fbpx
วิกิพีเดีย

ปรัชญาการเมือง

ปรัชญาการเมือง (อังกฤษ: political philosophy) เป็นสาขาวิชาหนึ่งขององค์ความรู้ในวิชารัฐศาสตร์ ปรัชญาการเมืองเป็นวิชาที่เก่าแก่ที่สุดเนื่องจากเป็นวิชาที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ราวศตววษที่ 5 ก่อนคริสตกาลในดินแดนคาบสมุทธเพลอพอนเนซุส หรือดินแดนของประเทศกรีซในปัจจุบัน จุดเริ่มต้นของวิชาปรัชญาการเมืองเกิดขึ้นในนครรัฐที่ชื่อว่าเอเธนส์ในช่วงที่เอเธนส์เริ่มเปลี่ยนรูปแบบการปกครองจากระบบอภิสิทธ์ชนธิปไตย (Aristocracy) มาเป็นประชาธิปไตยโบราณ (Demokratia)

เพลโต (ซ้าย) และ อริสโตเติล (ขวา) เจ้าของผลงานปรัชญาทางการเมืองที่ทรงอิทธิพล อุตมรัฐและโพลิติก ในสมัยกรีกโบราณ

นิยาม

สารานุกรมปรัชญาของรูธเลท (Routledge Internet Encyclopedia of Philosophy) นิยามวิชาปรัชญาการเมืองว่าเป็นกระบวนการสะท้อนความคิดทางปรัชญา ในเรื่องการจัดการชีวิตสาธารณะให้มีความเหมาะสม เหมาะควร ผ่านการครุ่นคิดว่าสถาบันทางการเมืองแบบใดที่ดีที่สุด กิจกรรมทางการเมืองแบบใดที่ดีที่สุด ฯลฯ ส่วนสารานุกรรมปรัชญา (Internet Encyclopedia of Philosophy) อธิบายว่า ปรัชญาการเมืองคือการแสวงหาชีวิตที่ดี แสวงหาชีวิตที่ควรจะเป็น แสวงหาค่านิยมที่ดีในการปกครอง สถาบันทางสังคมที่ดีในการปกครอง

เมื่อแยกพิจารณาคำว่าปรัชญาการเมืองในภาษาอังกฤษโดยทางนิรุกติศาสตร์แล้ว จะพบว่า Philosophy มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกโบราณว่า Φιλοσοφος (philosophos) เกิดจากการสนธิของคำว่า philos (มิตรภาพ) และ sophia (ปัญญา) ที่แปลตรงตัวว่า “มิตรภาพกับปัญญา” หรือแปลเทียบเคียงได้ว่า “การไฝ่รู้หรือความไฝ่รู้” อย่างไรก็ดีในวงวิชาการไทยมักแปลผิดเป็น "ความรักในความรู้" ทั้งที่คำว่าความรักในภาษากรีกนั้นคือ 'ερως ('eros) หรือ αγάπη (aga'pe) ซึ่งมักเป็นคำที่ถูกใช้แสดงอารมณ์ ส่วนคำว่าความรู้นั้นคือ επιστήμη (episte'me) ซึ่งหมายถึงความรู้ที่แท้จริงที่มนุษย์อาจเข้าถึงหรือเข้าไม่ถึงก็ได้ ปรัชญาจึงไม่ใช่ความรอบรู้ นักปรัชญาจึงไม่ใช่ผู้รู้หรือครู (sophist) การแปลคำว่าปรัชญาในภาษาอังกฤษว่า "ความรักในความรู้" จึงถือว่าแปลไม่ถูกต้องตามรากศัพท์ เพราะไม่ได้ครอบคลุมนิยามที่ว่าปรัชญาเป็นความรักที่จะเรียนรู้หรือแสวงหาความรู้ นักปรัชญาจึงมีลักษณะแบบนักสงสัย (sceptic) และนักแสวงหาความรู้ ว่าไปแล้วนักปรัชญาจึงมีลักษณะของนักเรียนตลอดชีพมากกว่าผู้รู้ที่ทรงภูมิตามความหมายแบบตะวันออก

ส่วนคำว่าการเมืองในทางรัฐศาสตร์เป็นเรื่องทางสังคมศาสตร์ของการกำหนดมุมมองของผู้คนให้มองเห็น หรือเข้าใจในสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม ในทางรัฐศาสตร์การเมืองนั้นมีความหมายอย่างน้อย 2 ระดับ (senses) คือ

  • ในระดับที่แคบที่สุดคือ รัฐบาล (the narrowest sense : what governments do?) ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐหรือรัฐบาลกระทำสิ่งใดขึ้นมา และ
  • ในระดับที่กว้างที่สุดคือความสัมพันธ์ในสังคม (the widest sense : people exercising power over others) เป็นเรื่องที่คนในสังคมการเมืองใช้อำนาจต่อกัน

นอกจากนี้การเมืองยังได้สร้างสำนึกในเรื่องความรับผิดชอบขึ้นด้วยเพราะการเมืองพยายามสร้างการรับผิดชอบต่อสิ่งที่เป็นส่วนรวม/สาธารณะ (public affairs) อาทิ การเมือง ธุรกิจ การค้า การทำงาน ศิลปะ ฯลฯ) ไม่ใช่เพียงคิดถึงเรื่องส่วนตัว (private sphere) ในขณะเดียวกันพื้นที่ส่วนตัว อาทิ ครอบครัว เรื่องในบ้าน ความสัมพันธ์ส่วนตัว ฯลฯ ควรเป็นเรื่องของเสรีภาพของคน รัฐไม่ควรเข้าไปแทรกแซง

ดังนั้นหากกล่าวโดยสรุป "ปรัชญาการเมืองจึงเป็นวิชาที่เป็นการแสวงหาความเข้าใจในแนวคิดต่างๆที่นำเสนอกระบวนการทางอำนาจในการกำหนดมุมมองของผู้คนให้มองเห็น หรือเข้าใจในสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม"

ทฤษฏีการหาความรู้ในวิชาปรัชญาการเมือง

ปรัชญาการเมืองมีวิธีวิทยา (methodology) ในการแสวงหาความรู้ในวิถีทางเดียวกับการหาความรู้ในวิชาปรัชญา ทฤษฎีการหาความรู้ดังกล่าวคือทฤษฎีที่แบ่งวิธีการหาความรู้เป็น 4 ด้าน คือ

  • ภววิทยาของความรู้ (ontology of knowledge) คือการศึกษาว่าสรรพสิ่งนั้นคืออะไร? (what is?)
  • ญาณวิทยาของความรู้ (epistemology) คือการศึกษาว่าสรรพสิ่งนั้นถูกรับรู้อย่างไร? (how to know?)
  • ตรรกะของความรู้ (logic of knowledge) คือการศึกษาว่าสรรพสิ่งนั้นถูกให้เหตุผลว่าอย่างไร? (how to reason?)
  • จริยศาสตร์ของความรู้ (ethics of knowledge) คือการศึกษาในคุณค่า, ความเหมาะควร หรือวิธีปฏิบัติของสรรพสิ่งในการที่จะบรรลุเป้าหมาย (how to be?)


ยุคต่างๆของปรัชญาการเมือง

ดู ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง

ความเข้าใจที่สับสนระหว่างปรัชญาการเมือง และทฤษฎีการเมือง

ในการเรียนการสอนวิชารัฐศาสตร์มักความเข้าใจที่คาบเกี่ยว (overlap) และสับสน ในนิยามของคำว่าทฤษฎีการเมือง และปรัชญาการเมือง การทำความเข้าใจที่ถูกต้องต้องเริ่มการแยกง่ายๆว่าทฤษฎีนั้นกล่าวอย่างถึงที่สุดก็คือความรู้ที่เป็นนามธรรม (abstract knowledge) ดังนั้นการศึกษาทฤษฎีการเมืองจึงเป็นการศึกษาความรู้นามธรรมในทางการเมืองของมนุษย์ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วก็คือนักคิดคนสำคัญต่างๆ (major thinkers) ในประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาของมนุษย์ ซึ่งนักคิดคนสำคัญที่กล่าวถึงนี้ก็คือนักปรัชญานั่นเอง ดังนั้นความสับสนในนิยามจึงเริ่มจากการที่การศึกษาในวิชาทฤษฎีการเมืองจึงหลีกเลี่ยงการศึกษาเนื้อหาในวิชาปรัชญาการเมืองไปไม่พ้น

ในทางสังคมศาสตร์ไมเคิล โอคชอตต์ (Michael Joseph Oakeshott) นักปรัชญาและทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ ได้พยายามจะทำความเข้าใจคำว่าทฤษฎี โดยการวิเคราะห์ผ่านรากของคำในภาษากรีกโบราณโดย โอคชอตต์กล่าวถึงคำในภาษากรีก 5 คำ คือ θέα (théa), θεορηιν (theorein), θεωρός (theorós), θεωρία (theoría) และ θεώρημα (theórema) ซึ่งทุกๆคำต่างมีนัยถึง "มุมมอง" ทั้งสิ้น ดังนั้นทฤษฎีจึงเป็นเรื่องของมุมมองต่อปรากฏการณ์ต่างๆ ทฤษฎีการเมืองจึงเป็นสาขาวิขาว่าด้วยมุมมองต่อปรากฏหารณ์ทางการเมือง

ดังนั้นในขณะที่คำว่าปรัชญาการเมืองมีนิยามว่า "ความไฝ่รู้ในทางการเมือง" คำว่าทฤษฎีการเมืองจะเกี่ยวพันอยู่กับการมองและการเข้าใจในสิ่งต่างๆ ซึ่งการมอง และการเข้าใจนั้นๆเป็นเพียงแง่มุมที่แปรผันไปตามผู้มอง ทฤษฎีการเมืองจึงไม่ใช่ความจริงทางการเมือง แต่เป็นเพียงเศษเสี้ยวของความจริงทางการเมืองที่ถูกรับรู้ในกาละ-เทศที่ต่างกันเท่านั้น นอกจากนี้จากการที่ปรัชญาการเมืองเป็นเรื่องของการคิดและจินตนาการความเป็นไปได้ที่ดีที่สุดในทางการเมือง มากกว่าที่จะเป็นเรื่องของความรู้ที่ได้มาในเชิงประจักษ์หรือสภาวการณ์ของการเมืองที่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นสิ่งที่ทฤษฎีการเมืองพยายามอธิบาย หรือนิยามของทฤษฎีการเมืองก็คือ "มุมมองในทางการเมือง" นั่นเอง

ดังนี้แล้วในขณะที่ปรัชญาการเมืองจึงไม่ได้ใคร่คำนึงถึงการเปิดเผยความจริงในทางการเมืองในวิธีแบบวิทยาศาสตร์ แต่ถึงที่สุดแล้วปรัชญาการเมืองเป็นเรื่องของการใคร่คำนึงถึงรากฐานทางความคิดของมนุษย์เพื่อทำความเข้าใจ สรรสร้างความเข้าใจ รวมไปถึงการจินตนาการถึงสิ่งที่ควรจะมีควรจะเป็นของมนุษย์ในทางการเมืองมากกว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ส่วนทฤษฎีทางการเมืองนั้นก็คือการศึกษาที่พยายามนำเอามโนทัศน์ (concepts) ต่างๆของนักปรัชญาทางการเมืองมาเป็นพื้นฐานในการสร้าง “กรอบการมอง” ปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม และการเมือง จากนั้นก็ต้องพยายามประยุกต์ใช้กรอบดังกล่าวมาศึกษาปรากฏการณ์นั้นๆ ด้วยระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้พิจารณาจากพัฒนาการของสาขาวิชาแล้ว ขณะที่ปรัชญาการเมืองเป็นวิชาที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ยุคโบราณที่เรียกตัวเองว่านักปรัชญา หรือนักปรัชญาการเมือง ทว่าวิชาทฤษฎีการเมืองเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมเมื่อศตวรรษที่ 20 นี้เอง โดยกลุ่มนักรัฐศาสตร์ที่เรียกแนวทางการศึกษาหาความรู้ของพวกตนว่านักรัฐศาสตร์สายพฤติกรรมศาสตร์

อ้างอิง

  1. Thomas Alan Sinclair. A History Of Greek Political Thought. Cleveland and New York: Meridian, 1967.
  2. http://www.rep.routledge.com/article/S099
  3. http://www.iep.utm.edu/polphil/
  4. พิสิษฐิกุล แก้วงาม. ความรู้พื้นฐานในทางรัฐศาสตร์ (ภาคความคิด). มหาสารคาม : หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 2552
  5. Stephen D. Tansey. Politics : the basic. (3rd Edition) (London : Routledge, 2004), p.3.
  6. David Woodruff Smith, “Phenomenology,” Stanford Encyclopedia of Philosophy (Nov 16, 2003; substantive revision Mon Jul 28, 2008), Cited by http://plato.stanford.edu/entries/phenomenology/
  7. Andrew Heywood. Political Theory. (3rd edition). New York : Palgrave Macmillan, 2004, p. 10.
  8. Michael Oakeshott, “What is Political Theory,” in Michael Oakshott. What is History? And Other Essays. (Michael Oakeshott: Selected Writings) (v. 1). Luke O’ Sullivan (ed.) UK : Imprint Academic, 2004, p. 391.
  9. พิสิษฐิกุล แก้วงาม. ทฤษฎีการเมืองกับการศึกษารัฐศาสตร์. มหาสารคาม : หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 2552.
  10. Andrew Heywood. ibid, p. 11.

ดูเพิ่ม

ปร, ชญาการเม, อง, งกฤษ, political, philosophy, เป, นสาขาว, ชาหน, งขององค, ความร, ในว, ชาร, ฐศาสตร, เป, นว, ชาท, เก, าแก, ดเน, องจากเป, นว, ชาท, เก, ดข, นมาต, งแต, ราวศตววษท, อนคร, สตกาลในด, นแดนคาบสม, ทธเพลอพอนเนซ, หร, อด, นแดนของประเทศกร, ซในป, จจ, ดเร, มต, น. prchyakaremuxng xngkvs political philosophy epnsakhawichahnungkhxngxngkhkhwamruinwicharthsastr prchyakaremuxngepnwichathiekaaekthisudenuxngcakepnwichathiekidkhunmatngaetrawstwwsthi 5 kxnkhristkalindinaednkhabsmuththephlxphxnensus hruxdinaednkhxngpraethskrisinpccubn cuderimtnkhxngwichaprchyakaremuxngekidkhuninnkhrrththichuxwaexethnsinchwngthiexethnserimepliynrupaebbkarpkkhrxngcakrabbxphisiththchnthipity Aristocracy maepnprachathipityobran Demokratia 1 ephlot say aela xrisotetil khwa ecakhxngphlnganprchyathangkaremuxngthithrngxiththiphl xutmrthaelaophlitik insmykrikobran enuxha 1 niyam 2 thvstikarhakhwamruinwichaprchyakaremuxng 3 yukhtangkhxngprchyakaremuxng 4 khwamekhaicthisbsnrahwangprchyakaremuxng aelathvsdikaremuxng 5 xangxing 6 duephimniyam aekikhsaranukrmprchyakhxngruthelth Routledge Internet Encyclopedia of Philosophy niyamwichaprchyakaremuxngwaepnkrabwnkarsathxnkhwamkhidthangprchya ineruxngkarcdkarchiwitsatharnaihmikhwamehmaasm ehmaakhwr phankarkhrunkhidwasthabnthangkaremuxngaebbidthidithisud kickrrmthangkaremuxngaebbidthidithisud l 2 swnsaranukrrmprchya Internet Encyclopedia of Philosophy xthibaywa prchyakaremuxngkhuxkaraeswnghachiwitthidi aeswnghachiwitthikhwrcaepn aeswnghakhaniymthidiinkarpkkhrxng sthabnthangsngkhmthidiinkarpkkhrxng 3 emuxaeykphicarnakhawaprchyakaremuxnginphasaxngkvsodythangniruktisastraelw caphbwa Philosophy miraksphthmacakphasakrikobranwa Filosofos philosophos ekidcakkarsnthikhxngkhawa philos mitrphaph aela sophia pyya thiaepltrngtwwa mitrphaphkbpyya hruxaeplethiybekhiyngidwa karifruhruxkhwamifru xyangirkdiinwngwichakarithymkaeplphidepn khwamrkinkhwamru thngthikhawakhwamrkinphasakriknnkhux erws eros hrux agaph aga pe sungmkepnkhathithukichaesdngxarmn swnkhawakhwamrunnkhux episthmh episte me sunghmaythungkhwamruthiaethcringthimnusyxacekhathunghruxekhaimthungkid prchyacungimichkhwamrxbru nkprchyacungimichphuruhruxkhru sophist karaeplkhawaprchyainphasaxngkvswa khwamrkinkhwamru cungthuxwaaeplimthuktxngtamraksphth ephraaimidkhrxbkhlumniyamthiwaprchyaepnkhwamrkthicaeriynruhruxaeswnghakhwamru nkprchyacungmilksnaaebbnksngsy sceptic aelankaeswnghakhwamru waipaelwnkprchyacungmilksnakhxngnkeriyntlxdchiphmakkwaphuruthithrngphumitamkhwamhmayaebbtawnxxk 4 swnkhawakaremuxnginthangrthsastrepneruxngthangsngkhmsastrkhxngkarkahndmummxngkhxngphukhnihmxngehn hruxekhaicinsingtang thiekidkhuninsngkhm inthangrthsastrkaremuxngnnmikhwamhmayxyangnxy 2 radb senses khux inradbthiaekhbthisudkhux rthbal the narrowest sense what governments do sungepneruxngthiekiywkberuxngthirthhruxrthbalkrathasingidkhunma aela inradbthikwangthisudkhuxkhwamsmphnthinsngkhm the widest sense people exercising power over others epneruxngthikhninsngkhmkaremuxngichxanactxknnxkcaknikaremuxngyngidsrangsanukineruxngkhwamrbphidchxbkhundwyephraakaremuxngphyayamsrangkarrbphidchxbtxsingthiepnswnrwm satharna public affairs xathi karemuxng thurkic karkha karthangan silpa l imichephiyngkhidthungeruxngswntw private sphere inkhnaediywknphunthiswntw xathi khrxbkhrw eruxnginban khwamsmphnthswntw l khwrepneruxngkhxngesriphaphkhxngkhn rthimkhwrekhaipaethrkaesng 5 dngnnhakklawodysrup prchyakaremuxngcungepnwichathiepnkaraeswnghakhwamekhaicinaenwkhidtangthinaesnxkrabwnkarthangxanacinkarkahndmummxngkhxngphukhnihmxngehn hruxekhaicinsingtang thiekidkhuninsngkhm thvstikarhakhwamruinwichaprchyakaremuxng aekikhprchyakaremuxngmiwithiwithya methodology inkaraeswnghakhwamruinwithithangediywkbkarhakhwamruinwichaprchya thvsdikarhakhwamrudngklawkhuxthvsdithiaebngwithikarhakhwamruepn 4 dan khux 6 phwwithyakhxngkhwamru ontology of knowledge khuxkarsuksawasrrphsingnnkhuxxair what is yanwithyakhxngkhwamru epistemology khuxkarsuksawasrrphsingnnthukrbruxyangir how to know trrkakhxngkhwamru logic of knowledge khuxkarsuksawasrrphsingnnthukihehtuphlwaxyangir how to reason criysastrkhxngkhwamru ethics of knowledge khuxkarsuksainkhunkha khwamehmaakhwr hruxwithiptibtikhxngsrrphsinginkarthicabrrluepahmay how to be yukhtangkhxngprchyakaremuxng aekikhdu prawtisastrkhwamkhidthangkaremuxngkhwamekhaicthisbsnrahwangprchyakaremuxng aelathvsdikaremuxng aekikhinkareriynkarsxnwicharthsastrmkkhwamekhaicthikhabekiyw overlap aelasbsn inniyamkhxngkhawathvsdikaremuxng aelaprchyakaremuxng karthakhwamekhaicthithuktxngtxngerimkaraeykngaywathvsdinnklawxyangthungthisudkkhuxkhwamruthiepnnamthrrm abstract knowledge dngnnkarsuksathvsdikaremuxngcungepnkarsuksakhwamrunamthrrminthangkaremuxngkhxngmnusy sungodythwipaelwkkhuxnkkhidkhnsakhytang major thinkers inprawtisastrphumipyyakhxngmnusy sungnkkhidkhnsakhythiklawthungnikkhuxnkprchyannexng dngnnkhwamsbsninniyamcungerimcakkarthikarsuksainwichathvsdikaremuxngcunghlikeliyngkarsuksaenuxhainwichaprchyakaremuxngipimphn 7 inthangsngkhmsastrimekhil oxkhchxtt Michael Joseph Oakeshott nkprchyaaelathvsdikaremuxngchawxngkvs idphyayamcathakhwamekhaickhawathvsdi odykarwiekhraahphanrakkhxngkhainphasakrikobranody oxkhchxttklawthungkhainphasakrik 5 kha khux 8ea thea 8eorhin theorein 8ewros theoros 8ewria theoria aela 8ewrhma theorema sungthukkhatangminythung mummxng thngsin 8 dngnnthvsdicungepneruxngkhxngmummxngtxpraktkarntang thvsdikaremuxngcungepnsakhawikhawadwymummxngtxpraktharnthangkaremuxngdngnninkhnathikhawaprchyakaremuxngminiyamwa khwamifruinthangkaremuxng khawathvsdikaremuxngcaekiywphnxyukbkarmxngaelakarekhaicinsingtang sungkarmxng aelakarekhaicnnepnephiyngaengmumthiaeprphniptamphumxng thvsdikaremuxngcungimichkhwamcringthangkaremuxng aetepnephiyngessesiywkhxngkhwamcringthangkaremuxngthithukrbruinkala ethsthitangknethann nxkcaknicakkarthiprchyakaremuxngepneruxngkhxngkarkhidaelacintnakarkhwamepnipidthidithisudinthangkaremuxng makkwathicaepneruxngkhxngkhwamruthiidmainechingprackshruxsphawkarnkhxngkaremuxngthiekidkhuncringsungepnsingthithvsdikaremuxngphyayamxthibay hruxniyamkhxngthvsdikaremuxngkkhux mummxnginthangkaremuxng nnexng 9 dngniaelwinkhnathiprchyakaremuxngcungimidikhrkhanungthungkarepidephykhwamcringinthangkaremuxnginwithiaebbwithyasastr aetthungthisudaelwprchyakaremuxngepneruxngkhxngkarikhrkhanungthungrakthanthangkhwamkhidkhxngmnusyephuxthakhwamekhaic srrsrangkhwamekhaic rwmipthungkarcintnakarthungsingthikhwrcamikhwrcaepnkhxngmnusyinthangkaremuxngmakkwasingthiekidkhuncring swnthvsdithangkaremuxngnnkkhuxkarsuksathiphyayamnaexamonthsn concepts tangkhxngnkprchyathangkaremuxngmaepnphunthaninkarsrang krxbkarmxng praktkarntangthiekidkhuninsngkhm aelakaremuxng caknnktxngphyayamprayuktichkrxbdngklawmasuksapraktkarnnn dwyraebiybwithiaebbwithyasastr nxkcakniphicarnacakphthnakarkhxngsakhawichaaelw khnathiprchyakaremuxngepnwichathiekidkhunmatngaetyukhobranthieriyktwexngwankprchya hruxnkprchyakaremuxng thwawichathvsdikaremuxngekidkhunxyangepnrupthrrmemuxstwrrsthi 20 niexng odyklumnkrthsastrthieriykaenwthangkarsuksahakhwamrukhxngphwktnwankrthsastrsayphvtikrrmsastr 10 xangxing aekikh Thomas Alan Sinclair A History Of Greek Political Thought Cleveland and New York Meridian 1967 http www rep routledge com article S099 http www iep utm edu polphil phisisthikul aekwngam khwamruphunthaninthangrthsastr phakhkhwamkhid mhasarkham hlksutrsakhawicharthsastr withyalykdhmayaelakarpkkhrxng mhawithyalyrachphdmhasarkham 2552 Stephen D Tansey Politics the basic 3rd Edition London Routledge 2004 p 3 David Woodruff Smith Phenomenology Stanford Encyclopedia of Philosophy Nov 16 2003 substantive revision Mon Jul 28 2008 Cited by http plato stanford edu entries phenomenology Andrew Heywood Political Theory 3rd edition New York Palgrave Macmillan 2004 p 10 Michael Oakeshott What is Political Theory in Michael Oakshott What is History And Other Essays Michael Oakeshott Selected Writings v 1 Luke O Sullivan ed UK Imprint Academic 2004 p 391 phisisthikul aekwngam thvsdikaremuxngkbkarsuksarthsastr mhasarkham hlksutrsakhawicharthsastr withyalykdhmayaelakarpkkhrxng mhawithyalyrachphdmhasarkham 2552 Andrew Heywood ibid p 11 duephim aekikhrthsastr thvsdikaremuxng xudmkarnthangkaremuxng bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title prchyakaremuxng amp oldid 9279768, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม