยู่บนพื้นฐานของปรัชญาทางวิทยาศาสตร์และข้อจำกัดทางญาณวิทยาในวิทยาศาสตร์เอง โดยเฉพาะกับข้อห่วงใยที่การสอบสวนเชิงวิทยาศาสตร์จะตั้งคำถามว่า "ทำไม" จักรวาลจึงมีอยู่ได้ อีกข้อหนึ่งที่ค่อนมาทางปัญหาเชิงปฏิบัติคือ การไม่มีรูปจำลองทางกายภาพที่สามารถอธิบาย "ขณะแรกสุด" ของการเกิดจักรวาล ที่เรียกว่าพลังค์ไทม์ (Planck time) ได้เพราะการขาดทฤษฎีที่คงเส้นคงวา ว่าด้วยแรงโน้มถ่วงควอนตัม

ข้อจำกัดทางญาณวิทยาที่มีต่อทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล

ข้อสมมุติของฝ่ายธรรมชาตินิยมที่เน้นวิธีการเชิงวิทยาศาสตร์ได้ทำให้นักวิทยาศาสตร์บางคนโดยเฉพาะสาขาการวิจัยเชิงสังเกตตั้งคำถามว่าจริง ๆ แล้วเหตุผลขั้นอันติมะ (ultimate) หรือต้นตอแห่งการมีอยู่ของจักรวาลจะอธิบายด้วยคำตอบทางวิทยาศาสตร์ได้หรือไม่ โดยเฉพาะเมื่อ "หลักการแห่งเหตุผลอันเพียงพอ" (principle of sufficient reason) ดูเหมือนจะบ่งชี้ไปได้ว่าน่าจะมีคำตอบเช่นว่านี้ได้ แต่คำอธิบายที่น่าพอใจทางวิทยาศาสตร์จะได้มาจากการสอบสวนเชิงวิทยาศาสตร์หรือไม่ ยังเป็นเรื่องที่ต้องโต้เถียงกันได้มาก การตรวจสอบทฤษฎีการกำเนิดจักรวาลด้วยวิทยาศาสตร์ โดยใช้แบบจำลองทางกายภาพที่มีอยู่เดิมย่อมต้องพบกับความท้าทายมากพอควร ตัวอย่างเช่นสมการที่ใช้พัฒนาแบบจำลองของต้นตอที่มาในตัวมันเองแล้วก็ยังไม่สามารถอธิบายได้ว่าจักรวาลเกิดขึ้นมาได้อย่างไร

ข้อจำกัดทางพลังค์ไทม์ที่มีต่อทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล

พลังค์ไทม์ (10 ยกกำลังลบ 43 วินาที) คือเวลาที่โฟตอนเดินทางด้วยความเร็วแสงเป็นระยะทางเท่ากับ "ความยาวพลังค์" ได้มีการเสนอให้ใช้เป็น "เวลาควอนตัม" การวัดที่เล็กสุดของเวลาแม้ทฤษฎีฟิสิกส์ปัจจบันยังไม่มีการแจงนับเวลาในเชิงปริมาณ

วิชาที่เกี่ยวข้อง

  • จักรวาลวิทยา (Cosmology)
  • ลัทธิเอมาเนชัน (Emanationism )
  • คุยหจักรวาลวิทยา (Esoteric cosmology)
  • อวสารวิทยา (Eschatology)
  • การดำรงอยู่
  • จักรวาลวิทยาทางอภิปรัชญา (Metaphysical cosmology)
  • จักรวาลวิทยาศาสนา (Religious cosmology)
  • ชะตากรรมขั้นอติมะแห่งจักรวาล (Ultimate fate of the universe)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ทฤษฎีว่าด้วยสิ่งที่ทำให้จักรวาลมีขึ้นมาได้
  • คำตอบสั้นว่าด้วยเหตุใดจึงมีจักรวาล
  • จักรวาลมาจากใหน

ทฤษฎ, การกำเน, ดจ, กรวาล, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งกฤษ, cosmo. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir thvsdikarkaenidckrwal xngkvs cosmogony cosmogeny hmaythungthvsdiid thiekiywkhxngkbthimakhxngkhxngtwtnhruxtnkaenidkhxngckrwal hruxtntxkhxngkhwamechuxekiywkbkhwamepncringinkaenidkhxngckrwal khux cosmogony macakphasakrik kosmogonia hrux kosmogenia thiklaymacak kosmos thiaeplwa cosmos inbribthechphaathangwithyasastrxwkasaeladarasastr thvsdikarkaenidckrwalhmaythungthvsdiwadwykaenidkhxngrabbsuriyaaelakarsuksaekiywkbrabbsuriya echn thvsdienbiwlasuriya epntnthvsdikarkaenidckrwalsamarthaeykaetktangxxkcakwichackrwalwithya Cosmology sungepnkarsuksaekiywkbckrwalodyrwmaelaekiywkberuxngrawtwtnthiepnmaodytlxdkhxngckrwalsungodythangethkhnikhcaimaetaodytrngkbtntxaeth khxngckrwal xyangirkdi kyngmikhwamkhlumekhruxrahwangrahwangkhathngsxngnixyubang echn wichackrwalwithya thkethiyngipthangdan ethwwithya thiekiywkhxngkbkarmitwtnkhxngphraecamakkwakhwamkhidekiywkbckrwal inechingptibtikyngkhngmikhwamaetktanginkhwamkhidthangwithyasastrrahwang thvsdikarkaenidckrwal aela ckrwalwithya ckrwalwithyakayphaph epnwithyasastrthiphyayamxthibaythungkarsngektkarnthnghmdthixyuinkhaykhxngwiwthnakaraelalksnakhxngckrwalodyrwm khathamthiwathaimckrwalcungmiphvtikrrmepnipdngphrrnaiwodynkfisiksaelankckrwalwithyawaepnwichanxkwithyasastr extra scientific aemcamikarkarxnumanhlay dan cakmummxngthirwmthungkarpramankhanxkchwnginthvsdithangwithyasastrthicaimthdsxbkhwamkhidechingrabxb echingprchyahruxthangsasnakhwamphyayamthicasrang thvsdikarkaenidckrwal echingthrrmchatiniymkhunxyukbkhxcakdthiaetktangkn 2 prakar khxaerktngxyubnphunthankhxngprchyathangwithyasastraelakhxcakdthangyanwithyainwithyasastrexng odyechphaakbkhxhwngiythikarsxbswnechingwithyasastrcatngkhathamwa thaim ckrwalcungmixyuid xikkhxhnungthikhxnmathangpyhaechingptibtikhux karimmirupcalxngthangkayphaphthisamarthxthibay khnaaerksud khxngkarekidckrwal thieriykwaphlngkhithm Planck time idephraakarkhadthvsdithikhngesnkhngwa wadwyaerngonmthwngkhwxntm enuxha 1 khxcakdthangyanwithyathimitxthvsdikarkaenidckrwal 2 khxcakdthangphlngkhithmthimitxthvsdikarkaenidckrwal 3 wichathiekiywkhxng 4 duephim 5 aehlngkhxmulxunkhxcakdthangyanwithyathimitxthvsdikarkaenidckrwal aekikhkhxsmmutikhxngfaythrrmchatiniymthiennwithikarechingwithyasastridthaihnkwithyasastrbangkhnodyechphaasakhakarwicyechingsngekttngkhathamwacring aelwehtuphlkhnxntima ultimate hruxtntxaehngkarmixyukhxngckrwalcaxthibaydwykhatxbthangwithyasastridhruxim odyechphaaemux hlkkaraehngehtuphlxnephiyngphx principle of sufficient reason duehmuxncabngchiipidwanacamikhatxbechnwaniid aetkhaxthibaythinaphxicthangwithyasastrcaidmacakkarsxbswnechingwithyasastrhruxim yngepneruxngthitxngotethiyngknidmak kartrwcsxbthvsdikarkaenidckrwaldwywithyasastr odyichaebbcalxngthangkayphaphthimixyuedimyxmtxngphbkbkhwamthathaymakphxkhwr twxyangechnsmkarthiichphthnaaebbcalxngkhxngtntxthimaintwmnexngaelwkyngimsamarthxthibayidwackrwalekidkhunmaidxyangirkhxcakdthangphlngkhithmthimitxthvsdikarkaenidckrwal aekikhphlngkhithm 10 ykkalnglb 43 winathi khuxewlathioftxnedinthangdwykhwamerwaesngepnrayathangethakb khwamyawphlngkh idmikaresnxihichepn ewlakhwxntm karwdthielksudkhxngewlaaemthvsdifisikspccbnyngimmikaraecngnbewlainechingprimanwichathiekiywkhxng aekikhckrwalwithya Cosmology lththiexmaenchn Emanationism khuyhckrwalwithya Esoteric cosmology xwsarwithya Eschatology kardarngxyu ckrwalwithyathangxphiprchya Metaphysical cosmology ckrwalwithyasasna Religious cosmology chatakrrmkhnxtimaaehngckrwal Ultimate fate of the universe duephim aekikhckrwalwithya kardarngxyuaehlngkhxmulxun aekikhthvsdiwadwysingthithaihckrwalmikhunmaid khatxbsnwadwyehtuidcungmickrwal ckrwalmacakihnekhathungcak https th wikipedia org w index php title thvsdikarkaenidckrwal amp oldid 9345961, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม