fbpx
วิกิพีเดีย

ปมประสาทรากหลัง

ในกายวิภาคศาสตร์และประสาทวิทยาศาสตร์ ปมประสาทรากหลัง หรือ ปมประสาทไขสันหลัง (อังกฤษ: dorsal root ganglion หรือ spinal ganglion, ganglion sensorium nervi spinalis, ตัวย่อ DRG) เป็นปุ่มเล็กๆ บนรากหลัง (dorsal root) ของไขสันหลัง ที่มีเซลล์ประสาทซึ่งส่งสัญญาณจากอวัยวะรับความรู้สึก ไปยังศูนย์รวบรวมสัญญาณที่เหมาะสมในระบบประสาทกลาง ใยประสาทที่นำสัญญาณไปยังระบบประสาทกลาง (คือสมองหรือไขสันหลัง) เรียกว่า ใยประสาทนำเข้า (afferent nerve fiber)

ปมประสาทรากหลัง (Dorsal root ganglion)
ปมประสาทรากหลังของตัวอ่อนของไก่มีอายุได้ประมาณ 7 วันหลังจากการฟักตัวคืนหนึ่งในสารมี nerve growth factor, ย้อมสีด้วย anti-neurofilament antibody สามารถมองเห็นแอกซอนที่งอกออกมาจากปมประสาทได้
ใยประสาทไขสันหลังพร้อมกับรากด้านหน้าและด้านหลัง ปมประสาทรากหลังมีป้ายว่า "spinal ganglion" ถัดจากรากหน้าและรากหลัง
รายละเอียด
คัพภกรรมneural crest
ตัวระบุ
ภาษาละตินganglion sensorium nervi spinalis
MeSHD005727
TA98A14.2.00.006
TA26167
FMA5888
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ]

โครงสร้างมีขั้วเดียวที่ไม่เหมือนใคร

แอกซอนของเซลล์ประสาทในปมประสาทรากหลังเรียกว่า ใยประสาทนำเข้า (afferent nerve fiber) ในระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system) ใยประสาทนำเข้าหมายถึงแอกซอนที่ส่งข้อมูลความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง (คือสมองหรือไขสันหลัง) เซลล์ประสาทเหล่านี้เป็นประเภท "มีขั้วเดียวเทียม (pseudo-unipolar)" ซึ่งหมายความว่ามีแอกซอนเดียวที่แบ่งออกเป็นสองสาขาที่เรียกว่า "ส่วนยืดปลาย (distal process)" และ "ส่วนยืดประชิด (proximal process)"

เซลล์ประสาทอาจมีส่วนประกอบ 3 คือ

  1. เดนไดรต์ที่รับแล้วส่งข้อมูลไปยังตัวเซลล์ (soma)
  2. ตัวเซลล์ (soma) - ตัวของเซลล์ประสาท
  3. แอกซอน ซึ่งส่งข้อมูลไปจากตัวเซลล์

ในเซลล์ประสาทหนึ่งๆ เดนไดรต์รับข้อมูลมากจากแอกซอนของอีกเซลล์ประสาทหนึ่งผ่านไซแนปส์ แล้วก็ส่งข้อมูลไปยังเดนไดรต์ของอีกเซลล์ประสาทหนึ่ง

แต่โดยที่ไม่เหมือนเซลล์ประสาทส่วนมากในระบบประสาทกลาง ศักยะงานในปมประสาทรากหลังอาจจะเริ่มที่ส่วนยืดปลาย (distal process) ไม่เดินทางผ่านตัวเซลล์ แต่เดินทางต่อไปตามส่วนยืดประชิด (proximal process) จนกระทั่งถึง synaptic terminal (ปลายไซแนปส์) ในปีกหลังของไขสันหลัง (posterior horn of spinal cord)

ส่วนยืดปลาย

ส่วนยืดปลาย (distal process) ของแอกซอนอาจจะมีลักษณะเป็นปลายประสาทอิสระ หรือถูกหุ้มอยู่ในแคปซูล ที่ช่วยส่งข้อมูลเฉพาะบางอย่างไปทางใยประสาท ยกตัวอย่างเช่น Meissner's corpuscle หรือ Pacinian corpuscle อาจจะเป็นตัวหุ้มปลายประสาท ทำให้ส่วนยืดปลายมีความไวต่อตัวกระตุ้นเชิงกล คือการสัมผัสเบาๆ หรือแรงสั่นสะเทือนตามลำดับ

ตำแหน่ง

ปมประสาทรากหลังอยู่ตามลำกระดูกสันหลัง (vertebral column)

การพัฒนาในเอ็มบริโอ

ปมประสาทรากหลังมีการพัฒนาในตัวอ่อนจากเซลล์ neural crest ไม่ใช่ neural tube ดังนั้น ปมประสาทไขสันหลังสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นเนื้อเทาของไขสันหลัง เป็นเนื้อเทาที่ย้ายมาอยู่ในส่วนรอบนอกของระบบประสาทกลาง

โนซิเซ็ปชั่น

Proton-sensing G protein-coupled receptors (ตัวรับโปรตอนคู่กับโปรตีนจี) ปรากฏด้วยการแสดงออกของยีน (gene expression) บนเซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) ของปมประสาทรากหลัง และอาจมีบทบาทในโนซิเซ็ปชั่นที่ตอบสนองต่อสารกรด

ประตูไวแรงกล

ปลายประสาทของเซลล์ประสาทในปมประสาทรากหลัง (DRG) มีตัวรับรู้ความรู้สึกหลายประเภทที่ตอบสนองต่อตัวกระตุ้นเชิงกล เชิงอุณหภูมิ เชิงเคมี และตัวกระตุ้นอันตราย (noxious stimuli)

ในเซลล์ประสาทรับความรู้สึกเหล่านี้ มีประตูไออนกลุ่มหนึ่ง ที่สันนิษฐานกับว่า มีหน้าที่ถ่ายโอนการกระทบสัมผัส. แรงกดดันที่ DRG ของตัวกระตุ้นเชิงกลย่อมลดระดับศักย์ขีดเริ่มเปลี่ยนของเยื่อหุ้มเซลล์ ที่จำเป็นในการเหนี่ยวนำการตอบสนองและการยิงศักยะงานของ DRG และการยิงศักยะงานนี้อาจจะดำเนินต่อไปหลังจากที่นำตัวกระตุ้นออกไปแล้ว

มีการค้นพบประตูไอออนไวแรงกล (mechanosensitive ion channel) 2 ประเภทในเซลล์ประสาทของ DRG ประตูทั้งสองนั้นจำแนกอย่างคร่าวๆ ว่าเป็นแบบขีดเริ่มเปลี่ยนสูง (high-threshold ตัวย่อ HT) หรือแบบขีดเริ่มเปลี่ยนต่ำ (low threshold ตัวย่อ LT) โดยไปเป็นตามชื่อนั่นแหละ ประตูทั้งสองมีขีดเริ่มเปลี่ยนและความไวต่อแรงกดดันในระดับแตกต่างกัน ประตูแคตไอออนเหล่านี้ ปรากฏว่ามีการทำงานที่ถูกควบคุมโดยการทำงานอย่างถูกต้องของระบบเส้นใยของเซลล์ (cytoskeleton) และโปรตีนที่สัมพันธ์กับระบบเส้นใยของเซลล์ ความมีอยู่ของประตูเหล่านี้ใน DRG เป็นเหตุผลให้เชื่อได้ว่า เซลล์ประสาทรับความรู้สึกประเภทอื่นๆ อาจจะมีประตูเหล่านี้เช่นกัน

ประตูไวแรงกลมีขีดเริ่มเปลี่ยนสูง

ประตูที่มีขีดเริ่มเปลี่ยนสูง (HT) อาจมีบทบาทในโนซิเซ็ปชั่น ประตูเหล่านี้พบได้โดยมากในเซลล์ประสาทรับความรู้สึกเล็กๆ ใน DRG และเริ่มทำงานโดยแรงดันระดับสูง ซึ่งเป็นคุณสมบัติสองอย่างของโนซิเซ็ปเตอร์

ยิ่งกว่านั้นแล้ว ขีดเริ่มเปลี่ยนของประตู HT ลดระดับลงเมื่อประสบกับ Prostaglandin E2 ซึ่งเป็นสารประกอบที่เพิ่มความไวให้กับเซลล์ประสาท ต่อตัวกระตุ้นเชิงกลและการรู้สึกเจ็บมากกว่าปกติ (hyperalgesia) ที่เกิดจากตัวกระตุ้นเชิงกล เป็นหลักฐานอีกอย่างหนึ่งที่สนับสนุนบทบาทของประตู HT ในการถ่ายโอนตัวกระตุ้นเชิงกลไปเป็นสัญญาณประสาทในกระบวนการโนซิเซ็ปชั่น

ดู

  • รากหลัง (dorsal root)

หมายเหตุและอ้างอิง

  1. ปีกหลังของไขสันหลัง (posterior horn of spinal cord) เป็นปีกเนื้อเทาด้านหลังของไขสันหลัง มีหน้าที่รับข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึกต่างๆ จากกาย รวมทั้งความสัมผัสเบา การรับรู้อากัปกิริยา (proprioception) และความสั่นสะเทือน ข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึกเหล่านี้มาจากหน่วยรับความรู้สึกที่ผิวหนัง กระดูก และข้อต่อ ของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่มีตัวเซลล์อยู่ที่ปมประสาทรากหลัง
  2. Kandel ER, Schwartz JH, Jessell TM. Principles of Neural Science, 4th ed., p.431-433. McGraw-Hill, New York (2000). ISBN 0-8385-7701-6
  3. การแสดงออกของยีน (gene expression) คือขบวนการที่ข้อมูลต่างๆ ของยีน ถูกนำมาใช้เพื่อการสังเคราะห์โปรตีนและกรดไรโบนิวคลีอิก (RNA) อันเป็นผลิตภัณฑ์ของยีน
  4. Huang CW, Tzeng JN, Chen YJ, Tsai WF, Chen CC, Sun WH (2007). "Nociceptors of dorsal root ganglion express proton-sensing G-protein-coupled receptors". Mol. Cell. Neurosci. 36 (2): 195–210. doi:10.1016/j.mcn.2007.06.010. PMID 17720533.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  5. PMID 11850451 (PMID 11850451)
    Citation will be completed automatically in a few minutes. Jump the queue or expand by hand
  6. การถ่ายโอน ในสรีรวิทยา (อังกฤษ: Transduction (Physiology)) คือการเปลี่ยนตัวกระตุ้นแบบหนึ่งไปยังอีกแบบหนึ่ง การถ่ายโอนในระบบประสาทมักจะหมายถึงการส่งสัญญาณเพื่อแจ้งการตรวจพบตัวกระตุ้น โดยที่ตัวกระตุ้นเชิงกล ตัวกระตุ้นเชิงเคมี หรือเชิงอื่นๆ ถูกเปลี่ยนเป็นศักยะงานประสาท แล้วส่งไปทางแอกซอน ไปสู่ระบบประสาทกลางซึ่งเป็นศูนย์รวบรวมสัญญาณประสาทเพื่อประมวลผล
  7. PMID 8893432 (PMID 8893432)
    Citation will be completed automatically in a few minutes. Jump the queue or expand by hand
  8. PMID 10579219 (PMID 10579219)
    Citation will be completed automatically in a few minutes. Jump the queue or expand by hand

ภาพต่างๆ

แหล่งข้อมูลอื่นๆ

  • SUNY Figs 02:04-09
  • ภาพเนื้อเยื่อจากมหาวิทยาลัยบอสตัน 04401loa (อังกฤษ)
  • ภาพของแบบจำลอง at มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต
  • แผนผัง ที่ webanatomy.net
  • ภาพ ที่ uwlax.edu

ปมประสาทรากหล, ในกายว, ภาคศาสตร, และประสาทว, ทยาศาสตร, หร, ปมประสาทไขส, นหล, งกฤษ, dorsal, root, ganglion, หร, spinal, ganglion, ganglion, sensorium, nervi, spinalis, วย, เป, นป, มเล, กๆ, บนรากหล, dorsal, root, ของไขส, นหล, เซลล, ประสาทซ, งส, งส, ญญาณจากอว, ยว. inkaywiphakhsastraelaprasathwithyasastr pmprasathrakhlng hrux pmprasathikhsnhlng xngkvs dorsal root ganglion hrux spinal ganglion ganglion sensorium nervi spinalis twyx DRG epnpumelk bnrakhlng dorsal root khxngikhsnhlng thimiesllprasathsungsngsyyancakxwywarbkhwamrusuk ipyngsunyrwbrwmsyyanthiehmaasminrabbprasathklang iyprasaththinasyyanipyngrabbprasathklang khuxsmxnghruxikhsnhlng eriykwa iyprasathnaekha afferent nerve fiber pmprasathrakhlng Dorsal root ganglion pmprasathrakhlngkhxngtwxxnkhxngikmixayuidpraman 7 wnhlngcakkarfktwkhunhnunginsarmi nerve growth factor yxmsidwy anti neurofilament antibody samarthmxngehnaexksxnthingxkxxkmacakpmprasathidiyprasathikhsnhlngphrxmkbrakdanhnaaeladanhlng pmprasathrakhlngmipaywa spinal ganglion thdcakrakhnaaelarakhlngraylaexiydkhphphkrrmneural cresttwrabuphasalatinganglion sensorium nervi spinalisMeSHD005727TA98A14 2 00 006TA26167FMA5888xphithansphthkaywiphakhsastr aekikhbnwikisneths enuxha 1 okhrngsrangmikhwediywthiimehmuxnikhr 2 swnyudplay 3 taaehnng 4 karphthnainexmbriox 5 onsiespchn 6 pratuiwaerngkl 6 1 pratuiwaerngklmikhiderimepliynsung 7 du 8 hmayehtuaelaxangxing 9 phaphtang 10 aehlngkhxmulxunokhrngsrangmikhwediywthiimehmuxnikhr aekikhaexksxnkhxngesllprasathinpmprasathrakhlngeriykwa iyprasathnaekha afferent nerve fiber inrabbprasathswnplay peripheral nervous system iyprasathnaekhahmaythungaexksxnthisngkhxmulkhwamrusukipyngrabbprasathklang khuxsmxnghruxikhsnhlng esllprasathehlaniepnpraephth mikhwediywethiym pseudo unipolar sunghmaykhwamwamiaexksxnediywthiaebngxxkepnsxngsakhathieriykwa swnyudplay distal process aela swnyudprachid proximal process esllprasathxacmiswnprakxb 3 khux ednidrtthirbaelwsngkhxmulipyngtwesll soma twesll soma twkhxngesllprasath aexksxn sungsngkhxmulipcaktwesllinesllprasathhnung ednidrtrbkhxmulmakcakaexksxnkhxngxikesllprasathhnungphanisaenps aelwksngkhxmulipyngednidrtkhxngxikesllprasathhnungaetodythiimehmuxnesllprasathswnmakinrabbprasathklang skyanganinpmprasathrakhlngxaccaerimthiswnyudplay distal process imedinthangphantwesll aetedinthangtxiptamswnyudprachid proximal process cnkrathngthung synaptic terminal playisaenps inpikhlngkhxngikhsnhlng posterior horn of spinal cord 1 swnyudplay aekikhswnyudplay distal process khxngaexksxnxaccamilksnaepnplayprasathxisra hruxthukhumxyuinaekhpsul thichwysngkhxmulechphaabangxyangipthangiyprasath yktwxyangechn Meissner s corpuscle hrux Pacinian corpuscle xaccaepntwhumplayprasath thaihswnyudplaymikhwamiwtxtwkratunechingkl khuxkarsmphseba hruxaerngsnsaethuxntamladb 2 taaehnng aekikhpmprasathrakhlngxyutamlakraduksnhlng vertebral column karphthnainexmbriox aekikhpmprasathrakhlngmikarphthnaintwxxncakesll neural crest imich neural tube dngnn pmprasathikhsnhlngsamarthphicarnaidwaepnenuxethakhxngikhsnhlng epnenuxethathiyaymaxyuinswnrxbnxkkhxngrabbprasathklangonsiespchn aekikhProton sensing G protein coupled receptors twrboprtxnkhukboprtinci praktdwykaraesdngxxkkhxngyin gene expression 3 bnesllprasathrbkhwamrusuk sensory neuron khxngpmprasathrakhlng aelaxacmibthbathinonsiespchnthitxbsnxngtxsarkrd 4 pratuiwaerngkl aekikhplayprasathkhxngesllprasathinpmprasathrakhlng DRG mitwrbrukhwamrusukhlaypraephththitxbsnxngtxtwkratunechingkl echingxunhphumi echingekhmi aelatwkratunxntray noxious stimuli 5 inesllprasathrbkhwamrusukehlani mipratuixxnklumhnung thisnnisthankbwa mihnathithayoxn 6 karkrathbsmphs aerngkddnthi DRG khxngtwkratunechingklyxmldradbskykhiderimepliynkhxngeyuxhumesll thicaepninkarehniywnakartxbsnxngaelakaryingskyangankhxng DRG 7 aelakaryingskyangannixaccadaenintxiphlngcakthinatwkratunxxkipaelw 7 mikarkhnphbpratuixxxniwaerngkl mechanosensitive ion channel 2 praephthinesllprasathkhxng DRG pratuthngsxngnncaaenkxyangkhraw waepnaebbkhiderimepliynsung high threshold twyx HT hruxaebbkhiderimepliynta low threshold twyx LT 5 odyipepntamchuxnnaehla pratuthngsxngmikhiderimepliynaelakhwamiwtxaerngkddninradbaetktangkn pratuaekhtixxxnehlani praktwamikarthanganthithukkhwbkhumodykarthanganxyangthuktxngkhxngrabbesniykhxngesll cytoskeleton aelaoprtinthismphnthkbrabbesniykhxngesll 5 khwammixyukhxngpratuehlaniin DRG epnehtuphlihechuxidwa esllprasathrbkhwamrusukpraephthxun xaccamipratuehlaniechnkn pratuiwaerngklmikhiderimepliynsung aekikh pratuthimikhiderimepliynsung HT xacmibthbathinonsiespchn pratuehlaniphbidodymakinesllprasathrbkhwamrusukelk in DRG aelaerimthanganodyaerngdnradbsung sungepnkhunsmbtisxngxyangkhxngonsiespetxr 5 yingkwannaelw khiderimepliynkhxngpratu HT ldradblngemuxprasbkb Prostaglandin E2 sungepnsarprakxbthiephimkhwamiwihkbesllprasath txtwkratunechingklaelakarrusukecbmakkwapkti hyperalgesia thiekidcaktwkratunechingkl epnhlkthanxikxyanghnungthisnbsnunbthbathkhxngpratu HT inkarthayoxn 6 twkratunechingklipepnsyyanprasathinkrabwnkaronsiespchn 5 7 8 du aekikhrakhlng dorsal root hmayehtuaelaxangxing aekikh pikhlngkhxngikhsnhlng posterior horn of spinal cord epnpikenuxethadanhlngkhxngikhsnhlng mihnathirbkhxmulekiywkbkhwamrusuktang cakkay rwmthngkhwamsmphseba karrbruxakpkiriya proprioception aelakhwamsnsaethuxn khxmulekiywkbkhwamrusukehlanimacakhnwyrbkhwamrusukthiphiwhnng kraduk aelakhxtx khxngesllprasathrbkhwamrusukthimitwesllxyuthipmprasathrakhlng Kandel ER Schwartz JH Jessell TM Principles of Neural Science 4th ed p 431 433 McGraw Hill New York 2000 ISBN 0 8385 7701 6 karaesdngxxkkhxngyin gene expression khuxkhbwnkarthikhxmultang khxngyin thuknamaichephuxkarsngekhraahoprtinaelakrdirobniwkhlixik RNA xnepnphlitphnthkhxngyin Huang CW Tzeng JN Chen YJ Tsai WF Chen CC Sun WH 2007 Nociceptors of dorsal root ganglion express proton sensing G protein coupled receptors Mol Cell Neurosci 36 2 195 210 doi 10 1016 j mcn 2007 06 010 PMID 17720533 CS1 maint multiple names authors list link 5 0 5 1 5 2 5 3 5 4 PMID 11850451 PMID 11850451 Citation will be completed automatically in a few minutes Jump the queue or expand by hand 6 0 6 1 karthayoxn insrirwithya xngkvs Transduction Physiology khuxkarepliyntwkratunaebbhnungipyngxikaebbhnung karthayoxninrabbprasathmkcahmaythungkarsngsyyanephuxaecngkartrwcphbtwkratun odythitwkratunechingkl twkratunechingekhmi hruxechingxun thukepliynepnskyanganprasath aelwsngipthangaexksxn ipsurabbprasathklangsungepnsunyrwbrwmsyyanprasathephuxpramwlphl 7 0 7 1 7 2 PMID 8893432 PMID 8893432 Citation will be completed automatically in a few minutes Jump the queue or expand by hand PMID 10579219 PMID 10579219 Citation will be completed automatically in a few minutes Jump the queue or expand by handphaphtang aekikh ikhsnhlng pmprasathrakhlngepnpumelk thiiyprasathmisinaengin karekidkhunkhxngiyprasathikhsnhlngcakrakhlng dorsal root aela rakhna ventral root phaphaesdngokhrngsrangkhxngiyprasathikhsnhlng spinal nerve aehlngkhxmulxun aekikhSUNY Figs 02 04 09 phaphenuxeyuxcakmhawithyalybxstn 04401loa xngkvs phaphkhxngaebbcalxng at mhawithyalyoxihoxsett aephnphng thi webanatomy net phaph thi uwlax eduekhathungcak https th wikipedia org w index php title pmprasathrakhlng amp oldid 5458843, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม