fbpx
วิกิพีเดีย

ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง

ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง (อังกฤษ: Intermediate value theorem) เป็นทฤษฎีบทในสาขาการวิเคราะห์เชิงจริง ซึ่งกล่าวว่า ถ้า เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง ที่หาค่าได้บนช่วงปิด แล้ว จะมีค่าได้ทุกค่าระหว่าง และ

ภาพประกอบสำหรับทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง: ถ้า เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องนิยามบนช่วงปิด แล้วฟังก์ชันนี้จะส่งไปยังค่าทุกค่าที่อยู่ระหว่าง และ

ทฤษฎีบทนี้ให้ภาพความเป็นฟังก์ชันต่อเนื่องอย่างชัดเจน ฟังก์ชันต่อเนื่องในมุมมองทั่ว ๆ ไป คือฟังก์ชันที่กราฟไม่ขาดตอน ดังนั้นหากฟังก์ชันต่อเนื่องลากเชื่อมสองจุดใด ๆ แล้วเส้นกราฟที่เชื่อมระหว่างจุดทั้งสองต้องลากเส้นแนวนอนที่ขวางระหว่างกลางสองจุดนั้นเสมอ

เนื้อหาของทฤษฎีบท

ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง —  ให้   เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง ที่หาค่าได้บนช่วงปิด   และ   เป็นจำนวนจริงใด ๆ ที่อยู่ระหว่าง   และ   แล้วจะมี   ที่ทำให้  

ความเชื่อมโยงกับความบริบูรณ์ของจำนวนจริง

ทฤษฎีบทนี้สมมูลกับความบริบูรณ์ของระบบจำนวนจริง และไม่เป็นจริงในฟีลด์ที่ไม่มีสมบัติความบริบูรณ์ ตัวอย่างเช่น ฟังก์ชัน   ที่นิยามบน   สอดคล้องกับสมการ   และ   แต่ไม่มีจำนวนตรรกยะ   ใดที่สอดคล้องกับ   ทั้งนี้เพราะว่า   เป็นจำนวนอตรรกยะ

พิสูจน์

บทพิสูจน์นี้อาศัยความบริบูรณ์ของจำนวนจริง

พิสูจน์ —

เราจะพิสูจน์ในกรณีที่   สำหรับกรณีอื่น ๆ ทำได้เช่นกัน

ให้   เป็นเซตของจำนวน   ทั้งหมดที่ซึ่ง   แล้ว   จะไม่เป็นเซตว่างเพราะมี   เป็นสมาชิก นอกจากนี้   มีขอบเขตบนคือ  

จากสมบัติความบริบูรณ์ของจำนวนจริง จะได้ว่าขอบเขตบนน้อยสุด   มีอยู่ ให้แทนด้วย  

เราอ้างว่า  .

กำหนด   เนื่องจาก   ต่อเนื่อง ดังนั้นจะมี   ที่ทำให้   ทุกค่า   ดังนั้นจะได้ว่า

 

สำหรับทุก   โดยอาศัยสมบัติของขอบเขตบนน้อยสุด จะมี   ที่อยู่ใน   และทำให้

 .

เลือก   จะเห็นได้ว่า   เพราะ   เป็นค่าขอบเขตบนน้อยสุดของ  

จึงได้

 .

จากทั้งสองอสมการเราพบว่า

 

เป็นจริงสำหรับทุก   ซึ่งทำให้ได้ว่า   ตามต้องการ

มีบทพิสูจน์แบบอื่นที่อาศัยวิธีการผ่าครึ่ง (Bisection method) ซึ่งนำไปสู่ขั้นตอนวิธีการหารากโดยใช้วิธีการผ่าครึ่ง

หมายเหตุ: ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลางสามารถพิสูจน์ได้ในการวิเคราะห์แบบไม่มาตรฐาน ซึ่งใช้แนวความคิดเกี่ยวกับกณิกนันต์อย่างรัดกุม

บทแทรก

ทฤษฎีบทต่อนี้เป็นผลโดยทันทีจากทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง

  • ทฤษฎีบทของบ็อลท์ซาโน (Bolzano's theorem): ถ้าฟังก์ชันต่อเนื่องเปลี่ยนเครื่องหมายบนช่วงใด แล้วฟังก์ชันนั้นจะมีรากในช่วงนั้น
  • ภาพของฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงใด จะเป็นช่วงด้วย


อ้างอิง

  1. Körner, T. W. (2004). A companion to analysis : a second first and first second course in analysis. Providence, R.I.: American Mathematical Society. ISBN 0-8218-3447-9. OCLC 53038515.
  2. Sanders, Sam (2017). "Nonstandard Analysis and Constructivism!". arΧiv:1704.00281 [math.LO]. 

ดูเพิ่ม

ลิงก์เพิ่มเติม

ทฤษฎ, บทค, าระหว, างกลาง, งกฤษ, intermediate, value, theorem, เป, นทฤษฎ, บทในสาขาการว, เคราะห, เช, งจร, งกล, าวว, displaystyle, เป, นฟ, งก, นต, อเน, อง, หาค, าได, บนช, วงป, displaystyle, แล, displaystyle, จะม, าได, กค, าระหว, าง, displaystyle, และ, displaystyl. thvsdibthkharahwangklang xngkvs Intermediate value theorem epnthvsdibthinsakhakarwiekhraahechingcring sungklawwa tha f displaystyle f epnfngkchntxenuxng thihakhaidbnchwngpid a b displaystyle a b aelw f displaystyle f camikhaidthukkharahwang f a displaystyle f a aela f b displaystyle f b phaphprakxbsahrbthvsdibthkharahwangklang tha f displaystyle f epnfngkchntxenuxngniyambnchwngpid a b displaystyle a b aelwfngkchnnicasngipyngkhathukkhathixyurahwang f a displaystyle f a aela f b displaystyle f b thvsdibthniihphaphkhwamepnfngkchntxenuxngxyangchdecn fngkchntxenuxnginmummxngthw ip khuxfngkchnthikrafimkhadtxn dngnnhakfngkchntxenuxnglakechuxmsxngcudid aelwesnkrafthiechuxmrahwangcudthngsxngtxnglakesnaenwnxnthikhwangrahwangklangsxngcudnnesmx enuxha 1 enuxhakhxngthvsdibth 2 khwamechuxmoyngkbkhwambriburnkhxngcanwncring 3 phisucn 4 bthaethrk 5 xangxing 6 duephim 7 lingkephimetimenuxhakhxngthvsdibth aekikhthvsdibthkharahwangklang ih f displaystyle f epnfngkchntxenuxng thihakhaidbnchwngpid a b displaystyle a b aela c displaystyle c epncanwncringid thixyurahwang f a displaystyle f a aela f b displaystyle f b aelwcami x a b displaystyle x in a b thithaih f x c displaystyle f x c khwamechuxmoyngkbkhwambriburnkhxngcanwncring aekikhthvsdibthnismmulkbkhwambriburnkhxngrabbcanwncring aelaimepncringinfildthiimmismbtikhwambriburn 1 twxyangechn fngkchn f x x 2 2 displaystyle f x x 2 2 thiniyambn Q displaystyle mathbb Q sxdkhlxngkbsmkar f 0 2 displaystyle f 0 2 aela f 2 2 displaystyle f 2 2 aetimmicanwntrrkya x displaystyle x idthisxdkhlxngkb f x 0 displaystyle f x 0 thngniephraawa 2 displaystyle sqrt 2 epncanwnxtrrkyaphisucn aekikhbthphisucnnixasykhwambriburnkhxngcanwncring phisucn eracaphisucninkrnithi f a lt u lt f b displaystyle f a lt u lt f b sahrbkrnixun thaidechnknih S displaystyle S epnestkhxngcanwn x a b displaystyle x in a b thnghmdthisung f x u displaystyle f x leq u aelw S displaystyle S caimepnestwangephraami a displaystyle a epnsmachik nxkcakni S displaystyle S mikhxbekhtbnkhux b displaystyle b caksmbtikhwambriburnkhxngcanwncring caidwakhxbekhtbnnxysud sup S displaystyle sup S mixyu ihaethndwy c displaystyle c eraxangwa f c u displaystyle f c u kahnd e gt 0 displaystyle varepsilon gt 0 enuxngcak f displaystyle f txenuxng dngnncami d gt 0 displaystyle delta gt 0 thithaih f x f c lt e displaystyle f x f c lt varepsilon thukkha x c lt d displaystyle x c lt delta dngnncaidwa f x e lt f c lt f x e displaystyle f x varepsilon lt f c lt f x varepsilon dd sahrbthuk x c d c d displaystyle x in c delta c delta odyxasysmbtikhxngkhxbekhtbnnxysud cami a c d c displaystyle a in c delta c thixyuin S displaystyle S aelathaih f c lt f a e u e displaystyle f c lt f a varepsilon leq u varepsilon dd eluxk a c c d displaystyle a in c c delta caehnidwa a S displaystyle a not in S ephraa c displaystyle c epnkhakhxbekhtbnnxysudkhxng S displaystyle S cungid f c gt f a e gt u e displaystyle f c gt f a varepsilon gt u varepsilon dd cakthngsxngxsmkareraphbwa u e lt f c lt u e displaystyle u varepsilon lt f c lt u varepsilon dd epncringsahrbthuk e gt 0 displaystyle varepsilon gt 0 sungthaihidwa f c u displaystyle f c u tamtxngkar mibthphisucnaebbxunthixasywithikarphakhrung Bisection method 1 sungnaipsukhntxnwithikarharakodyichwithikarphakhrunghmayehtu thvsdibthkharahwangklangsamarthphisucnidinkarwiekhraahaebbimmatrthan sungichaenwkhwamkhidekiywkbkniknntxyangrdkum 2 bthaethrk aekikhthvsdibthtxniepnphlodythnthicakthvsdibthkharahwangklang thvsdibthkhxngbxlthsaon Bolzano s theorem thafngkchntxenuxngepliynekhruxnghmaybnchwngid aelwfngkchnnncamirakinchwngnn phaphkhxngfngkchntxenuxngbnchwngid caepnchwngdwyxangxing aekikh 1 0 1 1 Korner T W 2004 A companion to analysis a second first and first second course in analysis Providence R I American Mathematical Society ISBN 0 8218 3447 9 OCLC 53038515 Sanders Sam 2017 Nonstandard Analysis and Constructivism arXiv 1704 00281 math LO duephim aekikhthvsdibthkhaechliy thvsdibthcudtrungkhxngebrawexxrlingkephimetim aekikhbthphisucnin Mizar system http mizar org version current html topreal5 html T4ekhathungcak https th wikipedia org w index php title thvsdibthkharahwangklang amp oldid 9287760, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม