fbpx
วิกิพีเดีย

ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์

ประวัติการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของอวัยวะในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาในสัตว์ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20

ภาพวาดทางกายวิภาคแสดงหลอดเลือดดำในร่างกาย ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13

การศึกษาในยุคโบราณ

อียิปต์โบราณ

การศึกษากายวิภาคศาสตร์เริ่มขึ้นอย่างเร็วที่สุดเมื่อราว 1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในยุคอียิปต์โบราณบน กระดาษปาปิรุส เอ็ดวิน สมิธ (Edwin Smith papyrus) บทความในกระดาษนั้นกล่าวถึงหัวใจ, หลอดเลือดของหัวใจ, ตับ, ม้าม, ไต, มดลูก, และกระเพาะปัสสาวะ และทราบว่าหลอดเลือดออกมาจากหัวใจ มีการกล่าวถึงหลอดเลือดหลอดอื่นๆ ว่าบางเส้นขนส่งอากาศ เมือก และหลอดเลือด 2 เส้นที่ไปทางหูข้างขวาเชื่อกันว่าขนส่ง ลมหายใจแห่งชีวิต (breath of life) ในขณะที่หลอดเลือด 2 เส้นที่ไปทางหูซ้ายขนส่ง ลมหายใจแห่งความตาย (breath of death) ในกระดาษปาปิรุสเอแบส (Ebers papyrus, ประมาณ 1550 ปีก่อนคริสต์ศักราช) กล่าวถึง บทความเกี่ยวกับหัวใจ โดยกล่าวว่าหัวใจเป็นศูนย์กลางในการสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงตามหลอดเลือดที่เลี้ยงทุกส่วนของร่างกาย ชาวอียิปต์โบราณไม่ค่อยมีความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่ของไต และเชื่อว่าหัวใจเป็นจุดรวมของหลอดเลือดที่ทำหน้าที่ขนส่งของเหลวทุกชนิดในร่างกายไม่ว่าจะเป็นเลือด, น้ำตา, ปัสสาวะ, และน้ำอสุจิ

กรีกโบราณ

นักวิทยาศาสตร์การแพทย์สมัยก่อนซึ่งงานของท่านยังคงมีประโยชน์อย่างมากในปัจจุบันคือ ฮิปโปกราเตส (Hippocrates) แพทย์ชาวกรีกที่มีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาลถึงต้นศตวรรษที่ 4 ก่อรคริสตกาล (460 - 377 ปีก่อนคริสต์ศักราช) งานของเขาแสดงถึงความเข้าใจพื้นฐานของโครงสร้างของกล้ามเนื้อและกระดูก และการเริ่มต้นความเข้าใจของการทำงานของอวัยวะบางชนิด เช่น ไต แม้ว่างานของเขาส่วนใหญ่ รวมทั้งงานของลูกศิษย์และผู้ศึกษาในเวลาต่อมาจะเน้นการสังเกตใคร่ครวญทางทฤษฎีมากกว่าการทดลองปฏิบัติ

ในช่วงศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล อริสโตเติลและนักปราชญ์ร่วมสมัยได้สร้างระบบที่ศึกษาจากการปฏิบัติมากขึ้น โดยใช้พื้นฐานการเรียกรู้จากการชำแหละสัตว์ งานที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานี้ทำให้สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอวัยวะได้ถูกต้องแม่นยำมากกว่าในอดีต

การศึกษาเพื่อวิจัยทางกายวิภาคจากศพมนุษย์ครั้งแรกเกิดขึ้นภายหลังในศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล เมื่อฮีโรฟิโลส (Herophilos) และอีราซิสทราทุส (Erasistratus) ได้ทำการชำแหละศพที่เมืองอเล็กซานเดรียภายใต้ความอุปถัมภ์ของราชวงศ์ปโตเลมี ฮีโรฟิโลสถือได้ว่าเป็นผู้พัฒนาความรู้ทางกายวิภาคจากการศึกษาจากโครงสร้างจริงของร่างกายมนุษย์มากขึ้นจากอดีต

กาเลน

นักกายวิภาคคนสำคัญคนสุดท้ายของยุคโบราณคือ กาเลน (Galen) มีชีวิตในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 2 เขารวบรวมความรู้จากงานเขียนในสมัยก่อน และศึกษาหน้าที่ของอวัยวะโดยการชำแหละสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ งานภาพวาดของเขาซึ่งมักจะเป็นกายวิภาคศาสตร์ของสุนัข กลายมาเป็นตำรากายวิภาคศาสตร์มาเป็นเวลากว่า 1500 ปี แม้ตัวตำราเดิมนั้นได้สูญหายไปแล้ว และงานของเขาเป็นที่รู้จักกันเฉพาะในหมู่แพทย์ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance) โดยผ่านทางการเก็บรักษาอย่างดีและถ่ายทอดโดยแพทย์ชาวอาหรับ เนื่องจากมีข้อห้ามทางศาสนาในการเป็นนักกายวิภาคซึ่งกินเวลานานหลายศตวรรษนับตั้งแต่ยุคกาเลนเป็นต้นไป กาเลนจึงคาดเดาเอาว่าโครงสร้างทางกายวิภาคในสุนัขคล้ายคลึงกับในมนุษย์ และทำการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในสุนัขแทน และทำให้การศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ต้องหยุดลงในยุโรป

การศึกษาในยุคกลาง

หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน การศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ได้หยุดชะงักลงในทวีปยุโรปซึ่งนับถือศาสนาคริสต์ซึ่งมีข้อกำหนดทางศาสนาที่เคร่งครัด แต่กลับรุ่งเรืองขึ้นในยุคกลางของโลกอิสลาม ที่ซึ่งแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวมุสลิมได้อุทิศตัวอย่างหนักในการศึกษาความรู้และวัฒนธรรมในยุคกลาง แพทย์ชาวเปอร์เซียชื่อว่า อวิเซนนา หรืออาบู อาลี อัล-ฮุเซน อิบน์ อับด์ อัลลอฮ์ อิบน์ ซีนา (Avicenna, Abū ʿAlī al-Ḥusayn ibn ʿAbd Allāh ibn Sīnā; ภาษาเปอร์เซีย: ابو علی الحسین ابن عبدالله ابن سینا) (ค.ศ. 980 - ค.ศ. 1037) ได้ซึมซับการสอนวิชากายวิภาคศาสตร์ของกาเลนและได้เพิ่มเติมลงใน The Canon of Medicine (ทศวรรษที่ 1020) ซึ่งนับว่ามีอิทธิพลอย่างมากต่อทั้งโลกอิสลามและโลกคริสเตียนของยุโรป The Canon เป็นตำราทางกายวิภาคที่เชื่อถือได้มากที่สุดในโลกอิสลามจนกระทั่ง อิบน์ อัล-นาฟิส (Ibn al-Nafis) ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เมื่อตำรานี้ได้เผยแพร่มาในยุโรปจนกระทั่งมีบทบาทโดดเด่นถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16

อิบน์ ซุห์ร (Ibn Zuhr หรือ Avenzoar, ค.ศ. 1091 - ค.ศ. 1161) เป็นแพทย์ชาวอาหรับคนแรกที่ทำการชำแหละร่างกายมนุษย์และการชันสูตรศพ และพิสูจน์ว่าโรคหิดเกิดจากเชื้อปรสิต ซึ่งเป็นการค้นพบที่ค้านกับทฤษฎี humorism ของฮิปโปกราเตสและกาเลนที่เชื่อว่าโรคเกิดมาจากความไม่สมดุลขององค์ประกอบสี่อย่างของมนุษย์ได้แก่ น้ำดีสีดำ, น้ำดีสีเหลือง, เลือด, และเสมหะ การนำปรสิตออกจากร่างกายของคนไข้ก็ไม่ได้เกี่ยวกับการอาเจียน การเอาเลือดออก หรือการรักษาแบบดั้งเดิมที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบสี่อย่างของมนุษย์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 แพทย์ประจำพระองค์ของสุลต่านศอลาฮุดดีน (Saladin) ชื่อ อิบน์ จุไม (Ibn Jumay) เป็นหนึ่งในคนแรกๆ ที่ทำการชำแหละร่างกายมนุษย์ และได้ทำให้แพทย์คนอื่นๆ สนใจและศึกษาตาม ในช่วง ค.ศ. 1200 เกิดความแห้งแล้งในอียิปต์ อับด์-เอล-ละติฟ (Abd-el-latif) ได้สังเกตและศึกษาโครงกระดูกมนุษย์จำนวนมาก และค้นพบว่ากาเลนกล่าวผิดเกี่ยวกับรูปร่างของกระดูกกรามล่างและกระเบนเหน็บ (sacrum)

อิบน์ อัล-นาฟิส

แพทย์ชาวอาหรับนามว่า อิบน์ อัล-นาฟิส (Ibn al-Nafis, ค.ศ. 1213 - ค.ศ. 1288) เป็นหนึ่งในคนแรกๆ ที่เสนอการชำแหละร่างกายมนุษย์และการชันสูตรศพ และในปี ค.ศ. 1242 เขาเป็นคนแรกที่อธิบายระบบการไหลเวียนปอด (pulmonary circulation) และระบบไหลเวียนโคโรนารี (coronary circulation) ซึ่งเป็นพื้นฐานของรวามรู้เรื่องระบบไหลเวียนโลหิต เขาจึงได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งทฤษฎีการไหลเวียน อิบน์ อัล-นาฟิสยังเป็นผู้ที่อธิบายความคิดแรกเริ่มของเมแทบอลิซึม และได้พัฒนาระบบการศึกษากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาขึ้นมาแทนที่ลัทธิของอวิเซนนาและกาเลน ด้วยการล้มล้างความเชื่อที่ผิดๆ เกี่ยวกับทฤษฎี humorism, การคลำชีพจร, กระดูก, กล้ามเนื้อ, ลำไส้, อวัยวะรับความรู้สึก, ท่อน้ำดี, หลอดอาหาร, กระเพาะอาหาร, และกายวิภาคของร่างกายมนุษย์แทบทุกส่วน

การศึกษาในยุคใหม่ช่วงแรก

 
ภาพวาดทางกายวิภาคในปี ค.ศ. 1559 โดย Juan Valverde de Amusco ในรูปเป็นคนที่มือหนึ่งถือมีดและอีกมือหนึ่งถือผิวหนังของตัวเอง

ผลงานของกาเลนและอวิเซนนา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง The Canon of Medicine ซึ่งได้รับการสอนควบคู่กันไป ได้ถูกแปลเป็นภาษาละติน และ Canon เป็นตำราทางกายวิภาคที่เชื่อถือได้มากที่สุดในการเรียนแพทยศาสตร์ในยุโรปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 พัฒนาการของกายวิภาคศาสตร์ครั้งใหญ่ครั้งแรกในยุโรปนักตั้งแต่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันเกิดขึ้นที่โบโลญญา (Bologna) ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 16 ซึ่งมีผู้ชำแหละศพมนุษย์จำนวนมากซึ่งอุทิศตนในการพยายามอธิบายอวัยวะต่างๆ ให้ถูกต้องแม่นยำมากขึ้นและอธิบายหน้าที่ของมันอย่างชัดเจน นักกายวิภาคศาสตร์คนสำคัญเหล่านี้ เช่น มอนดีโน เด ลีอุซซี (Mondino de Liuzzi) และ อาเลซซานโดร อากิลลีนี (Alessandro Achillini)

การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อลัทธิของกาเลนในยุโรปครั้งแรกเกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 16 จากอิทธิพลของการพิมพ์ที่ทำให้ผลงานของกาเลนและอวิเซนนาถูกเผยแพร่ไปทั่วยุโรป และต่อมามีการพิมพ์บทวิจารณ์ต่อผลงานดังกล่าว แอนเดรียส เวซาเลียส (Andreas Vesalius) เป็นบุคคลแรกที่พิมพ์บทความ De humani corporis fabrica ที่ท้าทายความเชื่อของกาเลนโดยการเดินทางจากลิวเวน (Leuven) โดยหาเลี้ยงชีพด้วยการวาดภาพตลอดการเดินทาง เพื่อไปยังปาดัว (Padua) เพื่อขออนุญาตชำแหละศพนักโทษประหารโดยไม่เกรงกลัวต่อการถูกประหัตประหาร ภาพวาดของเขานับเป็นคำอธิบายมี่สำคัญที่อธิบายความแตกต่างระหว่างสุนัขและมนุษย์ และแสดงถึงความสามารถในการวาดภาพที่ดีเลิศ นักกายวิภาคในเวลาต่อมาหลายคนได้ท้าทายความเชื่อของกาเลนในตำราของพวกเขาทั้งๆ ที่ความเชื่อของกาเลนเคยมีอิทธิพลอย่างสูงสุดต่อความรู้ด้านกายวิภาคในศตวรรษที่ผ่านมา

นักวิจัยในช่วงเวลาต่อมาได้ดำเนินการปรับปรุงการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ให้ดียิ่งขึ้น พร้อมทั้งมีการตั้งชื่อโครงสร้างในร่างกายอีกเป็นจำนวนมาก ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 มีการพัฒนาอย่างเห็นได้ชัดในการทำความเข้าใจระบบไหลเวียนโลหิต ไม่ว่าจะเป็นความเข้าใจหน้าที่ของลิ้นในหลอดเลือดดำ การอธิบายการไหลของเลือดจากหัวใจห้องล่างซ้ายไปห้องล่างขวาผ่านทางระบบไหลเวียนโลหิต และสามารถระบุว่าหลอดเลือดดำตับ (hepatic vein) เป็นโครงสร้างหนึ่งที่แยกออกมาในระบบไหลเวียนโลหิต นอกจากนี้ยังสามารถแยกระบบน้ำเหลืองออกเป็นอีกหนึ่งระบบอวัยวะได้ในช่วงระยะเวลานี้

คริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18

 
ภาพ Anatomy Lesson of Dr. Nicolaes Tulp โดย แรมบรังด์ แสดงภาพของการสาธิตการชำแหละศพในสมัยศตวรรษที่ 17

การศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์มีความเฟื่องฟูในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โดยมีการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ช่วยในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เนื่องจากการศึกษากายวิภาคศาสตร์จะเกี่ยวกับการสังเกตและภาพวาด นักกายวิภาคศาสตร์จะมีชื่อเสียงหรือไม่จึงขึ้นกับฝีมือการวาดภาพของเขาโดยไม่จำเป็นต้องเชี่ยวชาญภาษาละติน ศิลปินที่มีชื่อเสียงหลายคนก็ศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เข้าเรียนการชำแหละร่างกาย และวาดภาพเพื่อหารายได้ เช่น มีเกลันเจโล (Michelangelo) หรือ แรมบรังด์ (Rembrandt) ในช่วงแรกๆ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงสอนเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์โดยผ่านทางภาพวาดแทนที่จะสอนตามเนื้อหาภาษาละติน สิ่งที่ขัดขวางการศึกษากายวิภาคศาสตร์เพียงอย่างเดียวในช่วงเวลานี้คือคำตำหนิของฝ่ายศาสนา ซึ่งทำให้นักกายวิภาคศาสตร์หลายคนเกิดความหวาดกลัวเมื่อต้องชำแหละร่างกายมนุษย์ เพราะว่าในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา แม้ว่าจะเป็นยุคที่วิทยาศาสตร์มีความเฟื่องฟูและการค้นพบต่างๆ มากมาย แต่ศาสนาก็มีอิทธิพลอย่างมากดังเช่นกรณีของกาลิเลโอซึ่งถูกศาลศาสนาลงโทษเพราะตีพิมพ์ผลงานขัดแย้งกับฝ่ายศาสนา นักวิทยาศาสตร์บางคนในยุคนี้กลัวเกินกว่าจะเดินทางจากเมืองหนึ่งไปอีกเมืองหนึ่ง เช่น เรอเน เดส์การตส์ (Descartes) นักกายวิภาคศาสตร์เพียงบางคนเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้ชำแหละร่างกายมนุษย์เพื่อศึกษา บางครั้งได้รับอนุญาตเพียงปีเดียว การแสดงการชำแหละร่างกายมนุษย์นี้มักได้รับการสนับสนุนจากสภาของเมือง และบางครั้งอาจต้องเก็บค่าธรรมเนียมราวกับเป็นการแสดงของนักวิชาการ เมืองในยุโรปหลายเมืองเช่น อัมสเตอร์ดัม, ลอนดอน, โคเปนเฮเกน, ปาดัว, และปารีส มีนักกายวิภาคหลวง (Royal anatomists) ที่เชื่อมโยงกับรัฐบาลท้องถิ่น เช่น นีโคลัส ทุลพ์ (Nicolaes Tulp) นักกายวิภาคศาสตร์ที่ดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองอัมสเตอร์ดัม 3 สมัย แม้ว่าการแสดงการชำแหละร่างกายมนุษย์ค่อนข้างเป็นธุรกิจที่เสี่ยง และไม่แน่นอนว่าจะหาร่างกายมนุษย์มาจากที่ใด แต่การเข้าชมการชำแหละร่างกายมนุษย์นั้นถูกกฎหมาย นักเรียนกายวิภาคศาสตร์หลายคนเดินทางรอบทวีปยุโรปเพื่อเข้าชมการศึกษาร่างกายมนุษย์ที่แล้วที่เล่าตลอดหลักสูตรการเรียน พวกเขาต้องเดินทางไปตามที่ต่างๆ ซึ่งมีศพมนุษย์ที่เพิ่งเสียชีวิตให้ศึกษา (เช่น หลังจากการแขวนคอ) เพราะว่าหากปล่อยทิ้งไว้ร่างกายอาจเน่าสลายไปจนไม่เหมาะที่จะนำมาศึกษา เนื่องจากยังไม่มีการคิดค้นระบบแช่เย็นในสมัยนั้น

ชาวยุโรปหลายคนที่สนใจการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์เดินทางไปยังอิตาลี ซึ่งต่อมากลายเป็นศูนย์กลางของวิชากายวิภาคศาสตร์ เฉพาะในอิตาลีเท่านั้นที่มีการศึกษาวิจัยที่เฉพาะบางอย่าง เช่น การศึกษาร่างกายผู้หญิง รีอัลโด โคลอมโบ (Realdo Colombo) และกาเบรียล ฟัลลอพพีโอ (Gabriele Falloppio) เป็นนักเรียนของแอนเดรียส เวซาเลียส นักกายวิภาคในศตวรรษที่ 16 โคลอมโบซึ่งในเวลาต่อมาเป็นผู้สืบทอดวิชานี้จากเวซาเลียสในเมืองปาดัว ซึ่งต่อมาได้เขาเป็นศาสตราจารย์ที่โรม ได้ปรับปรุงและแก้ไขกายวิภาคศาสตร์ของกระดูก อธิบายรูปร่างและช่องต่างๆ ในหัวใจ หลอดเลือดแดงพัลโมนารี และหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตาและลิ้นหัวใจ และติดตามทางเดินของเลือดจากหัวใจจากห้องขวาไปห้องซ้าย อธิบายสมองและหลอดเลือดสมอง และทำความเข้าใจหูชั้นในให้ถูกต้อง และเป็นคนแรกที่อธิบายเวนทริเคิลของกล่องเสียง ในเวลาเดียวกันนั้นเองก็มีการพัฒนาวิชาวิทยากระดูก (Osteology) เกิดขึ้นโดยความพยายามของจีโอวานนี ฟิลิพโพ อินกรัสซียัส (Giovanni Filippo Ingrassias)

การศึกษาในคริสต์ศตวรรษที่ 19

 
ภาพวาดกะโหลกศีรษะจากหนังสือ Gray's Anatomy ฉบับตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1918

ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักกายวิภาคศาสตร์ได้รวบรวมคำอธิบายกายวิภาคศาสตร์มนุษย์จากในศตวรรษที่ผ่านมาให้สมบูรณ์ มีการพัฒนาและกำเนิดขึ้นของแหล่งความรู้ของวิชามิญชวิทยา (histology) และชีววิทยาของการเจริญ (developmental biology) ไม่เฉพาะการศึกษาในมนุษย์เท่านั้นก็ยังเจริญขึ้นในสัตว์ด้วย งานวิจัยจำนวนมากเกิดขึ้นในหลายสาขาของกายวิภาคศาสตร์ อังกฤษถือได้ว่าเป็นแหล่งวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์ที่สำคัญ มีความต้องการร่างกายมนุษย์ในการศึกษาอย่างมากจนบางครั้งมีการขโมยศพหรือแม้กระทั่งการฆาตกรรมเพื่อให้ได้ศพมาศึกษา ทำให้รัฐสภาอังกฤษต้องผ่านกฎหมาย Anatomy Act 1832 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดหาร่างมนุษย์เพื่อการศึกษาให้เหมาะสม เพียงพอ และถูกกฎหมาย ข้อห้ามในการชำแหละร่างกายมนุษย์นั้นผ่อนคลายลงทำให้ตำรากายวิภาคศาสตร์ Gray's Anatomy ซึ่งมีการรวบรวมเนื้อหากายวิภาคอย่างละเอียดเป็นตำรายอดนิยมขึ้นมา แม้ว่าฉบับในปัจจุบันจะมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะมือก็ตาม แต่ตำรา Gray's Anatomy ก็ถือกำเนิดขึ้นมาจากความต้องการรวบรวมความรู้ด้านกายวิภาคศาสตร์ให้อยู่ในเล่มเดียวให้เหมาะกับแพทย์ที่ต้องเดินทาง

การศึกษาในสมัยใหม่

การวิจัยทางกายวิภาคในช่วงร้อยปีที่ผ่านมามีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเพราะการเจริญของเทคโนโลยี และความเข้าใจในวิทยาศาสตร์แขนงอื่นๆ เช่น ชีววิวัฒนาการ (evolutionary biology) และอณูชีววิทยา (molecular biology) ซึ่งช่วยให้เกิดความเข้าใจอวัยวะและโครงสร้างของมนุษย์มากขึ้น ความเข้าใจในวิชาวิทยาต่อมไร้ท่อ (endocrinology) ทำให้สามารถอธิบายหน้าที่ของต่อมต่างๆ ที่ในอดีตไม่เคยได้รับการอธิบาย อุปกรณ์ทางการแพทย์เช่น การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (MRI) หรือการตรวจเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) ช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ศึกษาอวัยวะของคนที่ยังมีชีวิตอยู่ หรือเสียชีวิตไปแล้ว ความก้าวหน้าทางกายวิภาคศาสตร์ในปัจจุบันมุ่งไปที่การเจริญเติบโต วิวัฒนาการ และหน้าที่ของโครงสร้างทางกายวิภาค เนื่องจากความรู้ด้านมหกายวิภาคศาสตร์ (macroscopic anatomy) ได้ถูกรวบรวมอย่างเป็นระบบแล้ว สาขาย่อยของกายวิภาคศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ (non-human anatomy) ก็มีความสำคัญในปัจจุบัน เพราะนักกายวิภาคสมัยใหม่กำลังพยายามทำความเข้าใจหลักการพื้นฐานของการจัดระบบของกายวิภาคศาสตร์โดยผ่านเทคนิคสมัยใหม่ตั้งแต่การใช้ finite element analysis ไปจนถึงอณูชีววิทยา

อ้างอิง และเชิงอรรถ

  1. Porter (1997) , pp49-50
  2. Islamic medicine, Hutchinson Encyclopedia.
  3. Emilie Savage-Smith (1996) , "Medicine", in Roshdi Rashed, ed., Encyclopedia of the History of Arabic Science, Vol. 3, p. 903-962 [951-952]. Routledge, London and New York.
  4. S. A. Al-Dabbagh (1978). "Ibn Al-Nafis and the pulmonary circulation", The Lancet 1, p. 1148.
  5. Husain F. Nagamia (2003) , "Ibn al-Nafīs: A Biographical Sketch of the Discoverer of Pulmonary and Coronary Circulation", Journal of the International Society for the History of Islamic Medicine 1, p. 22–28.
  6. Chairman's Reflections (2004) , "Traditional Medicine Among Gulf Arabs, Part II: Blood-letting", Heart Views 5 (2) , p. 74-85 [80].
  7. Dr. Abu Shadi Al-Roubi (1982) , "Ibn Al-Nafis as a philosopher", Symposium on Ibn al-Nafis, Second International Conference on Islamic Medicine: Islamic Medical Organization, Kuwait (cf. Ibn al-Nafis As a Philosopher, Encyclopedia of Islamic World).
  8. Nahyan A. G. Fancy (2006) , "Pulmonary Transit and Bodily Resurrection: The Interaction of Medicine, Philosophy and Religion in the Works of Ibn al-Nafīs (d. 1288) ", p. 3 & 6, Electronic Theses and Dissertations, University of Notre Dame.[1]
  9. Dr. Sulaiman Oataya (1982) , "Ibn ul Nafis has dissected the human body", Symposium on Ibn al-Nafis, Second International Conference on Islamic Medicine: Islamic Medical Organization, Kuwait (cf. Ibn ul-Nafis has Dissected the Human Body, Encyclopedia of Islamic World).
  10. [2]
  11. http://www.nlm.nih.gov/dreamanatomy/da_info.html

บรรณานุกรม

  • Mazzio, C. (1997). The Body in Parts: Discourses and Anatomies in Early Modern Europe. Routledge. ISBN 0-415-91694-1.
  • Porter, R. (1997). The Greatest Benefit to Mankind: A Medical History of Humanity from Antiquity to the Present. Harper Collins. ISBN 0-00-215173-1.
  • Sawday, J. (1996). The Body Emblazoned: Dissection and the Human Body in Renaissance Culture. Routledge. ISBN 0-415-15719-6.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Anatomia 1522-1867: Anatomical Plates from the Thomas Fisher Rare Book Library
  • Human Anatomy & Physiology Society A society to promote communication among teachers of human anatomy and physiology in colleges, universities, and related institutions.

ประว, ชากายว, ภาคศาสตร, ประว, การศ, กษาว, ชากายว, ภาคศาสตร, เป, นว, ทยาศาสตร, กษาต, งแต, การผ, าร, างกายของเหย, อจากการส, งเวยในสม, ยโบราณ, ไปจนถ, งการว, เคราะห, อย, างละเอ, ยดซ, บซ, อนถ, งการทำงานของร, างกายโดยน, กว, ทยาศาสตร, สม, ยใหม, การศ, กษาว, ชาน, กษณะเ. prawtikarsuksawichakaywiphakhsastr epnwithyasastrthisuksatngaetkarpharangkaykhxngehyuxcakkarsngewyinsmyobran ipcnthungkarwiekhraahxyanglaexiydsbsxnthungkarthangankhxngrangkayodynkwithyasastrsmyihm karsuksawichanimilksnaechphaamaepnewlanan aelamikarphthnathungkarthakhwamekhaicinhnathiaelaokhrngsrangkhxngxwywainrangkayxyangtxenuxng karsuksakaywiphakhsastrmnusymiprawtisastrkhwamepnmathimiekiyrtiaelanbwaepnsakhawithyasastrchiwphaphthimikhwamoddedninchwngkhriststwrrsthi 19 aelatnkhriststwrrsthi 20 withikarsuksawichakaywiphakhsastrkmikarphthnaxyangmakmaytngaetkarsuksainstwipcnthungkarsuksainsphkhxngmnusy aelakarichethkhonolyithisbsxninkhriststwrrsthi 20phaphwadthangkaywiphakhaesdnghlxdeluxddainrangkay insmyplaykhriststwrrsthi 13 enuxha 1 karsuksainyukhobran 1 1 xiyiptobran 1 2 krikobran 1 3 kaeln 2 karsuksainyukhklang 2 1 xibn xl nafis 3 karsuksainyukhihmchwngaerk 3 1 khriststwrrsthi 17 aela 18 4 karsuksainkhriststwrrsthi 19 5 karsuksainsmyihm 6 xangxing aelaechingxrrth 7 brrnanukrm 8 aehlngkhxmulxunkarsuksainyukhobran aekikhxiyiptobran aekikh karsuksakaywiphakhsastrerimkhunxyangerwthisudemuxraw 1600 pikxnkhristskrach inyukhxiyiptobranbn kradaspapirus exdwin smith Edwin Smith papyrus bthkhwaminkradasnnklawthunghwic hlxdeluxdkhxnghwic tb mam it mdluk aelakraephaapssawa aelathrabwahlxdeluxdxxkmacakhwic mikarklawthunghlxdeluxdhlxdxun wabangesnkhnsngxakas emuxk aelahlxdeluxd 2 esnthiipthanghukhangkhwaechuxknwakhnsng lmhayicaehngchiwit breath of life inkhnathihlxdeluxd 2 esnthiipthanghusaykhnsng lmhayicaehngkhwamtay breath of death inkradaspapirusexaebs Ebers papyrus praman 1550 pikxnkhristskrach klawthung bthkhwamekiywkbhwic odyklawwahwicepnsunyklanginkarsubchidolhitipeliyngtamhlxdeluxdthieliyngthukswnkhxngrangkay chawxiyiptobranimkhxymikhwamekhaicekiywkbhnathikhxngit aelaechuxwahwicepncudrwmkhxnghlxdeluxdthithahnathikhnsngkhxngehlwthukchnidinrangkayimwacaepneluxd nata pssawa aelanaxsuci 1 krikobran aekikh nkwithyasastrkaraephthysmykxnsungngankhxngthanyngkhngmipraoychnxyangmakinpccubnkhux hipopkraets Hippocrates aephthychawkrikthimichiwitxyuinchwngstwrrsthi 5 kxnkhristkalthungtnstwrrsthi 4 kxrkhristkal 460 377 pikxnkhristskrach ngankhxngekhaaesdngthungkhwamekhaicphunthankhxngokhrngsrangkhxngklamenuxaelakraduk aelakarerimtnkhwamekhaickhxngkarthangankhxngxwywabangchnid echn it aemwangankhxngekhaswnihy rwmthngngankhxngluksisyaelaphusuksainewlatxmacaennkarsngektikhrkhrwythangthvsdimakkwakarthdlxngptibtiinchwngstwrrsthi 4 kxnkhristkal xrisotetilaelankprachyrwmsmyidsrangrabbthisuksacakkarptibtimakkhun odyichphunthankareriykrucakkarchaaehlastw nganthiekidkhuninchwngewlanithaihsamarthaeykaeyakhwamaetktangrahwanghlxdeluxdaedngaelahlxdeluxdda aelaxthibaykhwamsmphnthrahwangxwywaidthuktxngaemnyamakkwainxditkarsuksaephuxwicythangkaywiphakhcaksphmnusykhrngaerkekidkhunphayhlnginstwrrsthi 4 kxnkhristkal emuxhiorfiols Herophilos aelaxirasisthrathus Erasistratus idthakarchaaehlasphthiemuxngxelksanedriyphayitkhwamxupthmphkhxngrachwngspotelmi hiorfiolsthuxidwaepnphuphthnakhwamruthangkaywiphakhcakkarsuksacakokhrngsrangcringkhxngrangkaymnusymakkhuncakxdit kaeln aekikh nkkaywiphakhkhnsakhykhnsudthaykhxngyukhobrankhux kaeln Galen michiwitinchwngkhriststwrrsthi 2 ekharwbrwmkhwamrucaknganekhiyninsmykxn aelasuksahnathikhxngxwywaodykarchaaehlastwthiyngmichiwitxyu nganphaphwadkhxngekhasungmkcaepnkaywiphakhsastrkhxngsunkh klaymaepntarakaywiphakhsastrmaepnewlakwa 1500 pi aemtwtaraedimnnidsuyhayipaelw aelangankhxngekhaepnthiruckknechphaainhmuaephthyinyukhfunfusilpwithya Renaissance odyphanthangkarekbrksaxyangdiaelathaythxdodyaephthychawxahrb enuxngcakmikhxhamthangsasnainkarepnnkkaywiphakhsungkinewlananhlaystwrrsnbtngaetyukhkaelnepntnip kaelncungkhadedaexawaokhrngsrangthangkaywiphakhinsunkhkhlaykhlungkbinmnusy aelathakarsuksakaywiphakhsastrinsunkhaethn aelathaihkarsuksawichakaywiphakhsastrkhxngmnusytxnghyudlnginyuorpkarsuksainyukhklang aekikhhlngcakkarlmslaykhxngckrwrrdiormn karsuksawichakaywiphakhsastridhyudchangklnginthwipyuorpsungnbthuxsasnakhristsungmikhxkahndthangsasnathiekhrngkhrd aetklbrungeruxngkhuninyukhklangkhxngolkxislam thisungaephthyaelankwithyasastrchawmuslimidxuthistwxyanghnkinkarsuksakhwamruaelawthnthrrminyukhklang aephthychawepxresiychuxwa xwiesnna hruxxabu xali xl huesn xibn xbd xllxh xibn sina Avicenna Abu ʿAli al Ḥusayn ibn ʿAbd Allah ibn Sina phasaepxresiy ابو علی الحسین ابن عبدالله ابن سینا kh s 980 kh s 1037 idsumsbkarsxnwichakaywiphakhsastrkhxngkaelnaelaidephimetimlngin The Canon of Medicine thswrrsthi 1020 sungnbwamixiththiphlxyangmaktxthngolkxislamaelaolkkhrisetiynkhxngyuorp The Canon epntarathangkaywiphakhthiechuxthuxidmakthisudinolkxislamcnkrathng xibn xl nafis Ibn al Nafis inkhriststwrrsthi 13 emuxtaraniidephyaephrmainyuorpcnkrathngmibthbathoddednthungkhriststwrrsthi 16xibn suhr Ibn Zuhr hrux Avenzoar kh s 1091 kh s 1161 epnaephthychawxahrbkhnaerkthithakarchaaehlarangkaymnusyaelakarchnsutrsph aelaphisucnwaorkhhidekidcakechuxprsit sungepnkarkhnphbthikhankbthvsdi humorism khxnghipopkraetsaelakaelnthiechuxwaorkhekidmacakkhwamimsmdulkhxngxngkhprakxbsixyangkhxngmnusyidaek nadisida nadisiehluxng eluxd aelaesmha karnaprsitxxkcakrangkaykhxngkhnikhkimidekiywkbkarxaeciyn karexaeluxdxxk hruxkarrksaaebbdngedimthiekiywkhxngkbxngkhprakxbsixyangkhxngmnusy 2 inkhriststwrrsthi 12 aephthypracaphraxngkhkhxngsultansxlahuddin Saladin chux xibn cuim Ibn Jumay epnhnunginkhnaerk thithakarchaaehlarangkaymnusy aelaidthaihaephthykhnxun snicaelasuksatam inchwng kh s 1200 ekidkhwamaehngaelnginxiyipt xbd exl latif Abd el latif idsngektaelasuksaokhrngkradukmnusycanwnmak aelakhnphbwakaelnklawphidekiywkbruprangkhxngkradukkramlangaelakraebnehnb sacrum 3 xibn xl nafis aekikh aephthychawxahrbnamwa xibn xl nafis Ibn al Nafis kh s 1213 kh s 1288 epnhnunginkhnaerk thiesnxkarchaaehlarangkaymnusyaelakarchnsutrsph aelainpi kh s 1242 ekhaepnkhnaerkthixthibayrabbkarihlewiynpxd pulmonary circulation 4 aelarabbihlewiynokhornari coronary circulation 5 sungepnphunthankhxngrwamrueruxngrabbihlewiynolhit ekhacungidchuxwaepnbidaaehngthvsdikarihlewiyn 6 xibn xl nafisyngepnphuthixthibaykhwamkhidaerkerimkhxngemaethbxlisum 7 aelaidphthnarabbkarsuksakaywiphakhsastraelasrirwithyakhunmaaethnthilththikhxngxwiesnnaaelakaeln dwykarlmlangkhwamechuxthiphid ekiywkbthvsdi humorism karkhlachiphcr 8 kraduk klamenux lais xwywarbkhwamrusuk thxnadi hlxdxahar kraephaaxahar aelakaywiphakhkhxngrangkaymnusyaethbthukswn 9 karsuksainyukhihmchwngaerk aekikh phaphwadthangkaywiphakhinpi kh s 1559 ody Juan Valverde de Amusco inrupepnkhnthimuxhnungthuxmidaelaxikmuxhnungthuxphiwhnngkhxngtwexng phlngankhxngkaelnaelaxwiesnna odyechphaaxyangying The Canon of Medicine sungidrbkarsxnkhwbkhuknip idthukaeplepnphasalatin aela Canon epntarathangkaywiphakhthiechuxthuxidmakthisudinkareriynaephthysastrinyuorpcnkrathngkhriststwrrsthi 16 phthnakarkhxngkaywiphakhsastrkhrngihykhrngaerkinyuorpnktngaetkarlmslaykhxngckrwrrdiormnekidkhunthiobolyya Bologna inkhriststwrrsthi 14 thung 16 sungmiphuchaaehlasphmnusycanwnmaksungxuthistninkarphyayamxthibayxwywatang ihthuktxngaemnyamakkhunaelaxthibayhnathikhxngmnxyangchdecn nkkaywiphakhsastrkhnsakhyehlani echn mxndion ed lixussi Mondino de Liuzzi aela xaelssanodr xakillini Alessandro Achillini karepliynaeplngthimiphltxlththikhxngkaelninyuorpkhrngaerkekidkhuninkhriststwrrsthi 16 cakxiththiphlkhxngkarphimphthithaihphlngankhxngkaelnaelaxwiesnnathukephyaephripthwyuorp aelatxmamikarphimphbthwicarntxphlngandngklaw aexnedriys ewsaeliys Andreas Vesalius epnbukhkhlaerkthiphimphbthkhwam De humani corporis fabrica thithathaykhwamechuxkhxngkaelnodykaredinthangcakliwewn Leuven odyhaeliyngchiphdwykarwadphaphtlxdkaredinthang ephuxipyngpadw Padua 10 ephuxkhxxnuyatchaaehlasphnkothspraharodyimekrngklwtxkarthukprahtprahar phaphwadkhxngekhanbepnkhaxthibaymisakhythixthibaykhwamaetktangrahwangsunkhaelamnusy aelaaesdngthungkhwamsamarthinkarwadphaphthidielis nkkaywiphakhinewlatxmahlaykhnidthathaykhwamechuxkhxngkaelnintarakhxngphwkekhathng thikhwamechuxkhxngkaelnekhymixiththiphlxyangsungsudtxkhwamrudankaywiphakhinstwrrsthiphanmankwicyinchwngewlatxmaiddaeninkarprbprungkarsuksawichakaywiphakhsastrihdiyingkhun phrxmthngmikartngchuxokhrngsranginrangkayxikepncanwnmak inkhriststwrrsthi 16 aela 17 mikarphthnaxyangehnidchdinkarthakhwamekhaicrabbihlewiynolhit imwacaepnkhwamekhaichnathikhxnglininhlxdeluxdda karxthibaykarihlkhxngeluxdcakhwichxnglangsayiphxnglangkhwaphanthangrabbihlewiynolhit aelasamarthrabuwahlxdeluxddatb hepatic vein epnokhrngsranghnungthiaeykxxkmainrabbihlewiynolhit nxkcakniyngsamarthaeykrabbnaehluxngxxkepnxikhnungrabbxwywaidinchwngrayaewlani khriststwrrsthi 17 aela 18 aekikh phaph Anatomy Lesson of Dr Nicolaes Tulp ody aermbrngd aesdngphaphkhxngkarsathitkarchaaehlasphinsmystwrrsthi 17 karsuksawichakaywiphakhsastrmikhwamefuxngfuinkhriststwrrsthi 17 aela 18 odymikarpradisthaethnphimphchwyinkaraelkepliynkhwamkhidehn enuxngcakkarsuksakaywiphakhsastrcaekiywkbkarsngektaelaphaphwad nkkaywiphakhsastrcamichuxesiynghruximcungkhunkbfimuxkarwadphaphkhxngekhaodyimcaepntxngechiywchayphasalatin 11 silpinthimichuxesiynghlaykhnksuksawichakaywiphakhsastr ekhaeriynkarchaaehlarangkay aelawadphaphephuxharayid echn mieklnecol Michelangelo hrux aermbrngd Rembrandt inchwngaerk mhawithyalythimichuxesiyngsxnekiywkbkaywiphakhsastrodyphanthangphaphwadaethnthicasxntamenuxhaphasalatin singthikhdkhwangkarsuksakaywiphakhsastrephiyngxyangediywinchwngewlanikhuxkhatahnikhxngfaysasna sungthaihnkkaywiphakhsastrhlaykhnekidkhwamhwadklwemuxtxngchaaehlarangkaymnusy ephraawainyukhfunfusilpwithya aemwacaepnyukhthiwithyasastrmikhwamefuxngfuaelakarkhnphbtang makmay aetsasnakmixiththiphlxyangmakdngechnkrnikhxngkalieloxsungthuksalsasnalngothsephraatiphimphphlngankhdaeyngkbfaysasna nkwithyasastrbangkhninyukhniklwekinkwacaedinthangcakemuxnghnungipxikemuxnghnung echn erxen edskarts Descartes nkkaywiphakhsastrephiyngbangkhnethannthiidrbxnuyatihchaaehlarangkaymnusyephuxsuksa bangkhrngidrbxnuyatephiyngpiediyw karaesdngkarchaaehlarangkaymnusynimkidrbkarsnbsnuncaksphakhxngemuxng aelabangkhrngxactxngekbkhathrrmeniymrawkbepnkaraesdngkhxngnkwichakar emuxnginyuorphlayemuxngechn xmsetxrdm lxndxn okhepnehekn padw aelaparis minkkaywiphakhhlwng Royal anatomists thiechuxmoyngkbrthbalthxngthin echn niokhls thulph Nicolaes Tulp nkkaywiphakhsastrthidarngtaaehnngnaykethsmntriemuxngxmsetxrdm 3 smy aemwakaraesdngkarchaaehlarangkaymnusykhxnkhangepnthurkicthiesiyng aelaimaennxnwacaharangkaymnusymacakthiid aetkarekhachmkarchaaehlarangkaymnusynnthukkdhmay nkeriynkaywiphakhsastrhlaykhnedinthangrxbthwipyuorpephuxekhachmkarsuksarangkaymnusythiaelwthielatlxdhlksutrkareriyn phwkekhatxngedinthangiptamthitang sungmisphmnusythiephingesiychiwitihsuksa echn hlngcakkaraekhwnkhx ephraawahakplxythingiwrangkayxacenaslayipcnimehmaathicanamasuksa enuxngcakyngimmikarkhidkhnrabbaecheyninsmynnchawyuorphlaykhnthisnickarsuksawichakaywiphakhsastredinthangipyngxitali sungtxmaklayepnsunyklangkhxngwichakaywiphakhsastr echphaainxitaliethannthimikarsuksawicythiechphaabangxyang echn karsuksarangkayphuhying rixlod okhlxmob Realdo Colombo aelakaebriyl fllxphphiox Gabriele Falloppio epnnkeriynkhxngaexnedriys ewsaeliys nkkaywiphakhinstwrrsthi 16 okhlxmobsunginewlatxmaepnphusubthxdwichanicakewsaeliysinemuxngpadw sungtxmaidekhaepnsastracarythiorm idprbprungaelaaekikhkaywiphakhsastrkhxngkraduk xthibayruprangaelachxngtang inhwic hlxdeluxdaedngphlomnari aelahlxdeluxdaedngihyexxxrtaaelalinhwic aelatidtamthangedinkhxngeluxdcakhwiccakhxngkhwaiphxngsay xthibaysmxngaelahlxdeluxdsmxng aelathakhwamekhaichuchninihthuktxng aelaepnkhnaerkthixthibayewnthriekhilkhxngklxngesiyng inewlaediywknnnexngkmikarphthnawichawithyakraduk Osteology ekidkhunodykhwamphyayamkhxngcioxwanni filiphoph xinkrssiys Giovanni Filippo Ingrassias karsuksainkhriststwrrsthi 19 aekikh phaphwadkaohlksirsacakhnngsux Gray s Anatomy chbbtiphimphinpi kh s 1918 rahwangkhriststwrrsthi 19 nkkaywiphakhsastridrwbrwmkhaxthibaykaywiphakhsastrmnusycakinstwrrsthiphanmaihsmburn mikarphthnaaelakaenidkhunkhxngaehlngkhwamrukhxngwichamiychwithya histology aelachiwwithyakhxngkarecriy developmental biology imechphaakarsuksainmnusyethannkyngecriykhuninstwdwy nganwicycanwnmakekidkhuninhlaysakhakhxngkaywiphakhsastr xngkvsthuxidwaepnaehlngwicythangkaywiphakhsastrthisakhy mikhwamtxngkarrangkaymnusyinkarsuksaxyangmakcnbangkhrngmikarkhomysphhruxaemkrathngkarkhatkrrmephuxihidsphmasuksa thaihrthsphaxngkvstxngphankdhmay Anatomy Act 1832 sungekiywkhxngkbkarcdharangmnusyephuxkarsuksaihehmaasm ephiyngphx aelathukkdhmay khxhaminkarchaaehlarangkaymnusynnphxnkhlaylngthaihtarakaywiphakhsastr Gray s Anatomy sungmikarrwbrwmenuxhakaywiphakhxyanglaexiydepntarayxdniymkhunma aemwachbbinpccubncamikhnadihyimehmaamuxktam aettara Gray s Anatomy kthuxkaenidkhunmacakkhwamtxngkarrwbrwmkhwamrudankaywiphakhsastrihxyuinelmediywihehmaakbaephthythitxngedinthangkarsuksainsmyihm aekikhkarwicythangkaywiphakhinchwngrxypithiphanmamikarphthnaxyangrwderwephraakarecriykhxngethkhonolyi aelakhwamekhaicinwithyasastraekhnngxun echn chiwwiwthnakar evolutionary biology aelaxnuchiwwithya molecular biology sungchwyihekidkhwamekhaicxwywaaelaokhrngsrangkhxngmnusymakkhun khwamekhaicinwichawithyatxmirthx endocrinology thaihsamarthxthibayhnathikhxngtxmtang thiinxditimekhyidrbkarxthibay xupkrnthangkaraephthyechn karsrangphaphdwyerosaennsaemehlk MRI hruxkartrwcexkserykhxmphiwetxr CT Scan chwyihnkwithyasastrsuksaxwywakhxngkhnthiyngmichiwitxyu hruxesiychiwitipaelw khwamkawhnathangkaywiphakhsastrinpccubnmungipthikarecriyetibot wiwthnakar aelahnathikhxngokhrngsrangthangkaywiphakh enuxngcakkhwamrudanmhkaywiphakhsastr macroscopic anatomy idthukrwbrwmxyangepnrabbaelw sakhayxykhxngkaywiphakhsastrkhxngsingmichiwitthiimichmnusy non human anatomy kmikhwamsakhyinpccubn ephraankkaywiphakhsmyihmkalngphyayamthakhwamekhaichlkkarphunthankhxngkarcdrabbkhxngkaywiphakhsastrodyphanethkhnikhsmyihmtngaetkarich finite element analysis ipcnthungxnuchiwwithyaxangxing aelaechingxrrth aekikh Porter 1997 pp49 50 Islamic medicine Hutchinson Encyclopedia Emilie Savage Smith 1996 Medicine in Roshdi Rashed ed Encyclopedia of the History of Arabic Science Vol 3 p 903 962 951 952 Routledge London and New York S A Al Dabbagh 1978 Ibn Al Nafis and the pulmonary circulation The Lancet 1 p 1148 Husain F Nagamia 2003 Ibn al Nafis A Biographical Sketch of the Discoverer of Pulmonary and Coronary Circulation Journal of the International Society for the History of Islamic Medicine 1 p 22 28 Chairman s Reflections 2004 Traditional Medicine Among Gulf Arabs Part II Blood letting Heart Views 5 2 p 74 85 80 Dr Abu Shadi Al Roubi 1982 Ibn Al Nafis as a philosopher Symposium on Ibn al Nafis Second International Conference on Islamic Medicine Islamic Medical Organization Kuwait cf Ibn al Nafis As a Philosopher Encyclopedia of Islamic World Nahyan A G Fancy 2006 Pulmonary Transit and Bodily Resurrection The Interaction of Medicine Philosophy and Religion in the Works of Ibn al Nafis d 1288 p 3 amp 6 Electronic Theses and Dissertations University of Notre Dame 1 Dr Sulaiman Oataya 1982 Ibn ul Nafis has dissected the human body Symposium on Ibn al Nafis Second International Conference on Islamic Medicine Islamic Medical Organization Kuwait cf Ibn ul Nafis has Dissected the Human Body Encyclopedia of Islamic World 2 http www nlm nih gov dreamanatomy da info htmlbrrnanukrm aekikhMazzio C 1997 The Body in Parts Discourses and Anatomies in Early Modern Europe Routledge ISBN 0 415 91694 1 Porter R 1997 The Greatest Benefit to Mankind A Medical History of Humanity from Antiquity to the Present Harper Collins ISBN 0 00 215173 1 Sawday J 1996 The Body Emblazoned Dissection and the Human Body in Renaissance Culture Routledge ISBN 0 415 15719 6 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb kaywiphakhsastrAnatomia 1522 1867 Anatomical Plates from the Thomas Fisher Rare Book Library Human Anatomy amp Physiology Society A society to promote communication among teachers of human anatomy and physiology in colleges universities and related institutions ekhathungcak https th wikipedia org w index php title prawtiwichakaywiphakhsastr amp oldid 7944209, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม