fbpx
วิกิพีเดีย

ประเพณีรับบัว

ประเพณีรับบัว วัดบางพลีใหญ่ใน เป็นประเพณีประจำท้องถิ่นของชาวอำเภอบางพลีจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประเพณีเก่าแก่ที่สืบทอดมาแต่โบราณ โดยมิได้ปรากฏหลักฐานว่ามีมาแต่ยุคใดสมัยใด ทั้ง ๓ พวกก็ปรึกษาหารือกันว่าสมควรจะช่วยกันหักล้างถางพงให้กว้างขวางยิ่งขึ้นเพื่อทำไร่ทำสวนต่อไป บริเวณนี้แต่ก่อนเต็มไปด้วยป่าพงอ้อ พงแขมและไม้นานาชนิดขึ้นเต็มไปหมด ฝั่งทางตอนใต้ของลำคลองสำโรงก็เต็มไปด้วยป่าแสม น้ำก็เป็นน้ำเค็ม ซึ่งเต็มไปด้วยอันตรายจากสัตว์ร้ายนานาชนิดทางฝั่งตอนเหนือก็เต็มไปด้วยบึงขนาดใหญ่ ภายในบึงแต่ละบึงก็อุดมสมบูรณ์ไปด้วยบัวหลวงมากมาย พวกคนไทย รามัญและลาว ก็พยายามหักล้างถางพงเรื่อยมาจนถึงทางแยก ๓ ทางคือ ทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือเป็นคลองสลุด ทางเหนือเป็นคลองชวดลากข้าว และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเป็นคลองลาดกระบัง คนทั้ง ๓ พวกก็ตกลงกันว่าควรจะแยกย้ายกันทำมาหากินคนละทางจะดีกว่าเพื่อที่จะได้รู้ภูมิประเทศว่าด้านไหนจะทำมาหากินได้คล่องดีกว่ากัน เมื่อตกลงดังนั้นแล้วจึงแยกทางกันไปทำมาหากิน โดยพวกลาวไปทางคลองสลุด ไทยไปทางคลองชวดลากข้าว พวกรามัญไปทางคลองลาดกระบัง พวกรามัญทำมาหากินอยู่ประมาณ ๒-๓ ปี ก็ไม่ได้ผลเพราะนก หนู ชุกชุมรบกวนพืชผลต่างๆจนเสียหายมากมาย เมื่อทำมาหากินไม่ได้ผลพวกรามัญก็ปรึกษาเตรียมตัวอพยพกลับถิ่นเดิมที่ปากลัด (พระประแดง) เริ่มอพยพกันในตอนเช้ามืดของเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๔ ค่ำ ก่อนไปก็ได้ไปเก็บดอกบัวในบึงบริเวณนี้มากมาย คนไทยที่คุ้นเคยกับ พวกรามัญก็ไต่ถามว่าเก็บดอกบัวไปทำไมมากมายเพียงนี้พวกรามัญก็บอกว่าจะเอาไปบูชาพระคาถาพัน (เทศน์มหาชาติ) ที่ปากลัด และได้สั่งเสียกับคนไทยที่รักและสนิทสนมชิดชอบว่าในปีต่อมาเมื่อถึงเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๔ ค่ำ ให้ช่วยเก็บดอกบัวรวบรวมไว้ที่วัดหลวงพ่อโตนี้ด้วยพวกตนจะมารับ ด้วยนิสัยคนไทยนั้นชอบโอบอ้อมอารีรักพวกพ้องจึงตอบตกลง จากนั้นพวกชาวรามัญก็นมัสการหลวงพ่อโตพร้อมทั้งขอน้ำมนต์หลวงพ่อโตไปเพื่อเป็นศิริมงคลและลากลับถิ่นฐานเดิมที่ปากลัดและนำดอกบัวไปบูชาพระคาถาพัน ปีต่อมาพอถึงกำหนดเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๔ ค่ำ คนไทยบางพลีก็รวบรวมดอกบัวไว้ที่วัดบางพลีใหญ่ตามคำขอร้องของชาวรามัญ พวกชาวรามัญก็จะมารับดอกบัวทุกปี การมาจะมาในเวลากลางคืน มาโดยเรือขนาดจุ ๕๐-๖๐ คน จะมาถึงวัดประมาณตี ๑-๔ ของทุกครั้งที่มาและมีการตีฆ้องร้องเพลงตลอดทางอย่างสนุกสนาน พร้อมทั้งมีการละเล่นต่างๆในเรือ ผู้ที่คอยต้อนรับก็พลอยสนุกสนานไปด้วยไมตรีจิตอันดียิ่ง คนไทยได้ทำอาหารคาวหวานต่างๆเลี้ยงรับรองโดยใช้ศาลาวัดเป็นที่เลี้ยงอาหารกันเมื่ออิ่มหนำสำราญแล้วก็นำดอกบัวไปมนัสการหลวงพ่อโต จากนั้นก็นำดอกบัวกลับไปบูชาพระคาถาพันที่ปากลัด

ประเพณีรับบัว
ชื่อเต็มประเพณีรับบัว
ชื่อสามัญประเพณีรับบัว
ประเภทพระพุทธรูป
ความสำคัญประเพณีประจำท้องถิ่น
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา


ประการที่สอง ชาวรามัญที่ปากลัด (พระประแดง) มาทำนาอยู่ที่อำเภอบางพลี (ตำบลบางแก้ว) ซึ่งมีเรื่องเล่ากันว่าเป็นชาวรามัญที่อพยพเข้ามาในประเทศไทย พร้อมกับเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี) ในสมัยกรุงธนบุรี การอพยพของชาวรามัญครั้งนี้เนื่องจากพระเจ้ามังระ คิดจะมาตีกรุงธนบุรี จึงเกณฑ์พวกรามัญซึ่งเป็นเมืองขึ้นของพม่ามาช่วยรบ ชาวรามัญนั้นได้รับการกดขี่ข่มเหงจิตใจถูกฆ่าลูกเมีย ชาวรามัญจึงกบฏต่อพม่าโดยรวมตัวกันไปตีพม่าแต่สู้พม่าไม่ได้ ก็หนีมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารบารมีต่อพระเจ้าตากสินมหาราชและได้นำเอาปี่พาทย์มอญเข้ามาด้วยเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พวกรามัญไปตั้งภูมิลำเนาที่ปากเกล็ด แขวงนนทบุรี และปากโคก แขวงปทุมธานี ถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดเกล้าฯให้ย้ายครอบครัวชาวรามัญซึ่งอพยพมาพร้อมเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) มาอยู่ที่นครเขื่อนขันธ์ (จังหวัดพระประแดงในอดีต) ในปี พ.ศ. ๒๓๕๘ พร้อมโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้บุตรชายคนที่ 3 ของเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) คือ พระยานครเขื่อนขันธ์รามัญราชชาติเสนาบดีศรีสิทธิสงคราม (ทอมา คชเสนี) ไปเป็นเจ้าเมือง ต่อมาชาวรามัญได้ทำความดีความชอบได้รับพระราชทานที่นาที่บางพลี จึงเป็นเหตุให้ชาวรามัญมาทำนาที่บางพลี ชาวรามัญนั้นจะมาเฉพาะฤดูทำนา เมื่อเสร็จสิ้นการทำนาก็จะกลับที่ปากลัด เมื่อออกพรรษาชาวปากลัดที่มีเชื้อสายรามัญส่วนใหญ่เป็นผู้เคร่งครัดในพระพุทธศาสนาก็จะกลับไปทำบุญที่วัดบ้านของตน เมื่อกลับก็จะไปเก็บดอกบัวที่ตำบลบางพลีใหญ่ซึ่งมีมากมายในสมัยนั้นไปประกอบเป็น "ดอกไม้ธูปเทียน" ในการทำบุญที่มีการเทศน์คาถาพันส่งท้ายพรรษา ครั้งแรกก็เก็บกันเองต่อมาชาวอำเภอบางพลีเห็นว่าชาวรามัญมาเก็บดอกบัวทุกปี ในปีต่อๆมาจึงเก็บดอกบัวเตรียมไว้ให้ตามนิสัยคนไทยที่ชอบเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ระยะแรกก็ส่งให้กับมือมีการไหว้ขอบคุณ ต่อมาเกิดความคุ้นเคยถ้าใกล้ก็ส่งมือต่อมือ ถ้าไกลก็โยนให้จึง เรียกว่า "รับบัว โยนบัว"


ประการที่สาม เดิมทีเดียวที่ตำบลบางพลีใหญ่ในเป็นตำบลที่มีดอกบัวมาก อำเภอต่างๆที่อยู่ใกล้เคียงเช่น อำเภอเมืองสมุทรปราการ อำเภอพระประแดง และอำเภอต่างๆที่อยู่ใกล้เคียง เมื่อถึงวาระต้องบำเพ็ญกุศลในเทศกาลออกพรรษาก็มาเก็บดอกบัวที่นี่ เพราะถือว่าดอกบัวเป็นดอกไม้ทางพระพุทธศาสนา เช่น พระพุทธเจ้าเวลาประทับนั่งยืน เดิน จะมีดอกบัวรองรับเสมอ อีกประการหนึ่งในเรื่องพระมาลัยได้กล่าวว่ามีชายเข็ญใจคนหนึ่งได้ถวายดอกบัวแก่พระมาลัย ยังไปเกิดเป็นเทพบุตรได้ ดังนั้นในสมัยโบราณคนจึงนิยมถวายดอกบัวแก่พระในวันออกพรรษาถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก ถึงกับลงทุนนอนค้างอ้างแรมยังตำบลนี้เพื่อเก็บดอกบัว ในสมัยแรกๆ คงเที่ยวหาเก็บกันเองแต่ในสมัยต่อมาชาวบางพลีก็จะเตรียมเก็บไว้เพื่อเป็นการทำกุศลร่วมกันเท่านั้น

พิธีกรรม

พอถึงวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ตั้งแต่ตอนเย็นชาวอำเภอเมืองสมุทรปราการ ชาวพระประแดง และชาวต่างถิ่นจะชักชวนพวกพ้องเพื่อนฝูงลงเรือพร้อมด้วยเครื่องดนตรีนานาชนิดเช่น ซอ ปี่ กระจับ โทน รำมะนาโหม่ง กรับ ฉิ่ง ฉาบ เป็นต้น พายกันไปร้องรำทำเพลงกันไปตลอดทาง ตลอดคืน ซึ่งบางพวกจะผ่านมาทางลำน้ำเจ้าพระยา บางพวกจะผ่านมาทางลำคลองอื่นๆเข้าคลองสำโรงและมุ่งหน้ามายังหมู่บ้านบางพลีใหญ่ สำหรับชาวบางพลีนั้นจะถือปฏิบัติกันเป็นประเพณีว่าเมื่อถึงวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ก็จะต้องเตรียมหาดอกบัวหลวง สำหรับมอบให้แก่ชาวบ้านที่ต้องการและมิตรต่างถิ่นมาเยือนในโอกาสเช่นนี้ ก็คงแสดงมิตรจิตออกต้อนรับ จัดหาสุราอาหารมาเลี้ยงดูกันตั้งแต่ตอนค่ำของวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ส่วนพวกที่มารับบัวคนใดรู้จักมักคุ้นกับชาวบางพลีผู้เป็นเจ้าของบ้าน ก็จะพาขึ้นไปเยี่ยมเยือนบ้านนั้นบ้านนี้ และต่างก็สนุกสนานร้องรำทำเพลงและร่วมรับประทานอาหารสุรากันตลอดคืน พอเช้าตรู่ของวันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ชาวบ้านต่างก็นำเรือของตนออกไปตามลำคลองสำโรงเพื่อไปขอรับบัวจากชาวบ้านบางพลีทั้งสองฝั่งคลอง การให้และการรับดอกบัวก็จะทำกันอย่างสุภาพ คือส่งและรับกันมือต่อมือ หรือก่อนให้จะยกมือพนมอธิษฐาน เสียก่อนระหว่างชาวบ้านบางพลีกับชาวต่างถิ่นที่สนิทสนมคุ้นเคยกันป็นพิเศษ บางทีชาวบางพลีก็จะโยนดอกบัวลงไปให้กันโดยไม่มีพิธีรีตอง เหตุที่มีการโยนบัวให้กัน แบบมือต่อมือจึงเลือนไปจนมีการนำไปพูดกันตอนหลังว่า รับบัว โยนบัว การรับดอกบัวของชาวต่างบ้านจากชาวบางพลีจะสิ้นสุดเมื่อเวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. หรือ ๐๙.๐๐ น. และชาวบ้านก็จะพากันกลับ ตอนขากลับจะมีการแข่งเรือกันไปด้วยแต่เป็นการแข่งขันโดยมีเส้นชัย ไม่มีกรรมการตัดสินและไม่มีการแบ่งประเภทหรือชนิดของเรือ ใครพอใจจะแข่งกับใครเมื่อไหร่ที่ใดก็แข่งกันไปหรือจะเปลี่ยนคู่เปลี่ยนคู่แข่งกันไปเรื่อยๆ ตามแต่จะตกลงกัน ดอกบัวที่ชาวต่างถิ่นรับจากชาวบางพลีไปนั้นจะนำไปบูชาในเทศกาลออกพรรษาตามวัดในหมู่บ้านของตน ประเพณีที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ครั้นนานมาชาวต่างถิ่นที่นำเรือมารับดอกบัวจากชาวบางพลีมีปริมาณลดลงเรื่อยๆ เสียงกระจับ ปี่ สีซอ กลองรำมะนา เสียงเพลงเสียงเฮฮาที่เคยเซ็งแซ่ตามลำคลองสำโรงในคืนวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ก็ค่อยๆเงียบหายไป ต่อมาสมัยนายชื้น วรศิริ (เพชรบูรณะ วรศิริ) เป็นนายอำเภอบางพลี ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๓-๒๔๘๑ ประเพณีรับบัวมีทีท่าว่าจะเสื่อมสูญไปนั้น ได้กลับมาฟื้นตัวอีกครั้ง เมื่อได้หารือกับพ่อค้าคหบดีตลอดจนข้าราชการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทางอำเภอบางพลีจึงได้ตกลงกันดำเนินการจัดงานประเพณีรับบัวขึ้นคือ เริ่มงานวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ และรุ่งขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ เป็นวันรับบัวอันเป็นครั้งแรกที่ทางราชการเข้ามาเกี่ยวข้องกับประเพณีรับบัวของชาวบางพลี ในการจัดงานประเพณีรับบัวของทางราชการอำเภอบางพลี มีการแต่งเรือประกวด เริ่มมีมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ (แต่ก่อนชาวต่างถิ่นจะตกแต่งเรือมาเพียงเพื่อความสวยงามแต่ไม่มีการประกวด) ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ช่วยกันหาดอกบัวแจกข้าวต้มมัดแก่แขกต่างบ้านและผู้จัดเรือประกวดในวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ประชาชนต่างถิ่นและชาวอำเภอบางพลีจะลงเรือล่องไปตามลำคลองสำโรง ร้องรำทำเพลงกันอย่างสนุกสนานร่วมกัน ชาวบางพลีจะจัดสุราอาหารไว้ต้อนรับแขกต่างบ้าน ชาวต่างถิ่นคนใดรู้จักมักคุ้นกับชาวอำเภอบางพลีคนใดบ้านใดก็จะพากันไปเยี่ยมเยือน สนุกสนานกับชาวบางพลีบ้านนั้นจนรุ่งเช้า วันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ต่างก็จะพากันไปดูการประกวดที่คลองสำโรงหน้าที่ว่าการอำเภอบางพลี ในการจัดงานประเพณีรับบัวมีองค์ประกอบที่สำคัญคือ มีการแห่หลวงพ่อโต ซึ่งแต่เดิมยังมิได้มีการแห่ดังเช่นสมัยนี้ ในราวปี พ.ศ. ๒๔๖๗ นางจั่นกับพวกได้พร้อมใจกันสร้างพระปฐมเจดีย์ขึ้น ในวัดบางพลีใหญ่ใน เมื่อสร้างเสร็จแล้ว ก็จัดให้มีการฉลองโดยแห่องค์พระปฐมเจดีย์นี้ตามลำคลอง แล้วกลับมาห่มองค์พระปฐมเจดีย์กลางคืนก็จัดให้มีมหรสพสมโภช แห่ไปได้ ๒-๓ ปี ก็หยุดไปด้วยเหตุใดไม่ปรากฏ ซึ่งเชื่อว่าการแห่ผ้าห่อองค์พระปฐมเจดีย์นี้ได้รับแบบอย่างมาจากการแห่ผ้าห่มองค์พระสมุทรเจดีย์ของอำเภอเมืองสมุทรปราการ ต่อมาก็มีการแห่รูปหลวงพ่อโตแทน โดยความเห็นชอบของท่านสมภารกุ่ย และนายฉลวย งามขำ แห่รูปภาพของหลวงพ่อโตมาหลายปี จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ก็มีการทำหุ่นจำลองหลวงพ่อโต สานด้วยโครงไม้ปิดกระดาษทาสีทอง แล้วนำแห่แทนรูปภาพของหลวงพ่อโต ซึ่งสร้างโดยนายไสว โตเจริญ ตกกลางคืนก็มีงานมหรสพฉลองกันอย่างครึกครื้นจนถึงสมัยพระครูพิศาลสมณวัตต์เป็นเจ้าอาวาสวัดบางพลีใหญ่ในก็ได้จัดให้ทำการหล่อรูปหลวงพ่อจำลองขึ้น สำหรับแห่ตามลำคลองด้วยอะลูมิเนียมใน พ.ศ. ๒๔๙๗ และปัจจุบันแห่โดยรูปหล่อจำลองหลวงพ่อโต (รูปปั้น) โดยจัดเป็นขบวนแห่ไปตามลำคลองสำโรงในวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ เป็นการประกาศข่าวงานรับบัวให้ประชาชนทราบและวิธีนี้กลายเป็นประเพณีแห่หลวงพ่อโตก่อนวันงานรับบัว คือ วัน ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ตลอดจนถึงปัจจุบัน การแห่หลวงพ่อโตจึงเป็นส่วนหนึ่งของงานประเพณีรับบัว ประชาชนที่อยู่สองฝั่งคลองสำโรงที่ขบวนแห่หลวงพ่อโตผ่านจัดประดับธงทิว ตกแต่งบ้านเรือนและตั้งโต๊ะหมู่บูชา พอเช้าวันรุ่งขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ มีการประกวดเรือประเภทต่างๆของตำบลใกล้เคียงและโรงเรียนส่งเข้าประกวด ซึ่งเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๐ มีการจัดประกวด ปัจจุบันการประกวดเรือมี ๓ ประเภทด้วยกัน คือ ประเภทสวยงาม ประเภทความคิด และประเภทขบขันหน้าที่ว่าการอำเภอบางพลี ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่เวลา ๐๖.๐๐ น.และงานจะสิ้นสุดลงเวลา ๑๑.๐๐ น. ของวันเดียวกัน ในบางปีจัดให้มีการประกวดเทพีการแข่งเรือ หรืออย่างอื่นแล้วแต่คณะกรรมการ จัดงานรับบัวแต่ละปีจะพิจารณาเห็นสมควร ส่วนการร้องรำทำเพลงไปตามลำน้ำดูหายๆไปจนปัจจุบันไม่มีแล้ว คงเที่ยวสนุกสนานกันตามบริเวณที่จัดให้มีมหรสพเท่านั้น

สาระเสริม

"การเป็นผู้มีน้ำใจไมตรี" เป็นลักษณะเด่นของคนไทยประการหนึ่ง เราคงไม่ปฏิเสธกันว่าคนไทยเป็นผู้ที่ร่ำรวยน้ำใจ ยากที่จะหาประชากรในประเทศใดในโลกเทียมได้ แม้แต่ชาวต่างประเทศก็ยอมรับในความมีน้ำใจไมตรีของคนไทยเช่นกัน จนได้ให้สมญาประเทศไทยว่า "สยามเมืองยิ้ม" ดังเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วนั่นเอง และชาวอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการมีสิ่งหนึ่งที่ช่วยยืนยันถึงความเป็นผู้มีน้ำใจไมตรีของคนไทยเช่นกัน สิ่งนั้นคือมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษของชาวบางพลีได้มอบไว้ให้ลูกหลานของตน นั่นคือ "ประเพณีรับบัว" ประเพณีรับบัว เป็นประเพณีเก่าแก่ที่เกิดและจัดขึ้นในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มาช้านานแต่เพิ่งปรากฏหลักฐานในราว พ.ศ. ๒๔๖๗ ว่าเดิมจัดในวันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ของทุกปี และจากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ชาวอำเภอบางพลี ได้เล่าให้ฟังเกี่ยวกับประเพณีรับบัวว่า "ในสมัยก่อนโน้น อำเภอบางพลี มีดอกบัวมากมายตามลำคลอง หนองบึงต่างๆเป็นที่ต้องการของพุทธศาสนิกชน ในอันที่จะนำไปบูชาพระ เหตุที่เกิดประเพณีรับบัว เกิดจากชาวอำเภอพระประแดง และชาวอำเภอเมืองสมุทรปราการ ที่เป็นชาวมอญ ต้องการนำดอกบัวไปบูชาพระคาถาพันและบูชาพระในเทศกาลออกพรรษา ดังนั้นเมื่อถึงวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ประชาชนทั้งสองอำเภอนี้ ได้ชักชวนกันพายเรือมาตามลำคลองสำโรงเพื่อมาเก็บดอกบัว เมื่อเก็บได้เพียงพอแล้วก็จะเดินทางกลับบ้านของตนในวันรุ่งขึ้น (ขึ้น ๑๔ ค่ำ) ต่อมาชาวอำเภอบางพลี มีน้ำใจที่จะอำนวยความสะดวกให้ในฐานะที่ตนเป็นเจ้าของบ้าน เมื่อถึงวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ของทุกปี ก็จะร่วมแรงร่วมใจกันเก็บดอกบัวและเตรียมอาหารคาวหวานไว้เพื่อรอรับชาวอำเภอพระประแดงและชาวอำเภอเมืองฯ เช้าตรู่ของวันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ขบวนเรือพายของชาวอำเภอพระประแดงและชาวอำเภอเมืองฯก็จะมาถึงหมู่บ้านบางพลีใหญ่ เมื่อรับประทานอาหารที่ชาวอำเภอบางพลีเตรียมไว้ต้อนรับจนอิ่มหนำสำราญดีแล้ว ก็จะพายเรือไปตามลำคลองสำโรง เพื่อขอรับดอกบัวจากชาวอำเภอบางพลีทั้งสองฝั่งคลอง การส่งมอบดอกบัวจะทำกันอย่างสุภาพ คือส่งและรับบัวกันมือต่อมือ โดยผู้ให้และผู้รับพนมมือตั้งจิตอธิษฐานอนุโมทนาผลบุญร่วมกัน การกระทำเช่นนี้เองจึงได้ชื่อว่าการ "รับบัว" เมื่อปฏิบัติติดต่อกันหลายๆปี จึงได้กลายเป็น "ประเพณีรับบัว" ไปในที่สุด" นับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๒๘ ถึงปัจจุบัน ชาวอำเภอบางพลีต่างยังไม่แน่ใจว่าตนโชคดีหรือโชคร้ายกันแน่ที่พื้นที่ที่ตนเองอาศัยอยู่ได้กลายเป็นจุดที่นักลงทุน ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความสนใจที่จะมาลงทุนทำกิจการต่างๆ เนื่องจากพวกเขาเห็นว่า อำเภอบางพลี อยู่ใกล้กับกรุงเทพฯการคมนาคมสะดวกและเป็นแหล่งที่สามารถรองรับความเจริญจากกรุงเทพฯ ได้โดยตรง จึงได้พากันมาลงทุนตั้งโรงงานอุตสาหกรรมทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่มาก ปัจจุบันอำเภอบางพลีมีโรงงานอุตสาหกรรมเกือบ ๘๐๐ แห่ง นอกจากนี้หมู่บ้านจัดสรรก็ผุดขึ้นราวกับดอกเห็ด สนามกอล์ฟ ขนาดใหญ่หลายแห่ง มีไว้เพื่อเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของผู้มีอันจะกินเพียงระยะเวลาไม่ถึง ๑๐ ปี สภาพของอำเภอบางพลี เปลี่ยนไปราวกับหน้ามือเป็นหลังมือ จากสังคมชนบทที่ประชาชนมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย มีความสุขตามอัตภาพ กลายเป็นสังคมเมืองอุตสาหกรรม ชาวบ้านหลายครอบครัวได้กลายเป็น "เศรษฐีใหม่"ภายในพริบตา โดยการขายที่ดินให้กับนักลงทุนในราคาสูงลิ่ว ปัจจุบันสภาพสังคมในอำเภอบางพลี ไม่แตกต่างไปจากสังคมกรุงเทพฯเท่าใดนัก ทั้งด้านค่าครองชีพ การจราจร การแข่งขันประกอบธุรกิจ ฯลฯ ในสภาวะเช่นนี้แม้แต่ชาวบางพลีที่เป็นคนเก่าแก่เองก็ปฏิเสธไม่ได้ว่ามีส่วนทำให้ประเพณีรับบัวเปลี่ยนรูปโฉมจากเดิม กล่าวกันว่า "ประเพณีรับบัวก็เปรียบเสมือนสิ่งมีชีวิตอื่นๆในอำเภอบางพลีที่ต้องมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบัน เพื่อมิให้ตนต้องสูญหายไปจากโลกนี้"

ช่วงเวลา

ตั้งแต่วันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึง ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ก่อนออกพรรษา


ประเพณ, บบ, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, ดบางพล, ใหญ, ใน, เป, นประ. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir praephnirbbw wdbangphliihyin epnpraephnipracathxngthinkhxngchawxaephxbangphlicnghwdsmuthrprakar epnpraephniekaaekthisubthxdmaaetobran odymiidprakthlkthanwamimaaetyukhidsmyid thng 3 phwkkpruksaharuxknwasmkhwrcachwyknhklangthangphngihkwangkhwangyingkhunephuxthairthaswntxip briewnniaetkxnetmipdwypaphngxx phngaekhmaelaimnanachnidkhunetmiphmd fngthangtxnitkhxnglakhlxngsaorngketmipdwypaaesm nakepnnaekhm sungetmipdwyxntraycakstwraynanachnidthangfngtxnehnuxketmipdwybungkhnadihy phayinbungaetlabungkxudmsmburnipdwybwhlwngmakmay phwkkhnithy ramyaelalaw kphyayamhklangthangphngeruxymacnthungthangaeyk 3 thangkhux thang thistawntkechiyngehnuxepnkhlxngslud thangehnuxepnkhlxngchwdlakkhaw aelathangthistawnxxkechiyngehnuxepnkhlxngladkrabng khnthng 3 phwkktklngknwakhwrcaaeykyayknthamahakinkhnlathangcadikwaephuxthicaidruphumipraethswadanihncathamahakinidkhlxngdikwakn emuxtklngdngnnaelwcungaeykthangknipthamahakin odyphwklawipthangkhlxngslud ithyipthangkhlxngchwdlakkhaw phwkramyipthangkhlxngladkrabng phwkramythamahakinxyupraman 2 3 pi kimidphlephraank hnu chukchumrbkwnphuchphltangcnesiyhaymakmay emuxthamahakinimidphlphwkramykpruksaetriymtwxphyphklbthinedimthipakld phrapraaedng erimxphyphknintxnechamudkhxngeduxn 11 khun 14 kha kxnipkidipekbdxkbwinbungbriewnnimakmay khnithythikhunekhykb phwkramykitthamwaekbdxkbwipthaimmakmayephiyngniphwkramykbxkwacaexaipbuchaphrakhathaphn ethsnmhachati thipakld aelaidsngesiykbkhnithythirkaelasnithsnmchidchxbwainpitxmaemuxthungeduxn 11 khun 14 kha ihchwyekbdxkbwrwbrwmiwthiwdhlwngphxotnidwyphwktncamarb dwynisykhnithynnchxboxbxxmxarirkphwkphxngcungtxbtklng caknnphwkchawramyknmskarhlwngphxotphrxmthngkhxnamnthlwngphxotipephuxepnsirimngkhlaelalaklbthinthanedimthipakldaelanadxkbwipbuchaphrakhathaphn pitxmaphxthungkahndeduxn 11 khun 14 kha khnithybangphlikrwbrwmdxkbwiwthiwdbangphliihytamkhakhxrxngkhxngchawramy phwkchawramykcamarbdxkbwthukpi karmacamainewlaklangkhun maodyeruxkhnadcu 50 60 khn camathungwdpramanti 1 4 khxngthukkhrngthimaaelamikartikhxngrxngephlngtlxdthangxyangsnuksnan phrxmthngmikarlaelntanginerux phuthikhxytxnrbkphlxysnuksnanipdwyimtricitxndiying khnithyidthaxaharkhawhwantangeliyngrbrxngodyichsalawdepnthieliyngxaharknemuxximhnasarayaelwknadxkbwipmnskarhlwngphxot caknnknadxkbwklbipbuchaphrakhathaphnthipakldpraephnirbbwchuxetmpraephnirbbwchuxsamypraephnirbbwpraephthphraphuththrupkhwamsakhypraephnipracathxngthinswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasnaprakarthisxng chawramythipakld phrapraaedng mathanaxyuthixaephxbangphli tablbangaekw sungmieruxngelaknwaepnchawramythixphyphekhamainpraethsithy phrxmkbecaphrayamhaoytha ecng khchesni insmykrungthnburi karxphyphkhxngchawramykhrngnienuxngcakphraecamngra khidcamatikrungthnburi cungeknthphwkramysungepnemuxngkhunkhxngphmamachwyrb chawramynnidrbkarkdkhikhmehngciticthukkhalukemiy chawramycungkbttxphmaodyrwmtwkniptiphmaaetsuphmaimid khnimaphungphrabrmophthismpharbarmitxphraecataksinmharachaelaidnaexapiphathymxyekhamadwyemuxpi ph s 2317 thrngphrakrunaoprdeklaihphwkramyiptngphumilaenathipakekld aekhwngnnthburi aelapakokhk aekhwngpthumthani thungsmyphrabathsmedcphraphuththelishlanphaly thrngoprdeklaihyaykhrxbkhrwchawramysungxphyphmaphrxmecaphrayamhaoytha ecng maxyuthinkhrekhuxnkhnth cnghwdphrapraaednginxdit inpi ph s 2358 phrxmoprdeklaaetngtngihbutrchaykhnthi 3 khxngecaphrayamhaoytha ecng khux phrayankhrekhuxnkhnthramyrachchatiesnabdisrisiththisngkhram thxma khchesni ipepnecaemuxng txmachawramyidthakhwamdikhwamchxbidrbphrarachthanthinathibangphli cungepnehtuihchawramymathanathibangphli chawramynncamaechphaavduthana emuxesrcsinkarthanakcaklbthipakld emuxxxkphrrsachawpakldthimiechuxsayramyswnihyepnphuekhrngkhrdinphraphuththsasnakcaklbipthabuythiwdbankhxngtn emuxklbkcaipekbdxkbwthitablbangphliihysungmimakmayinsmynnipprakxbepn dxkimthupethiyn inkarthabuythimikarethsnkhathaphnsngthayphrrsa khrngaerkkekbknexngtxmachawxaephxbangphliehnwachawramymaekbdxkbwthukpi inpitxmacungekbdxkbwetriymiwihtamnisykhnithythichxbexuxefuxephuxaeph rayaaerkksngihkbmuxmikarihwkhxbkhun txmaekidkhwamkhunekhythaiklksngmuxtxmux thaiklkoynihcung eriykwa rbbw oynbw prakarthisam edimthiediywthitablbangphliihyinepntablthimidxkbwmak xaephxtangthixyuiklekhiyngechn xaephxemuxngsmuthrprakar xaephxphrapraaedng aelaxaephxtangthixyuiklekhiyng emuxthungwaratxngbaephykuslinethskalxxkphrrsakmaekbdxkbwthini ephraathuxwadxkbwepndxkimthangphraphuththsasna echn phraphuththecaewlaprathbnngyun edin camidxkbwrxngrbesmx xikprakarhnungineruxngphramalyidklawwamichayekhyickhnhnungidthwaydxkbwaekphramaly yngipekidepnethphbutrid dngnninsmyobrankhncungniymthwaydxkbwaekphrainwnxxkphrrsathuxwaidbuykuslaerngmak thungkblngthunnxnkhangxangaermyngtablniephuxekbdxkbw insmyaerk khngethiywhaekbknexngaetinsmytxmachawbangphlikcaetriymekbiwephuxepnkarthakuslrwmknethann phithikrrm aekikh phxthungwnkhun 13 kha eduxn 11 tngaettxneynchawxaephxemuxngsmuthrprakar chawphrapraaedng aelachawtangthincachkchwnphwkphxngephuxnfunglngeruxphrxmdwyekhruxngdntrinanachnidechn sx pi kracb othn ramanaohmng krb ching chab epntn phaykniprxngrathaephlngkniptlxdthang tlxdkhun sungbangphwkcaphanmathanglanaecaphraya bangphwkcaphanmathanglakhlxngxunekhakhlxngsaorngaelamunghnamaynghmubanbangphliihy sahrbchawbangphlinncathuxptibtiknepnpraephniwaemuxthungwnkhun 13 kha eduxn 11 kcatxngetriymhadxkbwhlwng sahrbmxbihaekchawbanthitxngkaraelamitrtangthinmaeyuxninoxkasechnni kkhngaesdngmitrcitxxktxnrb cdhasuraxaharmaeliyngdukntngaettxnkhakhxngwnkhun 13 kha eduxn 11 swnphwkthimarbbwkhnidruckmkkhunkbchawbangphliphuepnecakhxngban kcaphakhunipeyiymeyuxnbannnbanni aelatangksnuksnanrxngrathaephlngaelarwmrbprathanxaharsurakntlxdkhun phxechatrukhxngwnkhun 14 kha eduxn 11 chawbantangknaeruxkhxngtnxxkiptamlakhlxngsaorngephuxipkhxrbbwcakchawbanbangphlithngsxngfngkhlxng karihaelakarrbdxkbwkcathaknxyangsuphaph khuxsngaelarbknmuxtxmux hruxkxnihcaykmuxphnmxthisthan esiykxnrahwangchawbanbangphlikbchawtangthinthisnithsnmkhunekhyknpnphiess bangthichawbangphlikcaoyndxkbwlngipihknodyimmiphithiritxng ehtuthimikaroynbwihkn aebbmuxtxmuxcungeluxnipcnmikarnaipphudkntxnhlngwa rbbw oynbw karrbdxkbwkhxngchawtangbancakchawbangphlicasinsudemuxewlapraman 08 00 n hrux 09 00 n aelachawbankcaphaknklb txnkhaklbcamikaraekhngeruxknipdwyaetepnkaraekhngkhnodymiesnchy immikrrmkartdsinaelaimmikaraebngpraephthhruxchnidkhxngerux ikhrphxiccaaekhngkbikhremuxihrthiidkaekhngkniphruxcaepliynkhuepliynkhuaekhngkniperuxy tamaetcatklngkn dxkbwthichawtangthinrbcakchawbangphliipnncanaipbuchainethskalxxkphrrsatamwdinhmubankhxngtn praephnithiklawmaaelwkhangtn khrnnanmachawtangthinthinaeruxmarbdxkbwcakchawbangphlimiprimanldlngeruxy esiyngkracb pi sisx klxngramana esiyngephlngesiyngehhathiekhyesngaestamlakhlxngsaornginkhunwnkhun 13 kha eduxn 11 kkhxyengiybhayip txmasmynaychun wrsiri ephchrburna wrsiri epnnayxaephxbangphli rahwang ph s 2473 2481 praephnirbbwmithithawacaesuxmsuyipnn idklbmafuntwxikkhrng emuxidharuxkbphxkhakhhbditlxdcnkharachkarepnthieriybrxyaelw thangxaephxbangphlicungidtklngkndaeninkarcdnganpraephnirbbwkhunkhux erimnganwnkhun 13 kha eduxn 11 aelarungkhun 14 kha eduxn 11 epnwnrbbwxnepnkhrngaerkthithangrachkarekhamaekiywkhxngkbpraephnirbbwkhxngchawbangphli inkarcdnganpraephnirbbwkhxngthangrachkarxaephxbangphli mikaraetngeruxprakwd erimmimaemux ph s 2480 aetkxnchawtangthincatkaetngeruxmaephiyngephuxkhwamswyngamaetimmikarprakwd phuihyban kann chwyknhadxkbwaeckkhawtmmdaekaekhktangbanaelaphucderuxprakwdinwnkhun 13 kha eduxn 11 prachachntangthinaelachawxaephxbangphlicalngeruxlxngiptamlakhlxngsaorng rxngrathaephlngknxyangsnuksnanrwmkn chawbangphlicacdsuraxahariwtxnrbaekhktangban chawtangthinkhnidruckmkkhunkbchawxaephxbangphlikhnidbanidkcaphaknipeyiymeyuxn snuksnankbchawbangphlibannncnrungecha wnkhun 14 kha eduxn 11 tangkcaphaknipdukarprakwdthikhlxngsaornghnathiwakarxaephxbangphli inkarcdnganpraephnirbbwmixngkhprakxbthisakhykhux mikaraehhlwngphxot sungaetedimyngmiidmikaraehdngechnsmyni inrawpi ph s 2467 nangcnkbphwkidphrxmicknsrangphrapthmecdiykhun inwdbangphliihyin emuxsrangesrcaelw kcdihmikarchlxngodyaehxngkhphrapthmecdiynitamlakhlxng aelwklbmahmxngkhphrapthmecdiyklangkhunkcdihmimhrsphsmophch aehipid 2 3 pi khyudipdwyehtuidimprakt sungechuxwakaraehphahxxngkhphrapthmecdiyniidrbaebbxyangmacakkaraehphahmxngkhphrasmuthrecdiykhxngxaephxemuxngsmuthrprakar txmakmikaraehruphlwngphxotaethn odykhwamehnchxbkhxngthansmpharkuy aelanaychlwy ngamkha aehrupphaphkhxnghlwngphxotmahlaypi cnkrathngpi ph s 2485 kmikarthahuncalxnghlwngphxot sandwyokhrngimpidkradasthasithxng aelwnaaehaethnrupphaphkhxnghlwngphxot sungsrangodynayisw otecriy tkklangkhunkminganmhrsphchlxngknxyangkhrukkhruncnthungsmyphrakhruphisalsmnwttepnecaxawaswdbangphliihyinkidcdihthakarhlxruphlwngphxcalxngkhun sahrbaehtamlakhlxngdwyxalumieniymin ph s 2497 aelapccubnaehodyruphlxcalxnghlwngphxot ruppn odycdepnkhbwnaehiptamlakhlxngsaornginwnkhun 13 kha eduxn 11 epnkarprakaskhawnganrbbwihprachachnthrabaelawithiniklayepnpraephniaehhlwngphxotkxnwnnganrbbw khux wn 13 kha eduxn 11 tlxdcnthungpccubn karaehhlwngphxotcungepnswnhnungkhxngnganpraephnirbbw prachachnthixyusxngfngkhlxngsaorngthikhbwnaehhlwngphxotphancdpradbthngthiw tkaetngbaneruxnaelatngotahmubucha phxechawnrungkhun 14 kha eduxn 11 mikarprakwderuxpraephthtangkhxngtabliklekhiyngaelaorngeriynsngekhaprakwd sungerimtngaet ph s 2500 mikarcdprakwd pccubnkarprakwderuxmi 3 praephthdwykn khux praephthswyngam praephthkhwamkhid aelapraephthkhbkhnhnathiwakarxaephxbangphli sungcaerimtngaetewla 06 00 n aelangancasinsudlngewla 11 00 n khxngwnediywkn inbangpicdihmikarprakwdethphikaraekhngerux hruxxyangxunaelwaetkhnakrrmkar cdnganrbbwaetlapicaphicarnaehnsmkhwr swnkarrxngrathaephlngiptamlanaduhayipcnpccubnimmiaelw khngethiywsnuksnankntambriewnthicdihmimhrsphethann saraesrim aekikh karepnphuminaicimtri epnlksnaednkhxngkhnithyprakarhnung erakhngimptiesthknwakhnithyepnphuthirarwynaic yakthicahaprachakrinpraethsidinolkethiymid aemaetchawtangpraethskyxmrbinkhwamminaicimtrikhxngkhnithyechnkn cnidihsmyapraethsithywa syamemuxngyim dngepnthithrabknodythwipaelwnnexng aelachawxaephxbangphli cnghwdsmuthrprakarmisinghnungthichwyyunynthungkhwamepnphuminaicimtrikhxngkhnithyechnkn singnnkhuxmrdkthangwthnthrrmthibrrphburuskhxngchawbangphliidmxbiwihlukhlankhxngtn nnkhux praephnirbbw praephnirbbw epnpraephniekaaekthiekidaelacdkhuninxaephxbangphli cnghwdsmuthrprakar machananaetephingprakthlkthaninraw ph s 2467 waedimcdinwnkhun 14 kha eduxn 11 khxngthukpi aelacakkhabxkelakhxngphuethaphuaekchawxaephxbangphli idelaihfngekiywkbpraephnirbbwwa insmykxnonn xaephxbangphli midxkbwmakmaytamlakhlxng hnxngbungtangepnthitxngkarkhxngphuththsasnikchn inxnthicanaipbuchaphra ehtuthiekidpraephnirbbw ekidcakchawxaephxphrapraaedng aelachawxaephxemuxngsmuthrprakar thiepnchawmxy txngkarnadxkbwipbuchaphrakhathaphnaelabuchaphrainethskalxxkphrrsa dngnnemuxthungwnkhun 13 kha eduxn 11 prachachnthngsxngxaephxni idchkchwnknphayeruxmatamlakhlxngsaorngephuxmaekbdxkbw emuxekbidephiyngphxaelwkcaedinthangklbbankhxngtninwnrungkhun khun 14 kha txmachawxaephxbangphli minaicthicaxanwykhwamsadwkihinthanathitnepnecakhxngban emuxthungwnkhun 13 kha eduxn 11 khxngthukpi kcarwmaerngrwmicknekbdxkbwaelaetriymxaharkhawhwaniwephuxrxrbchawxaephxphrapraaedngaelachawxaephxemuxng echatrukhxngwnkhun 14 kha eduxn 11 khbwneruxphaykhxngchawxaephxphrapraaedngaelachawxaephxemuxngkcamathunghmubanbangphliihy emuxrbprathanxaharthichawxaephxbangphlietriymiwtxnrbcnximhnasaraydiaelw kcaphayeruxiptamlakhlxngsaorng ephuxkhxrbdxkbwcakchawxaephxbangphlithngsxngfngkhlxng karsngmxbdxkbwcathaknxyangsuphaph khuxsngaelarbbwknmuxtxmux odyphuihaelaphurbphnmmuxtngcitxthisthanxnuomthnaphlbuyrwmkn karkrathaechnniexngcungidchuxwakar rbbw emuxptibtitidtxknhlaypi cungidklayepn praephnirbbw ipinthisud nbtngaet ph s 2428 thungpccubn chawxaephxbangphlitangyngimaenicwatnochkhdihruxochkhrayknaenthiphunthithitnexngxasyxyuidklayepncudthinklngthun thngchawithyaelachawtangpraethsihkhwamsnicthicamalngthunthakickartang enuxngcakphwkekhaehnwa xaephxbangphli xyuiklkbkrungethphkarkhmnakhmsadwkaelaepnaehlngthisamarthrxngrbkhwamecriycakkrungethph idodytrng cungidphaknmalngthuntngorngnganxutsahkrrmthngkhnadelkaelakhnadihymak pccubnxaephxbangphlimiorngnganxutsahkrrmekuxb 800 aehng nxkcaknihmubancdsrrkphudkhunrawkbdxkehd snamkxlf khnadihyhlayaehng miiwephuxepnthiphkphxnhyxnickhxngphumixncakinephiyngrayaewlaimthung 10 pi sphaphkhxngxaephxbangphli epliyniprawkbhnamuxepnhlngmux caksngkhmchnbththiprachachnmiwithichiwitthieriybngay mikhwamsukhtamxtphaph klayepnsngkhmemuxngxutsahkrrm chawbanhlaykhrxbkhrwidklayepn esrsthiihm phayinphribta odykarkhaythidinihkbnklngthuninrakhasungliw pccubnsphaphsngkhminxaephxbangphli imaetktangipcaksngkhmkrungethphethaidnk thngdankhakhrxngchiph karcracr karaekhngkhnprakxbthurkic l insphawaechnniaemaetchawbangphlithiepnkhnekaaekexngkptiesthimidwamiswnthaihpraephnirbbwepliynrupochmcakedim klawknwa praephnirbbwkepriybesmuxnsingmichiwitxuninxaephxbangphlithitxngmikarprbtwihehmaasmkbsphaphsngkhmpccubn ephuxmiihtntxngsuyhayipcakolkni chwngewla aekikhtngaetwnkhun 13 kha eduxn 11 thung khun 14 kha eduxn 11 kxnxxkphrrsa bthkhwamekiywkbsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phraphuththsasnaekhathungcak https th wikipedia org w index php title praephnirbbw amp oldid 8448156, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม